โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถาบันสมิธโซเนียน

ดัชนี สถาบันสมิธโซเนียน

อาคารสถาบันวิจัยสมิธโซเนียน หรือ "The Castle" เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของสถาบัน สถาบันสมิธโซเนียน (Smithsonian Institution) เป็นสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และพิพิธภัณฑ์ ที่บริหารจัดการและได้รับทุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาและจากผู้บริจาคต่างๆ รวมถึงรายได้การจำหน่ายออกร้านและค่าสมาชิกนิตยสาร หน่วยงานส่วนใหญ่ของสถาบันตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. แต่ยังมีพิพิธภัณฑ์อีกกว่า 19 แห่ง สวนสัตว์ ศูนย์วิจัย และหน่วยงานสนามอีกมากมายอยู่ในเมืองนิวยอร์ก เวอร์จิเนีย ปานามา และที่อื่นๆ มีวัตถุสิ่งของต่างๆ ในความดูแลของพิพิธภัณฑ์มากกว่า 136 ล้านชิ้น สถาบันสมิธโซเนียนก่อตั้งขึ้นตามความประสงค์ของนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เจมส์ สมิธสัน (James Smithson; ค.ศ. 1765-1829) ซึ่งระบุพินัยกรรมว่า หากหลานชายของเขา เฮนรี เจมส์ ฮังเกอร์ฟอร์ด ไม่มีทายาท ก็ให้ยกมรดกทั้งหมดให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเพื่อก่อตั้งองค์กรที่สามารถ "เพิ่มพูนและเผยแพร่ความรู้" ให้แก่มนุษยชาติ ปี..

56 ความสัมพันธ์: ชาห์นาเดอร์ชีนดวีนตอนล่างบทนำวิวัฒนาการฟอลลิงวอเทอร์ฟิเนียส์ พี. เกจพ.ศ. 2389พิพิธภัณฑสถานพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์พิพิธภัณฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติกระบวนการดาแกโรไทป์กล็อบสเตอร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลกัปตันอเมริกา: มัจจุราชอหังการกิตติพงษ์ จารุธาณินทร์กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37ภาพเหมือนภูเขาไฟกรากะตัวภูเขาไฟตัมโบราภีษมะมาร์เวลคอมิกส์มนุษย์มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบันมนุษย์โบราณรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียงวอชิงตัน ดี.ซี.วาฬสเปิร์มเล็กสกุลหญ้าดอกลายสมัยไมโอซีนสหภาพโซเวียตสถาบันจอห์น เอฟ. เคนเนดีเพื่อศิลปะการแสดงสตีฟ จอบส์ธีโอดอร์ กิลล์ทศพร วงศ์รัตน์ทะเลสาบโตบาดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟความรักประธานศาลสูงสุดสหรัฐปลากระเบนกิตติพงษ์ปลาหวีเกศปลาแรดปีเตอร์ เบลเกอร์นกกระจอกบ้านนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรแมรี เคแซตแมวโอลิงกีโตโฮป (แก้ความกำกวม)ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ไนกี้ (บริษัท)เพชรโฮป...เสือลายเมฆเอเตียน-ฌูล มาแรเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์Homo habilis10 พฤศจิกายน10 สิงหาคม ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

ชาห์นาเดอร์

ห์นาเดอร์แห่งเปอร์เซีย หรือ ชาห์นาเดอร์มหาราช (تهماسپ قلی خان หรือ نادر قلی بیگ หรือ نادر شاه افشار; Nader Shah หรือ Nāder Shāh Afshār the Great หรือ Nāder Qoli Beg หรือ Tahmāsp Qoli Khān) (พฤศจิกายน ค.ศ. 1688 หรือ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1698 – 19 มิถุนายน ค.ศ. 1747) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิหร่านผู้ก่อตั้งราชวงศ์อาฟชาริยะห์ (Afsharid dynasty) ผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1736 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1747 ชาห์นาเดอร์ที่มีพระปรีชาสามารถในทางการทหารที่ทำให้นักประวัติศาสตร์บางคนบรรยายพระองค์ว่าทรงเป็น “จักรพรรดินโปเลียนแห่งเปอร์เซีย” หรือ “อเล็กซานเดอร์ที่สอง” ชาห์นาเดอร์ทรงเป็นชาวเติร์กเมน เผ่าอาฟชาร์ (Afshar tribe) จากทางตอนเหนือของเปอร์เซีย ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่จัดความมีอำนาจทางการทหารให้แก่จักรวรรดิซาฟาวิยะห์มาตั้งแต่รัชสมัยของชาห์อิสมาอิลที่ 1 แห่งเปอร์เซีย ชาห์นาเดอร์ทรงทรงเรืองอำนาจขึ้นมาในระหว่างที่เปอร์เซียเป็นอนาธิปไตย หลังจากการแข็งข้อของอัฟกาน (Pashtun people) ผู้โค่นราชบัลลังก์ของชาห์ฮุสเซน และขณะที่ทั้งจักรวรรดิออตโตมัน และ จักรวรรดิรัสเซีย ต่างก็ยึดส่วนต่างๆ ของเปอร์เซียเป็นของตนเอง ชาห์นาเดอร์ทรงรวบรวมจักรวรรดิเปอร์เซียเข้าด้วยกันและทรงขจัดศัตรูออกจากจักรวรรดิ และทรงมีอำนาจพอที่จะตัดสินใจโค่นราชบัลลังก์ของชาห์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ซาฟาวิยะห์ที่ปกครองจักรวรรดิเปอร์เซียมากว่า 200 ปีและกลายเป็นชาห์ในปี ค.ศ. 1736 การรณรงค์ทางทหารของพระองค์ทำให้จักรวรรดิเปอร์เซียกลายเป็นจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่ที่มีดินแดนไม่แต่ในอิหร่านปัจจุบัน แต่ยังครอบคลุมไปถึงอัฟกานิสถาน, ปากีสถาน, บางส่วนของภูมิภาคคอเคซัส และบางส่วนของเอเชียกลาง แต่ค่าใช้จ่ายทางการทหารมีผลต่อการทำลายทางเศรษฐกิจของ ชาห์นาเดอร์ทรงมีความชื่นชมในวีรบุรุษเช่นเจงกีส ข่าน และ ตีมูร์ ผู้พิชิตเอเชียกลางมาก่อนหน้าพระองค์ พระองค์ทรงเรียนรู้ยุทธวิธีทางการทหารจากทั้งสองพระองค์โดยเฉพาะในตอนปลายรัชสมัยของพระองค์—ความทารุณ การพิชิตดินแดนต่างๆ ของชาห์นาเดอร์ทำให้ทรงเป็นผู้นำของตะวันออกกลางผู้มีอำนาจมากที่สุดในยุคนั้น แต่จักรวรรดิของพระองค์ก็สลายตัวลงอย่างรวดเร็วหลังจากที่ทรงถูกลอบปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 1747 พระองค์ทรงได้รับการบรรยายว่าเป็น “ผู้นำทางการทหารผู้ยิ่งใหญ่คนสุดท้ายของเอเชีย”.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและชาห์นาเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีนดวีนตอนล่าง

ีนดวีนตอนล่าง คือบริเวณพื้นที่รอบปากปล่องภูเขาไฟประมาณ 7 ถึง 8 หลุม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 30 กิโลเมตร (20 ไมล์) จากเมืองโมนยวา เขตซะไกง์ ประเทศพม่า ภูเขาไฟเริ่มเกิดขึ้นในช่วงปลาย สมัยไพลโอซีน และ สมัยไพลสโตซีน หลังจากนั้นภูเขาไฟจึงสงบลง (สถาบันสมิธโซเนียน จัดรหัสภูเขาไฟเป็นเลข 275090) จากข้อมูลภูเขาไฟทั่วโลกของสถาบันสมิธโซเนียน บันทึกข้อมูลว่าไม่มีการปะทุของภูเขาไฟในช่วงสมัยโฮโลซีน หรือย้อนหลัง 10,000 ปีจากปัจจุบัน ประเภทกลุ่มหินที่สำคัญคือ หินบะซอลต์, หินไรโอไลต์, หินเดไซต์ และ หินแอนดีไซต์ ปล่องภูเขาไฟสามถึงสี่หลุมมีทะเลสาบ มีหนึ่งหลุมอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำชีนดวีน ส่วนหลุมที่เหลืออยู่ทางทิศตะวันตก ทะเลสาบทางตะวันออกคือ ตวีนตอง และทะสาบแห่งอื่นๆ เช่น ตองปเยาะ, ตวีนมา และ เยคา ในทะเลสาบมีสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน สไปรูลินา เจริญเติบโตขึ้น มีการเก็บเกี่ยวทำให้แห้งและขายเป็นยา เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและชีนดวีนตอนล่าง · ดูเพิ่มเติม »

บทนำวิวัฒนาการ

"ต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง" จากหนังสือ ''วิวัฒนาการมนุษย์'' ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (ลอนดอน, 1910) ของเฮเกิล (Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ สามารถจัดเป็นรูปต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขามากมายงอกออกจากลำต้นเดียวกัน วิวัฒนาการ (evolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงในสรรพชีวิตตลอดหลายรุ่น และศาสตร์ชีววิทยาวิวัฒนาการ (evolutionary biology) เป็นศึกษาว่าเกิดขึ้นอย่างไร ประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมซึ่งเข้ากับการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมรวมทั้งการกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดจากความเสียหายของดีเอ็นเอหรือข้อผิดพลาดในการถ่ายแบบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต เมื่อความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนไปอย่างไม่เจาะจงแบบสุ่มเป็นเวลาหลายรุ่นเข้า การคัดเลือกโดยธรรมชาติจะเป็นเหตุให้พบลักษณะสืบสายพันธุ์มากขึ้นหรือน้อยลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขึ้นอยู่กับความสำเร็จทางการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเช่นนั้น โลกมีอายุประมาณ 4,540 ล้านปี และหลักฐานสิ่งมีชีวิตเก่าแก่ที่สุดโดยไม่มีผู้คัดค้านสืบอายุได้อย่างน้อย ระหว่างมหายุคอีโออาร์เคียนหลังเปลือกโลกเริ่มแข็งตัว หลังจากบรมยุคเฮเดียนก่อนหน้าที่โลกยังหลอมละลาย มีซากดึกดำบรรพ์แบบเสื่อจุลินทรีย์ (microbial mat) ในหินทรายอายุ ที่พบในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย หลักฐานรูปธรรมของชีวิตต้น ๆ อื่นรวมแกรไฟต์ซึ่งเป็นสสารชีวภาพในหินชั้นกึ่งหินแปร (metasedimentary rocks) อายุ ที่พบในกรีนแลนด์ตะวันตก และในปี 2558 มีการพบ "ซากชีวิตชีวนะ (biotic life)" ในหินอายุ ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย Early edition, published online before print.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและบทนำวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอลลิงวอเทอร์

ฟอลลิงวอเทอร์ (Fallingwater) หรือ บ้านคอฟแมน (Kaufmann Residence) เป็นคฤหาสน์ตั้งอยู่ในแถวชนบทของแถบตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐเพนซิลเวเนีย ห่างออกไป 50 ไมล์ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองพิตส์เบิร์ก อาคารได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวอเมริกันแฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ ในปี 1935 เป็นบ้านพักอาศัยของตระกูลนักธุรกิจนาม เอดการ์ เจ. คอฟแมน ซีเนียร์ (Edgar J. Kaufmann Sr.) นักธุรกิจเชื้อสายยิวเจ้าของห้างสรรพสินค้าคอฟแมน ฟอลลิงวอเทอร์มีจุดเด่นคือตัวบ้านได้สร้างคร่อมน้ำตกที่มาจากลำธารแบร์รัน ฟอลลิงวอเทอร์นับเป็นหนึ่งในงานที่แสดงคำจัดความของ ลัทธิสถาปัตยกรรมออร์แกนิก (Organic Architecture) ได้อย่างชัดเจนที่สุดงานหนึ่ง ในบรรดางานทั้งหลายของลอยด์ ไรต์ นิตยสารไทม์ได้ชื่นชมงานออกแบบของลอยด์ ไรต์ชิ้นนี้ไว้ว่า "เป็นงานที่สวยที่สุด" ฟอลลิงวอเทอร์ยังได้ติด 1 ใน 28 สถานที่ "ที่คุณต้องไปก่อนคุณจะตาย" ของสมิธโซเนียน ได้รับการยกย่องให้เป็นสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติแห่งสหรัฐอเมริกา ในปี 1966 และในปี 1991 สมาชิกสถาบันสถาปัตยกรรมแห่งสหรัฐอเมริกัน (เอไอเอ) ได้โหวตฟอลลิงวอเทอร์ให้เป็น "งานออกแบบทางสถาปัตยกรรมของสหรัฐอเมริกาที่ดี่ที่สุดตลอดกาล" จนกระทั่งลดลงมาจนอยู่ในอันดับ 29 ในปี 2007 เดิมฟอลลิงเฮาส์เป็นบ้านของตระกูลคอฟแมนตั้งแต่ปี 1937-1963 จนกระทั่งเขาได้บริจาคบ้านหลังนี้เพื่อเป็นพิพิธภัณฑ์ในปี 1964 โดยปัจจุบันบ้านแห่งนี้มีสถิติผู้มาเยี่ยมชมมากกว่า 125,000 คนต่อปี ฟอลลิงวอเทอร์ใช้งบประมาณการสร้างประเมิณไว้ประมาณ 35,000 ดอลลาร์ เมื่อสร้างเสร็จได้ถูกจำหน่ายในราคา 155,000 ดอลลาร์McCarter, page 59.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและฟอลลิงวอเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิเนียส์ พี. เกจ

นาย ฟิเนียส์ พี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและฟิเนียส์ พี. เกจ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2389

ทธศักราช 2389 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1846 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและพ.ศ. 2389 · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถาน

ท้องฟ้าจำลอง พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ พิพิธภัณฑ์ที่เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้แห่งแรกของโลก ตั้งอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส หอศิลป์อุฟฟีซี เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในอิตาลี เกาะพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่เบอร์ลิน พิพิธภัณฑ์บริติช ตั้งอยู่ที่ลอนดอน พิพิธภัณฑ์อินเดีย ตั้งอยู่ที่โกลกาตา ประเทศอินเดีย เป็นพิพิธภัณฑเก่าและใหญ่ที่สุดในอินเดีย พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติฟินแลนด์ ตั้งอยู่ที่เฮลซิงกิ พิพิธภัณฑสถาน หรือ พิพิธภัณฑ์ เป็นอาคารหรือสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บรักษาวัตถุที่มนุษย์ทำขึ้น.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและพิพิธภัณฑสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์

ัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ (Pacific Aviation Museum Pearl Harbor) ถูกสร้างขึ้นเพื่อไม่แสวงหาผลกำไร ในปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติ

ัณฑ์ยานบินและอวกาศแห่งชาติ (National Air and Space Museum; NASM) แห่งสถาบันสมิธโซเนียน เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของสถาบันสมิธโซเนียน ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เป็นแหล่งรวมวัตถุที่เกี่ยวข้องด้านอากาศยานและอวกาศยานที่ใหญ่ที่สุดในโลก นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์รวมการวิจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการบินและอวกาศการบิน รวมถึงกิจการด้านวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ภูมิศาสตร์เกี่ยวกับโลก และภูมิฟิสิกส์ เครื่องบินและอวกาศยานส่วนใหญ่ที่ตั้งแสดงที่นี่เป็นเครื่องต้นแบบหรือเครื่องสำรองของเครื่องที่ใช้งานจริงทั้งสิ้น.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและพิพิธภัณฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนการดาแกโรไทป์

หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (ค.ศ. 1787 - 1851) ดาแกโรไทพ์ (Daguerreotype) ถูกคิดค้นโดย หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (พ.ศ. 2330 - 2394) โดยดาแกร์ได้ทดลองเกี่ยวกับวัสดุไวแสง เพื่อใช้บันทึกภาพจากกล้องออบสคูร่าโดยตั้งชื่อว่ากระบวนการ ไดออรามา (Diorama) และในขณะเดียวกัน โจเซฟ นีเซฟอร์ เนียฟ ก็ได้คิดค้นกระบวนการเฮลิโอกราฟฟี (Heliograghy) อยู่เช่นกัน แต่ทั้งสองเก็บเป็นความลับเรื่อยมาจนกระทั่งได้รู้จักกันโดยการชักนำของสองพี่น้องช่างทำแว่นตาและต่อมาทั้งสองได้ทำสัญญาเป็นหุ้นส่วนกัน แต่เมื่อทำสัญญาได้เพียง 4 ปี เนียฟกลับถึงแก่กรรมไปเสียก่อน และดาแกร์ ได้นำกระบวนการเฮลิโอกราฟฟี่ (Heliograghy) ของ เนียฟ และกระบวนการไดออรามาของ ดาแกร์ เองมารวมกันแล้วทดลองถ่ายภาพปรากฏว่าเป็นผลสำเร็จเขาจึงตั้งชื่อกระบวนการใหม่นี้ว่า ดาแกโรไทพ์ (Daguerreotype) ภาพแรกที่ดาแกร์ทำสำเร็จจนทำให้เขาได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งการถ่ายภาพสมัยใหม่ มีชื่อว่าห้องภาพจิตรกร (The Artist’s studio) โดยเป็นการถ่ายภาพหุ่นนิ่งหรือภาพ(still Life) วัตถุที่ใช้เป็นแบบได้แก่ภาพวาด รูปแกะสลักที่เป็นฝีมือของเขาเอง เมื่อข่าวความสำเร็จแพร่ขยายออกไปทำให้ผู้คนสนใจเป็นอันมากโดยเฉพาะ ฟรังซัว อารากอล (Francois Aragol) นักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งกรุงปารีส ได้มาขอศึกษาความรู้จาก ดาแกร์และนำไปเผยแพร่สาธิตต่อ และเขายังได้เสนอรัฐบาลฝรั่งเศสซื้อลิขสิทธิ์จากดาแกร์ เมื่อรัฐบาลเห็นชอบได้ซื้อลิขสิทธิ์และได้โอนให้สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งกรุงปรารีสพัฒนา และต่อมารัฐบาลฝรั่งเศส ก็ได้ประกาศให้กระบวนการ ดาแกร์โรไทพ์ (Daguerreotype) เป็นของสาธารณะ ผู้ใดจะนำไปใช้ก็ได้โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ เมื่อดาแกร์เห็นว่ามีคนสนใจกระบวนการของเขาเป็นอันมากเขาจึงได้เขียนหนังสือเพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาขึ้นมาเล่มหนึ่งชื่อว่า (The History and Description of the Process Named the Daguerreotype) มีจำนวน 79 หน้าและได้พิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศสถึง 29 ครั้งและเป็นภาษาอื่นแพร่หลายไปทั่วซีกโลกตะวันตก แต่มีคนติว่าดาแกร์ใช้คำยากเกินไปและมีศัพท์วิทยาศาสตร์อยู่มาก ทำให้ผู้อ่านไม่เข้าใจ รัฐบาลจึงสั่งให้ดาแกร์สาธิตกระบวนการให้สาธารณชนได้ดู เพื่อให้สาธารณชนได้เข้าใจแจ่มแจ้ง และทุกครั้งที่มีการสาธิตเมื่อจบการสาธิตผู้คนต่างพากันแย่งซื้ออุปกรณ์ในการทำกระบวนการนี้เป็นเสมือนหนึ่งว่าเป็นของฝากจากกรุงปารีส จนทำให้เกิดร้านขายอุปกรณ์เหล่านี้อยู่มากมากทั่วกรุงปรารีส เพียง 1 ปีหลังจากคิดค้นได้สำเร็จกระบวนการนี้ได้กระจายอยู่ทั่วไปในซีกโลกตะวันตก และเพียง 6 ปีจากนั้นดาแกร์โรไทพ์ก็ได้มาถึงประเทศไทยพร้อมเรือสินค้าของพวกฝรั่งในปี พ.ศ. 2388 ในปลายสมัยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีก็ทรงได้ฉายพระรูปส่งไปพระราชทานให้ประธานาธิบดี แฟรงคลิน เพียร์ซ ของสหรัฐอเมริกาจากกระบวนการดาแกร์โรไทพ์ด้วยและเจริญเติบโตในประเทศไทยอย่างสูงสุดในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงขนาดมีการสร้างห้องมืด สั่งกล้องออบสคูร่า เพลท เคมีต่างๆ เข้ามาใช้ในราชสำนักมากมาย พระบาทสมเด็จพระอยู่หัวรัชกาลที่ 5 พระราชทานกล้องและความรู้เกี่ยวกับการถ่ายภาพให้แก่เจ้านาย และพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ด้วยกันทั้งยังเคยออกร้านถ่ายรูปและทรงเป็นช่างภาพเองในงานประจำปี วัดเบญจมบพิตรเพื่อนำเงินรายได้ไปบำเพ็ญพระราชกุศลในวัดเบญจมบพิตรด้วย ภาพที่มีชื่อเสียงของเอ็ดการ์ อัลลัน โพ ถ่ายโดยกระบวนการดาแกร์โรไทพ์ในปี พ.ศ. 2391 ไม่นานก่อนเขาเสียชีวิต.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและกระบวนการดาแกโรไทป์ · ดูเพิ่มเติม »

กล็อบสเตอร์

ซากซึ่งถูกซัดเกยฝั่งใกล้เมืองเซนต์ออกุสติน ฟลอริด้า ในปี ค.ศ. 1896 กล็อบสเตอร์ (Globster) หรือ บล็อบ (Blos) เป็นซากอินทรีย์วัตถุซึ่งถูกซัดขึ้นมาตามชายฝั่งของมหาสมุทรหรือแหล่งน้ำอื่น ลักษณะของกล็อบสเตอร์ก็คือต้องเป็นซากที่ยากจะระบุประเภทได้ว่าเป็นของสัตว์ชนิดใด คำนี้ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดยอีวาน ที.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและกล็อบสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กัปตันอเมริกา: มัจจุราชอหังการ

กัปตันอเมริกา: มัจจุราชอหังการ (Captain America: The Winter Soldier) เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโร่อเมริกันนำเสนอตัวละครจากมาร์เวลคอมิกส์ กัปตันอเมริกา ผลิตโดยมาร์เวลสตูดิโอส์ และจัดจำหน่ายโดยวอลต์ดิสนีย์สตูดิโอส์โมชันพิกเจอส์ เป็นภาพยนตร์ภาคต่อจากเรื่องกัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1 และภาพยนตร์เรื่องที่เก้าในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวล ภาพยนตร์กำกับโดยแอนโทนี และ โจ รัสโซ บทภาพยนตร์โดย คริสโตเฟอร์ มาร์คัส และ สตีเฟน แม็กฟีลี ที่ทำงานให้ภาคอเวนเจอร์ที่ 1 เช่นกัน ภาพยนตร์นำแสดงโดย คริส อีแวนส์ รับบทเป็นกัปตันอเมริกา และร่วมแสดงโดยสการ์เลตต์ โจแฮนส์สัน เซบาสเตียน สแตน แอนโทนี แม็กกี โคบี สมัลเดอส์ แฟรงก์ กริลโล เอมิลี แวนแคมป์ เฮย์ลีย์ แอตเวลล์ โรเบิร์ต เรดฟอร์ด และซามูเอล แอล. แจ็กสัน ในภาพยนตร์กัปตันอเมริกา: มัจจุราชอหังการ กัปตันอเมริกา แบล็กวิโดว์ และฟอลคอน เข้าร่วมกองทัพเพื่อเปิดโปงแผนสมคบคิดภายในองค์กร S.H.I.E.L.D. ขณะเผชิญหน้ากับมือสังหารลึกลับในชื่อ วินเทอร์โซลเจอร์ แรงบันดาลใจของภาคมัจจุราชอหังการมาจากบันเทิงคดีสมคบคิดจากคริสต์ทศวรรษ 1970 เช่น ทรีเดส์ออฟเดอะคอนดอร์ โดยมีบทที่มาจากอาร์กเรื่องวินเทอร์โซลเจอร์ เขียนโดยเอ็ด บรูเบเคอร์ บทภาพยนตร์เขียนขึ้นในปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและกัปตันอเมริกา: มัจจุราชอหังการ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์

กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ เป็นนักสำรวจ นักกฎหมาย และนักเลี้ยงปลาสวยงามที่มีชื่อเสียงชาวไทย เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2501 จบการศึกษาจากโรงเรียนปานะพันธุ์วิทยา และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เริ่มเข้าสู่แวดวงปลาและสัตว์น้ำจากการเป็นผู้แนะนำให้บ่อตกปลาต่าง ๆ หาปลาชนิดใหม่ ๆ มาลงเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้แก่ผู้ตก อาทิ ปลาตะพัด (Scleropages formosus), ปลากระโห้ (Catlocarpio siamensis) เป็นต้น และเขียนบทความลงนิตยสารตกปลาและเดินป่าฉบับต่างๆ จากนั้นได้ลงพื้นที่สำรวจปลาน้ำจืดและสัตว์น้ำของไทยอย่างจริง ๆ จัง ๆ เมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยเริ่มจากใต้สะพานพระราม 6 นอกจากนี้แล้ว ยังลงพื้นที่สำรวจแหล่งน้ำต่าง ๆ ทั่วประเทศกับทางคณะ เป็นประจำ ราวปีละ 3-4 ครั้ง เช่น ลุ่มแม่น้ำสาละวิน และป่าพรุทางภาคใต้ เป็นต้น กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ ทำงานร่วมกับนักมีนวิทยาหลายคน และได้ค้นพบปลาชนิดใหม่ ๆ ของโลกหลายชนิดที่ได้ถูกตั้งชื่อชนิดเป็นนามสกุลของตัวเอง เช่น ปลากระเบนกิตติพงษ์ (Himantura kittipongi), ปลาค้อถ้ำจารุธาณินทร์ (Schistura jaruthanini) เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ที่ส่งตัวอย่างต้นแบบแรก (Holotype) ของปลากระเบนราหูเจ้าพระยา (H. chaophraya) ปลากระเบนน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกให้แก่ ดร.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและกิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 หรือ แม่โดมเกมส์ เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน โดยจะจัดการแข่งขันขึ้นในระหว่างวันที่ 22 - 30 มกราคม พ.ศ. 2553 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาจำนวน 111 แห่งเข้าร่วมแข่งขันใน 25 ชนิดกีฬา จำนวน 262 เหรียญทอง นอกจากนี้ ยังมีกีฬาสาธิตอีก 2 ชนิดกีฬา ได้แก่ กีฬาวีลแชร์และว่ายน้ำด้วยตีนกบ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาพิการมีความสามารถและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้เท่าเทียมกับนักศึกษาทั่วไป สำหรับตราสัญลักษณ์ในการแม่โดมเกมส์ออกแบบเป็นรูปตึกโดมอันเกิดจากรูปคนสีเหลืองและคนสีแดงหันหน้าเข้าหากันแล้วชูธงชาติไทย โดยใช้คำขวัญว่า "Sports for Unity - We all are Thai" หรือ "สามัคคีที่แดนโดม" ส่วนสัญลักษณ์นำโชคนั้น คือ นกปรีดีชูคบเพลิงที่เปลวไฟเป็นรูป ๗๕ อันสื่อความหมายถึง การเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 75 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟกรากะตัว

ูเขาไฟกรากาตัวระหว่างการปะทุในปี ค.ศ. 2008 การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่รอบเกาะกรากาตัว กรากาตัว (Krakatoa) หรือ กรากาเตา (Krakatau) เป็นชื่อภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน การระเบิดครั้งใหญ่ของภูเขาไฟลูกนี้ก่อให้เกิดความหายนะครั้งใหญ่ในประเทศอินโดนีเซีย และเหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและภูเขาไฟกรากะตัว · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟตัมโบรา

ูเขาไฟตัมโบรา (Tambora; Tambora) ตั้งอยู่บนเกาะซัมบาวา ประเทศอินโดนีเซีย มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 2850 เมตร ภูเขาไฟลูกนี้ได้เคยระเบิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2358 ทำให้มีผู้เสียชีวิตราว 71,000 คน และส่งผลกระทบไปยังทั่วทุกมุมโลก และเป็นต้นเหตุของปีที่ไร้ฤดูร้อนในปี พ.ศ. 2358 ซึ่งเป็นปีที่อากาศในช่วงฤดูร้อนผิดจากปกติ ที่มีผลในการทำลายพืชพันธุ์ธัญญาหารของยุโรปเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดา นานสองปี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและภูเขาไฟตัมโบรา · ดูเพิ่มเติม »

ภีษมะ

"คำปฏิญาณของภีษมะ" ผลงานของ ราชา รวิ วรรมา "มรณกรรมของภีษมะ" ภีษมะนอนบนเตียงลูกศร รายล้อมด้วยเหล่ากษัตริย์ที่เข้าร่วมในสงครามทุ่งกุรุเกษตรทั้งฝ่ายปาณฑพและฝ่ายเการพ (ศิลปะอินเดียสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมบัติของพิพิธภัณฑ์สมิธโซเนียน สหรัฐอเมริกา) ภีษมะ หรือ เจ้าชายเทวพรต เป็นพระโอรสของพระราชาศานตนุแห่งกรุงหัสตินาปุระ แคว้นกุรุ กับพระแม่คงคา เป็นบุคคลสำคัญในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ เพราะถือเป็นปู่คนหนึ่งของทั้งฝ่ายเการพและฝ่ายปาณฑพ ภายหลังจากที่เจ้าชายเทวพรตได้ให้สัตย์สาบานแก่ฟ้าดินว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับบัลลังก์กษัตริย์และจะไม่แต่งงานมีลูกกับหญิงคนใดแล้วนั้น ก็ได้ชื่อใหม่คือ ท้าวภีษมะ พระบิดาคือท้าวศานตนุก็ซาบซึ้งพระทัยมากจึงให้พรกับภีษมะว่าจะให้ภีษมะมีอายุยืนยาวเท่าไรก็ได้ ไม่มีวันตาย นอกเสียจากว่าภีษมะจะต้องการตายเองจริง ๆ ภีษมะนั้น ต้องทนทุกข์ทรมานแสนสาหัสเพราะเป็นผู้เห็นเรื่องราวทุกอย่าง ความพินาศของราชวงศ์กุรุ การรบพุ่งกันบนสงครามกุรุเกษตร และผลพวงของสงคราม ที่เป็นเช่นนี้เพราะชาติก่อนท้าวภีษมะเคยเกิดเป็น หนึ่งในคณะเทพวสุ ก็คือคณะเทพที่มี 8 องค์ด้วยกัน และมีภรรยาครบทุกองค์ เมื่อจะไปที่ใดก็ต้องเสด็จไปทั้ง 16 องค์ มีอยู่วันหนึ่ง ภรรยาของเทพทยุ ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะเทพวสุ อยากได้แม่โคนันทินีของฤๅษีวสิษฐ์ซึ่งเป็นฤๅษีคนสำคัญ เทพทยุรู้ว่าผิดแต่ก็ช่วยกันกับเทพอีก 7 องค์ในการโขมยวัวในระหว่างที่ฤๅษีวสิษฐ์ออกไปเก็บผลไม้ในป่า แต่ฤๅษีวสิษฐ์ก็จับได้เข้า จึงสาปให้เทพทั้ง 8 องค์ไปเกิดรับความทรมานบนโลกมนุษย์ แต่เทพ 7 องค์นั้นเป็นเพียงตัวประกอบในการช่วยกันโขมยวัวเท่านั้น ตัวตั้งตัวตีนั้นคือเทพทยุ จึงถูกสาปให้ไปเกิดบนโลกมนุษย์รับความทรมานแสนสาหัสหนักกว่าใครเพื่อน ด้วยเหตุนี้พระแม่คงคาจึงรับหน้าที่เป็นพระมารดาของเทพ 8 องค์ นี้ และโยนเทพทั้ง 7 องค์ที่มาเกิดบนโลกมนุษย์นี้ลงแม่น้ำทันทีจะได้ไม่ต้องมารับกรรมมาก ส่วนเทพทยุที่ทำผิดหนักกว่าใครเพื่อนก็ได้มาเกิดนานกว่าคนอื่นก็คือ ท้าวภีษมะ นั่นเอง โดยพระแม่คงคาได้นำตัวท้าวภีษมะไปร่ำเรียนวิชาพระเวทและคัมภีร์เวทานตะโดยฤๅษีวสิษฐ์ซึ่งเป็นคนเดียวกันกับที่สาปให้ภีษมะมาเกิดบนโลกนานกว่าใคร,วิชารัฐศาสตร์โดยพระพฤหัสบดี และวิชายิงธนูโดยภควาจารย์หรือฤๅษีปรศุราม(ที่เกลียดพวกวรรณะกษัตริย์แต่คราวนี้ยอมสอนให้) ท้าวภีษมะนั่นไม่ได้แต่งงานแต่มีอยู่ครั้งหนึ่ง ได้ไปชิงตัวเจ้าหญิงแห่งแคว้นกาสี 3 พระองค์ก็คือ เจ้าหญิงอัมพา เจ้าหญิงอัมพิกา และเจ้าหญิงอัมพาลิกา มาเป็นมเหสีของวิจิตรวีรยะผู้เป็นน้องต่างมารดา (ตอนนั้นจิตรางคทะเสียชีวิตไปแล้วและโดยปกติมีข้อตกลงกันมานานแล้วว่า หากแคว้นกาสีมีพระธิดาจะต้องยกให้กับเจ้าชายแคว้นหัสตินาปุระก่อน แต่คราวนี้กลับทำพิธีสยุมพรแต่ไม่ได้เชิญเจ้าชายแคว้นหัสตินาปุระไปร่วมด้วย) แต่เมื่อชิงตัวทั้งสามมายังกรุงหัสตินาปุระเรียบร้อย เจ้าหญิงอัมพาเกิดบอกกับภีษมะว่าตอนที่ภีษมะกำลังจะไปชิงตัวนางนั้น นางกำลังจะทำพิธีสยุมพรกับท้าวศัลวะ ซึ่งเป็นคู่รักของนาง ทุกคนคือท้าวภีษมะ พระนางสัตยวดีและวิจิตรวีรยะตกใจมากกับเรื่องที่เกิดขึ้น จึงส่งตัวเจ้าหญิงอัมพาให้ท้าวศัลวะ แต่ท้าวศัลวะไม่ยอมรับตัวเจ้าหญิงอีกต่อไป เจ้าหญิงอัมพาเสียใจมาก เมื่อกลับมาหาท้าวภีษมะและขอร้องให้แต่งงานกับตน แต่ท้าวภีษมะทำไม่ได้เพราะเคยให้สัตย์สาบานกับฟ้าดินไว้ นางอัมพาโกรธแค้นท้าวภีษมะมากจึงขอให้ฤๅษีปรศุรามผู้เป็นอาจารย์ของท้าวภีษมะมาขอร้องแทนแต่ก็ไม่เป็นผลและยังต้องต่อสู้กับท้าวภีษมะอีกด้วย แต่ผลก็ไม่รู้แพ้รู้ชนะเพราะภีษมะกำลังจะตัดสินการสู้กันโดยใช้วิชาอัสตระชื่อวิชาปรัสวาปะ ซึ่งเป็นวิชาทำลายล้างโลก แต่ก็ถูกพระนารายณ์และพระศิวะห้ามไว้ก่อน เจ้าหญิงอัมพาจึงไม่สมหวังและขอพรกับเทพบุตรสันมุข พระองค์จึงให้พวงมาลัยที่ไม่มีวันเหี่ยวเฉากับนาง เพื่อเอาไปคล้องคอกับผู้ที่จะฆ่าท้าวภีษมะให้ แต่ไม่มีกษัตริย์คนใดยอมรับ มาถึงคนสุดท้ายคือท้าวทรุปัท พระองค์ก็ไม่ยอมเช่นกัน เจ้าหญิงจึงแขวนพวงมาลัยในที่เสาในท้องพระโรงและได้พรจากพระศิวะให้นางเป็นคนฆ่าภีษมะด้วยตนเอง นางทนรอชาติหน้าไม่ไหวจึงเผาตนเองในกองไฟไปเกิดใหม่เป็นพระธิดาของท้าวทรุปัทชื่อ ศิขัณทิน (แต่ภายหลังได้แลกเพศกับยักษ์ตนหนึ่ง) ส่วนในสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตรนั้น ท้าวภีษมะต้องเข้าร่วมกับพวกเการพ และเป็นแม่ทัพให้กับทุรโยธน์ ท้าวภีษมะไม่เต็มใจนักเพราะแต่ละฝ่ายต่างก็เป็นหลานของตน จึงเข้าร่วมกับฝ่ายเการพและบอกว่าจะไม่สังหารพี่น้องปาณฑพอย่างเด็ดขาด แต่ในที่สุดแล้ว ภีษมะก็ตายด้วยน้ำมือของอรชุนซึ่งเป็นหลาน ไม่ใช่ศิขัณทิน ในสงครามบนทุ่งกุรุเกษตร โดยอรชุนระดมยิงธนูใส่ภีษมะเป็นจำนวนมาก แต่ภีษมะยังไม่ตาย โดยสอนวิธีการปกครองให้กับพวกปาณฑพก่อนที่ตนเองจะตั้งใจตาย เมื่อสอนหลาน ๆ ฝ่ายปาณฑพจบภีษมะก็ได้ตายจากไปและขึ้นไปอยู่บนสวรรค์ดังเดิม.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและภีษมะ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เวลคอมิกส์

ริษัท มาร์เวลเวิลด์ไวด์ (Marvel Worldwide, Inc.) หรือเรียกทั่วไปว่า มาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) และชื่อก่อนหน้านี้คือ บริษัท มาร์เวลพับลิชิง (Marvel Publishing, Inc.) และ มาร์เวลคอมิกส์กรุป (Marvel Comics Group) เป็นค่ายการ์ตูนและสื่อต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับซูเปอร์ฮีโรของสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1939 โดย มาร์ติน กูดแมน ในนามของไทม์ลีคอมิกส์ มีนักเขียน นักวาดคนสำคัญ เช่น สแตน ลี แจ็ก เคอร์บี สตีฟ ดิตโก เป็นต้น มาร์เวลคอมิกส์ มีชื่อเสียงโด่งดังและรู้จักกันดี เช่น เอ็กซ์เมน สไปเดอร์-แมน ฮัลก์ กัปตันอเมริกา ไอรอนแมน ธอร์ เป็นต้น และศัตรูที่โด่งดังและรู้จักกันดี เช่น กรีนโกบีน แม็กนีโต ด็อกเตอร์ดูม โลกิ กาแล็กตัส และเรดสกัล เป็นต้น มาร์เวลคอมิกส์ และคู่แข่งสำคัญมายาวนานคือดีซีคอมิกส์ ร่วมหุ้นกันไป 80 % ของตลาดหนังสือการ์ตูนอเมริกันในปี ค.ศ. 2008 ปัจจุบันมาร์เวลคอมิกส์เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและมาร์เวลคอมิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยา คำว่า มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน หรือ มนุษย์ปัจจุบัน (anatomically modern human, ตัวย่อ AMH) หรือ โฮโมเซเปียนส์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern Homo sapiens, ตัวย่อ AMHS) หมายถึงสมาชิกของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่มีรูปพรรณสัณฐานภายในพิสัยลักษณะปรากฏของมนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์ปัจจุบันวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณ (archaic humans) ยุคหินกลาง (แอฟริกา) ประมาณ 300,000 ปีก่อน.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์โบราณ

กะโหลกดึกดำบรรพ์ของ ''Homo rhodesiensis'' ที่เรียกว่า "Broken Hill Cranium" มีอายุถ้าไม่ 130,000 ปีก่อน (โดยใช้วิธี amino acid racemization determination) ก็ 800,000-600,000 ปีก่อน (คือในช่วงอายุเดียวกับ ''Homo erectus'') สายพันธุ์มนุษย์สกุล Homo หลายชนิดสามารถจัดเข้าในหมวดกว้าง ๆ คือ มนุษย์โบราณ (archaic human) เริ่มตั้งแต่ 600,000 ปีก่อน ซึ่งปกติจะรวม Homo neanderthalensis (300,000-28,000 ปีก่อน) Homo rhodesiensis (400,000-125,000 ปีก่อน), Homo heidelbergensis (600,000-250,000 ปีก่อน), และอาจรวม Homo antecessor โดยมนุษย์กลุ่มไหนจะจัดเป็น "มนุษย์โบราณ" ขึ้นอยู่กับนิยามต่าง ๆ ของผู้เขียน เป็นหมวดหมู่ที่ใช้เปรียบเทียบกับ มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน/มนุษย์ปัจจุบัน (anatomically modern humans) มีสมมติฐานว่า มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการมาจากมนุษยโบราณ ซึ่งก็วิวัฒนาการมาจาก Homo erectus บางครั้ง มนุษย์โบราณจะรวมเข้าในสปีชีส์ "Homo sapiens" เพราะขนาดสมองใกล้เคียงกัน คือ มีขนาดสมองเฉลี่ยที่ระหว่าง 1,200-1,400 ซม3 ซึ่งคาบเกี่ยวกับพิสัยขนาดสมองของมนุษย์ปัจจุบัน แต่มนุษย์โบราณจะต่างจากมนุษย์ปัจจุบันโดยมีกะโหลกศีรษะหนา สันคิ้วเหนือตาที่เด่น และไม่มีคางเด่นเท่ามนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์ปัจจุบันปรากฏขึ้นประมาณ 300,000 ปีก่อน และหลังจาก 70,000 ปีก่อน ก็เริ่มจะแทนที่มนุษย์โบราณในที่ต่าง ๆ แต่มนุษย์สกุล Homo ที่ "ไม่ปัจจุบัน" ก็คงอยู่รอดจนกระทั่ง 30,000 ปีก่อน และอาจจนถึง 10,000 ปีก่อน อย่างไรก็ดี ตามงานศึกษาทางพันธุกรรมปี 2555 มนุษย์ปัจจุบันอาจจะได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณ "อย่างน้อยสองกลุ่ม" คือ นีแอนเดอร์ทาลและมนุษย์กลุ่ม Denisovan ส่วนงานศึกษาอื่น ๆ ตั้งความสงสัยว่า การผสมพันธุ์อาจไม่ใช่เหตุที่มนุษย์ปัจจุบันมียีนร่วมกับมนุษย์โบราณ แล้วชี้ไปที่การมีบรรพบุรุษร่วมกันเมื่อ 500,000-800,000 ปีก่อน งานศึกษาปี 2555 ยังเสนอมนุษย์อีกกลุ่มที่อาจมีชีวิตอยู่จนกระทั่ง 11,500 ปีก่อน คือกลุ่มมนุษย์ Red Deer Cave people ในจีน ดร.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและมนุษย์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง

ในการตั้งชื่อทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตมักได้รับชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล ชั้นอนุกรมวิธาน (taxon) (ตัวอย่างเช่น สปีชีส์ หรือ สกุล) ที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่สิ่งอื่นอื่นเรียกว่า eponymous taxon ส่วนชื่อที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลใดบุคคลนึง หรือกลุ่มคน เรียกว่า patronymic ปกติแล้วชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการในวารสารที่มีการตรวจสอบโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ โดยมีคำบรรยายชื่อชั้นอนุกรมวิธานและวิธีบอกความแตกต่างกับชั้นอนุกรมวิธานอื่น ตามกฎของไวยากรณ์ภาษาละตินชื่อสปีชีส์หรือชนิดย่อยที่มาจากชื่อผู้ชายส่วนใหญ่ลงท้ายด้วย -i หรือ -ii หากตั้งชื่อตามคนบุคคลและ -orum หากตั้งชื่อตามกลุ่มผู้ชายหรือชายหญิง เช่น ครอบครัว ในทางคล้ายกัน ชื่อที่ตั้งตามผู้หญิงล้วนลงท้ายด้วย -ae หรือ -arum สำหรับผู้หญิงสองคนหรือมากกว่า รายชื่อนี้มีสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามบุคคลหรือคณะที่มีชื่อเสียง (รวมไปถึงวงดนตรี และคณะนักแสดง) แต่ไม่รวมบริษัท สถาบัน กลุ่มชาติพันธุ์หรือชาติ และสถานที่ซึ่งมีคนอยู่มาก ไม่รวมถึงสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามตัวละครในนวนิยาย นักชีววิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ หรือคนในครอบครัวของนักวิจัยที่อาจไม่เป็นที่รู้จัก ชื่อวิทยาศาสตร์อยู่ในรูปแบบที่บรรยายไว้ดั้งเดิม.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่ตั้งชื่อตามผู้มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

วาฬสเปิร์มเล็ก

วาฬสเปิร์มเล็ก หรือ วาฬหัวทุยเล็ก (Pygmy sperm whale) เป็นวาฬขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์วาฬสเปิร์มเล็ก (Kogiidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายวาฬสเปิร์ม (Physeter macrocephalus) แต่ตัวมีขนาดเล็กกว่ามาก ครีบหลังเป็นกระโดงขนาดเล็กเมื่อเทียบกับความยาวลำตัวแล้วน้อยกว่าร้อยละ 5 ส่วนหลังสีน้ำเงินดำหัวกลม ส่วนท้องสีขาวบางครั้งอมชมพูช่อง หายใจอยู่ด้านบนเยื้องทางซ้ายนิดหน่อย ขากรรไกรล่างเล็กแคบมีลักษณะคล้ายปากฉลาม คือ เป็นรูปสามเหลี่ยม ฟันลักษณะแหลมโค้งจำนวน 12-16 คู่ บนขากรรไกรล่างส่วนขากรรไกรบนจะไม่เห็นฟันงอกออกมา แต่จะมีร่องรับพอดีกับฟันล่างเวลาหุบปาก ส่วนหัวด้านข้างมีแนวสีเข้มเป็นรูปโค้งคล้ายแก้มปิดเหงือกของปลา ซึ่งเรียกแนวนี้ว่า "เหงือกปลอม" (False gill) ซึ่งมีเฉพาะวาฬในวงศ์นี้เท่านั้น ขนาดโตเต็มที่ยาวได้ 3.4 เมตร น้ำหนักมากถึง 400 กิโลกรัม ลูกแรกเกิดยาวประมาณ 1.2 เมตร ตั้งท้องประมาณ 11 เดือน พบในทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ในประเทศไทยพบมีรายงานเพียง 5 จังหวัด คือ จังหวัดชุมพร, พังงา, ภูเก็ต, ระยอง และสงขลา จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมาย วาฬสเปิร์มเล็ก ในอดีตเคยเป็นที่ถกเถียงกันว่าเป็นชนิดเดียวกันกับวาฬสเปิร์มหรือไม่ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1966 สถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกาได้ข้อยุติว่าเป็นคนละชนิดกัน โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ของวาฬสเปิร์มเล็กถูกตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1838 โดย อองรี มารี ดูโครแตร์ เดอ แบลงวิลล์ นักสัตววิทยาชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและวาฬสเปิร์มเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหญ้าดอกลาย

กุลหญ้าดอกลาย หรือ Swertia เป็นสกุลของพืชวงศ์Gentianaceaeซึ่งพืชที่มีชื่อสามัญว่าfelworts อยู่ในวงศ์นี้ด้วย พืชบางชนิดในวงศ์นี้มีดอกสีน้ำเงินหรือสีม่วง พืชในสกุลFrasera บางครั้งถือว่าอยู่ในสกุลนี้ด้วย บางครั้งถือว่าเป็นสกุลต่างหาก บางครั้งถือว่าเป็นชื่อพ้อง.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและสกุลหญ้าดอกลาย · ดูเพิ่มเติม »

สมัยไมโอซีน

รรดาสัตว์สมัยไมโอซีนในอเมริกาเหนือ สมัยไมโอซีน (Miocene) เป็นสมัยแรกของยุคนีโอจีนในธรณีกาลระหว่าง 23.03 ถึง 5.333 ล้านปีก่อนถึงปัจจุบัน เป็นสมัยที่ต่อมาจากสมัยโอลิโกซีนและตามด้วยสมัยไพลโอซีน ชาร์ลส์ ไลแอลได้นำจากคำภาษากรีก คำว่าμείων (meiōn, “น้อย”) และคำว่า καινός (kainos, “ใหม่”)มาตั้งชื่อให้กับสมัยนี้ สาเหตุที่ใช้คำว่า"น้อย"เพราะว่ามีสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังสมัยใหม่น้อยกว่าสมัยไพลโอซีน 18% ขณะที่เวลาได้ผ่านตั้งแต่สมัยโอลิโกซีนมาถึงไมโอซีนและผ่านไปยังสมัยไพลโอซีนอากาศค่อย ๆ เย็นลงซึ่งเป็นผลมาจากยุคน้ำแข็ง การแบ่งยุคสามยุคนี้ออกจากกันนั้นไม่ได้ใช้เหตุการณ์ระดับโลกในการแบ่งแต่ใช้ระดับอุณหภูมิในการแบ่งโดยสมัยโอลิโกซีนอุ่นกว่าไมโอซีนและไมโอซีนอุ่นกว่าสมัยไพลโอซีน เอปได้เกิดและมีความหลากหลายขึ้นในยุดนี้จากนั้นก็เริ่มแพร่พันธุ์ไปทั่วพื้นที่โลกเก่า ในช่วงท้ายของสมัยนี้บรรพบุรุษของมนุษย์ได้เริ่มแยกตัวออกจากบรรพบุรุษของลิงชิมแปนซี (ช่วงประมาณ 7.5 ถึง 5.6 ล้านปีก่อน) สมัยนี้มีลักษณะเหมือนสมัยโอลิโกซีนคือทุ่งหญ้าขนายตัวขึ้นและป่าไม้ลดน้อยลง ทะเลในสมัยนี้ป่าสาหร่ายเริ่มปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกและกลายเป็นระบบนิเวศที่สำคัญมากที่สุดแบบหนึ่งของโลก พืชและสัตว์ยุคนี้มีวิวัฒนาการแบบใหม่มากขึ้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและนกสามารถพบได้มาก สาหร่ายทะเล วาฬและสัตว์ตีนครีบเริ่มแพร่พันธุ์ไปทั่ว ยุคนี้มีเป็นยุคที่มีความน่าสนใจเกี่ยวกับธรณีวิทยาและภูมิอากาศบรรพกาลวิทยาเป็นอย่างมากเนื่องจากยุคนี้เป็นช่วงเวลาสำคัญของการเกิดเทือกเขาหิมาลัยซึ่งส่งผลกระทบต่อรูปแบบของมรสุมในเอเชียซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขยายตัวของธารน้ำแข็งในซีกโลกเหนือ.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและสมัยไมโอซีน · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันจอห์น เอฟ. เคนเนดีเพื่อศิลปะการแสดง

ันจอห์น เอฟ.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและสถาบันจอห์น เอฟ. เคนเนดีเพื่อศิลปะการแสดง · ดูเพิ่มเติม »

สตีฟ จอบส์

ตีฟ จอบส์ เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย มีชื่อจริงว่า สตีเวน พอล จอบส์ เป็นบุตรบุญธรรมของพอล แรนโฮลด์ จอบส์ กับคลารา จอบส์ (สกุลเดิม ฮาโกเพียน) ครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายอาร์เมเนีย*.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและสตีฟ จอบส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอดอร์ กิลล์

ีโอดอร์ กิลล์ (Theodore Gill) นักมีนวิทยาและสัตววิทยาชาวอเมริกัน มีชื่อเต็มว่า ธีโอดอร์ นิโคลัส กิลล์ (Theodore Nicholas Gill) เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1837 ที่นิวยอร์กซิตี้ เริ่มศึกษาภายใต้การสอนของภาคเอกชน กิลล์มีความสนใจในวิชาประวัติศาสตร์ธรรมชาติวิทยา และมีความสัมพันธ์อันดีกับเจ. คาร์สัน เบรวูร์ท ในการจัดเรียงอันดับของกีฏวิทยาและงานสะสมมีนวิทยา ก่อนที่จะเดินทางไปวอชิงตัน ดี.ซี. ในปี ค.ศ. 1863 เพื่อทำงานที่สถาบันสมิธโซเนียน กิลล์ทำงานด้านจัดหมวดหมู่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, ปลาและหอย และยังเป็นบรรณารักษ์ที่สถาบันแห่งนี้และยังเป็นผู้ช่วยอาวุโสห้องสมุดของสภาคองเกรสอีกด้วย กิลล์เป็นศาสตราจารย์ด้านสัตววิทยาที่มหาวิทยาลัยจอร์จวอชิงตัน และเป็นสมาชิกของสโมสรเมกาเธอเรี่ยม ที่สถาบันสมิธโซเนียน ในวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและธีโอดอร์ กิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร วงศ์รัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานปลา จบการศึกษาจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโทจากประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดลไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกในเชิงอนุกรมวิธานปลาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2524 และต่อมาในปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและทศพร วงศ์รัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบโตบา

ทะเลสาบโตบา (Lake Toba Danau Toba) เป็นทะเลสาบและซูเปอร์ภูเขาไฟ มีความยาว 100 กิโลเมตร กว้าง 33 กิโลเมตร จุดที่ลึกที่สุดลึก 505 เมตร ตั้งอยู่ที่ทางเหนือของเกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย ที่ระดับความสูง 900 เมตร พิกัดตั้งแต่ ถึง เป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย และเป็นทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทะเลสาบโตบาเคยเป็นสถานที่เกิดเหตุซูเปอร์ภูเขาไฟปะทุเมื่อประมาณ 69,000-77,000 ปีก่อน ซึ่งเป็นการปะทุครั้งใหญ่ที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง โดยถูกประมาณให้อยู่ที่ระดับ 8 ของดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ และเป็นเหตุระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่ค้นพบในรอบ 25 ล้านปีที่ผ่านมา ตามทฤษฎีมหันตภัยโตบาแล้ว การปะทุครั้งนั้นส่งผลกระทบไปทั่วโลก มนุษย์ส่วนใหญ่ในขณะนั้นเสียชีวิต และเกิดภาวะคอขวดทางประชากรในแอฟริกาตะวันออกตอนกลางและอินเดีย ซึ่งส่งผลต่อ Genetic inheritance ของมนุษย์ทุกคนในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม สมมุติฐานนี้ไม่เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายเนื่องจากขาดหลักฐานที่แสดงถึงการเสียชีวิตหมู่หรือสูญพันธุ์ของสัตว์ชนิดอื่น แม้แต่สัตว์ที่อ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อมGathorne-Hardy, F. J., and Harcourt-Smith, W. E. H.,, Journal of Human Evolution 45 (2003) 227–230.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและทะเลสาบโตบา · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ

วามสัมพันธ์กันระหว่างดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟและปริมาณตกกระทบ ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ (Volcanic Explosivity Index หรือ VEI) เป็นมาตราสัมพัทธ์ของการระเบิดของภูเขาไฟ ถูกคิดค้นขึ้นโดยคริสโตเฟอร์ จี นิวฮอลล์แห่งหน่วยงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกาและสตีเฟน เซลฟ์ ที่มหาวิทยาลัยฮาวาย เมื่อปี 1982 ปริมาณของผลผลิต ความสูงของเมฆที่เกิดจากการปะทุ และการสังเกตการณ์เชิงคุณภาพ ใช้เพื่อกำหนดค่าของการระเบิด มาตรานี้เป็นมาตราปลายเปิดโดยมีขนาดของกิจกรรมภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ 8 ซึ่งค่าเริ่มจาก 0 สำหรับภูเขาไฟที่ไม่ได้ระเบิด โดยนิยามว่าน้อยกว่า 10,000 ม.3 ของเทบพราที่พุ่งออกมา และ 8 จะนิยามถึงการระเบิดครั้งมหึมา ซึ่งสามารถพ่นเทบพราออกมาได้ 1.0 × 1012 ม.3 และมีเมฆสูงในแนวตั้งกว่า 20 กิโลเมตร มาตราส่วนนี้เป็นลอการิทึมกับแต่ละช่วงเวลาในมาตราที่แสดงถึงการเพิ่มขึ้นเป็นสิบเท่าในเกณฑ์การพุ่งที่สังเกตได้ ยกเว้น VEI 0, 1 และ 2.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ความรัก

วาดตัวอย่างคู่รัก โรมิโอกับจูเลียต ความรัก (Love) เป็นความรู้สึก สภาพและเจตคติต่าง ๆ ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบระหว่างบุคคลหมายถึงอารมณ์การดึงดูดและความผูกพัน (attachment) ส่วนบุคคลอย่างแรงกล้าOxford Illustrated American Dictionary (1998) + Merriam-Webster Collegiate Dictionary (2000) ในบริบททางปรัชญา ความรักเป็นคุณธรรมแสดงออกซึ่งความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ และความเสน่หาทั้งหมดของมนุษย์ ความรักเป็นแก่นของหลายศาสนา อย่างเช่นในวลี "พระเจ้าเป็นความรัก" ของศาสนาคริสต์ หรืออากาเปในพระวรสารในสารบบ ความรักยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นพฤติกรรมต่อตนเองหรือผู้อื่นซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเห็นอกเห็นใจ หรือความเสน่หา คำว่ารักสามารถหมายความถึงความรู้สึก สภาพทางอารมณ์และเจตคติต่าง ๆ ซึ่งอาจมีตั้งแต่ความพอใจทั่วไปจนถึงความดึงดูดระหว่างบุคคลอย่างรุนแรง แต่โดยเจาะจงแล้ว ความรักสามารถหมายถึงความต้องการอย่างเสน่หาและความสัมพันธ์ทางเพศ ซึ่งเป็นความหมายของความรักแบบโรแมนติก ความรักที่มีเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นความหมายของอีรอส (คำภาษากรีกหมายถึงความรัก) ความใกล้ชิดทางอารมณ์ ซึ่งเป็นความหมายของความรักกับบุคคลในครอบครัว หรือรักบริสุทธิ์ที่นิยามมิตรภาพ หรือความรักแบบอุทิศตัวแบบในทางศาสนา (J. Mascaró, translator) ความหลากหลายของการใช้และความหมายของคำว่ารักนี้ ประกอบกับความรู้สึกอันซับซ้อนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้เป็นการยากที่จะนิยามความรักให้แน่นอน แม้จะเทียบกับสภาพอารมณ์อื่น ๆ แล้วก็ตาม วิทยาศาสตร์นิยามว่าสิ่งที่เข้าใจได้ว่าเป็นความรักนั้นเป็นสภาพที่มาจากวิวัฒนาการของสัญชาตญาณการเอาตัวรอด โดยพื้นฐานแล้วเพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันเพื่อต่อต้านภัยคุกคามและเพื่อสนับสนุนความต่อเนื่องของสายพันธุ์ผ่านการสืบพันธุ์Helen Fisher.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและความรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ

ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ (Chief Justice of the United States) เป็นประมุขแห่งศาลสหรัฐทั้งปวง และเป็นประมุขของศาลสูงสุดสหรัฐ (Supreme Court of the United States) โดยเป็นหนึ่งในตุลาการศาลสูงสุดเก้าคน แปดคนที่เหลือเรียก ตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ (Associate Justice of the Supreme Court of the United States) ประธานศาลสูงสุดเป็นข้าราชการตุลาการชั้นสูงที่สุดในประเทศ กับทั้งปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการตุลาการ (chief administrative officer) และแต่งตั้งเลขาธิการศาลสหรัฐ (director of the Administrative Office of the United States Courts) ประธานศาลสูงสุดยังเป็นโฆษกสำหรับองค์กรตุลาการของประเทศอีกด้วย ประธานศาลสูงสุดอำนวยกิจการทั้งปวงของศาลสูงสุด เขาจะนั่งเป็นประธานในการพิจารณาคดีทั้งมวลของศาลสูงสุด โดยเฉพาะในการแถลงการณ์ด้วยวาจา และเมื่อศาลสูงสุดจะทำความเห็นในการวินิจฉัยคดี ถ้าเขาอยู่เสียงข้างมาก เขาสามารถกำหนดให้ตุลาการคนใดทำคำพิพากษากลางขึ้น เขายังกำหนดระเบียบวาระอันสำคัญในการประชุมของศาลสูงสุดด้วย นอกจากนี้ เมื่อวุฒิสภาดำเนินคดีอาญาต่อประธานาธิบดี ซึ่งเคยมีมาแล้วสองคราในหน้าประวัติศาสตร์ เขาจะเป็นประธานในการพิจารณาคดี ปัจจุบัน เขายังมีหน้าที่อันตกผลึกมาทางประเพณีอีก คือ เป็นประธานในพิธีให้สัตย์ปฏิญาณเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี จอห์น เจย์ (John Jay) เป็นประธานศาลสูงสุดคนแรก และ จอห์น จี. รอเบิตส์ จูเนียร์ (John G. Roberts, Jr.) เป็นประธานศาลสูงสุดคนปัจจุบัน ซึ่งเป็นลำดับที่สิบเจ็.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและประธานศาลสูงสุดสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนกิตติพงษ์

ปลากระเบนกิตติพงษ์ หรือ ปลากระเบนแม่กลอง (Kittipong's whipray) ปลากระเบนน้ำจืดชนิดใหม่ของโลก อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนในวงศ์นี้ทั่วไป ต่างกันที่ด้านหลังจะมีสีน้ำตาลเข้มอมเหลือง รอบวงของลำตัว หาง ช่องหายใจ ช่องเหงือกและขอบด้านล่างของตัวเป็นสีคล้ำ และจำนวนของฟันซึ่งมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรล่างมีจำนวนมากถึง 14-15 แถว ส่วนลำตัวมีขนาดใหญ่สุดประมาณ 60 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 50-80 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 3 กิโลกรัม ปลากระเบนกิตติพงษ์ ได้ถูกจำแนกออกจากปลากระเบนขาว (H. signifer) ซึ่งเป็นปลากระเบนลักษณะคล้ายคลึงกัน จากการสังเกตของเจ้าของร้านขายปลาสวยงามแห่งหนึ่งในตลาดกลางปลาสวยงาม อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จากนั้น กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ นักสำรวจปลาน้ำจืดชาวไทยที่มีชื่อเสียงได้ส่งตัวอย่างต้นแบบแรกให้แก่ ดร.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและปลากระเบนกิตติพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหวีเกศ

ปลาหวีเกศ (Siamese schilbeid catfish, Siamese flat-barbelled catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) เป็นปลาไม่มีเกล็ด มีรูปร่างคล้ายปลาสังกะวาดและปลาเนื้ออ่อนผสมรวมกัน ตัวเรียวยาว มีครีบหลัง 2 ตอน ตอนหลังเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กมาก มีลักษณะเด่นคือ มีหนวดยาว 4 คู่ แต่หนวดจะแบนไม่เป็นเส้น คล้ายกับเส้นผมของผู้หญิง จึงเป็นที่มาของชื่อ พบอาศัยอยู่เฉพาะแม่น้ำเจ้าพระยาเท่านั้น กินแมลงเป็นอาหาร ขนาดโตเต็มที่ราว 20 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีรายชื่ออยู่ในกาพย์แห่ชมปลาของเจ้าฟ้ากุ้งนับตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายที่ว่า ปัจจุบันนี้ไม่มีรายงานพบในธรรมชาติมานานแล้ว จึงเชื่อว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว เหลือแต่เพียงซากที่ถูกดองเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยากรมประมงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยฮิว แมคคอร์มิค สมิธ ที่เก็บตัวอย่างได้จากตลาดปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 และสถาบันสมิธโซเนียนเท่านั้น มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลาสายยู" หรือ "ปลาเกด".

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและปลาหวีเกศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแรด

ปลาแรด (Giant gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและปลาแรด · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบลเกอร์

ปีเตอร์ เบลเกอร์ (Pieter Bleeker; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1819 ที่ซานดัม – 24 มกราคม ค.ศ. 1878 ที่เดอะเฮก) นักมีนวิทยาและวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวดัตช์ มีชื่อเสียงจากผลงานตีพิมพ์ชื่อ Atlas Ichthyologique des Orientales Neerlandaises ซึ่งเป็นบันทึกที่ได้จัดทำขึ้นระหว่างสำรวจพันธุ์ปลาในอินโดนีเซีย ตีพิมพ์ระหว่างปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและปีเตอร์ เบลเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือ นกนางแอ่นตาพอง (White-eyed River-Martin, ชื่อวิทยาศาสตร์: Pseudochelidon sirintarae หรือ Eurochelidon sirintarae) เป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของสกุลนกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น พบบริเวณบึงบอระเพ็ดในช่วงฤดูหนาวเพียงแห่งเดียวในโลก แต่อาจสูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

แมว

แมว เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในตระกูล Felidae ต้นตระกูลมาจากเสือไซบีเรีย (Felis tigris altaica) ซึ่งมีช่วงลำตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลำตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัดอยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อ มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ สืบสายเลือดมาจากแมวป่าที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งลักษณะบางอย่างของแมวยังคงพบเห็นได้ในแมวบ้านปัจจุบัน แมวเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เมื่อประมาณ 9,500 ปีก่อน ซึ่งจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของแมวคือการทำมัมมี่แมวที่พบในสมัยอียิปต์โบราณ หรือในพิพิธภัณฑ์อังกฤษในลอนดอน มีการแสดงสมบัติที่นำออกมาจากพีระมิดโบราณแห่งอียิปต์ ซึ่งรวมถึงมัมมี่แมวหลายตัว ซึ่งเมื่อนำเอาผ้าพันมัมมี่ออกก็พบว่า แมวในสมัยโบราณทุกตัวมีลักษณะใกล้เคียงกัน คือเป็นแมวที่มีรูปร่างเล็ก ขนสั้นมีแต้มสีน้ำตาล มีความคล้ายคลึงกับพันธุ์ในปัจจุบัน ที่เรียกว่าแมวอะบิสซิเนี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและแมว · ดูเพิ่มเติม »

โอลิงกีโต

อลิงกีโต (olinguito; คำแปล: โอลิงโกน้อย) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในอันดับสัตว์กินเนื้อชนิดหนึ่ง ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) โอลิงกีโตถือเป็นสัตว์ในวงศ์แร็กคูนที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นสัตว์จำพวกโอลิงโกและคิงคาจู โดยมีน้ำหนักเฉลี่ย 2.5 ปอนด์ (1.1 กิโลกรัม) เป็นสัตว์กินเนื้อหากินในเวลากลางคืน และก็สามารถกินผลไม้ได้หลากหลายชนิด โดยเฉพาะมะเดื่อฝรั่ง มีรูปร่างลักษณะและขนาดคล้ายแมวผสมกับตุ๊กตาหมีเท็ดดี้ โอลิงกีโตเป็นสัตว์ที่เพิ่งค้นพบใหม่ของโลก ได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 2013 โดยถูกเข้าใจว่าว่าเป็นโอลิงโกมาตลอด จนกระทั่งคริสโตเฟอร์ เฮลเกน ภัณฑารักษ์แห่งสถาบันสมิธโซเนียนเล็งเห็นความแตกต่างกันของโครงสร้างกระดูกและหัวกะโหลกและได้ทำการศึกษาในปี ค.ศ. 2006 จนกระทั่งแน่ชัดว่าเป็นสัตว์ชนิดใหม่ โอลิงกีโตเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามป่าเมฆในที่สูง ในบริเวณเทือกเขาของทวีปอเมริกาใต้ เช่น ตอนกลางของโคลอมเบีย และตะวันตกของเอกวาดอร์ แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) การที่ค้นพบโอลิงกีโตถือเป็นการค้นพบสัตว์กินเนื้่อที่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดแรกของทวีปอเมริกาในรอบ 35 ปี.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและโอลิงกีโต · ดูเพิ่มเติม »

โฮป (แก้ความกำกวม)

ป สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและโฮป (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์

ทสัน อาร.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนกี้ (บริษัท)

ร้านค้าไนกี้ที่ฮ่องกง ไนกี้ เป็นบริษัทผลิตเครื่องกีฬา อย่างรองเท้า อุปกรณ์กีฬา เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย มีบริษัทแม่อยู่ที่สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย บิลล์ บาวเวอร์แมน และ ฟิล ไนต.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและไนกี้ (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เพชรโฮป

รโฮป (Hope Diamond) เป็นเพชรขนาดใหญ่ หนัก 45.52 กะรัต (9.10 กรัม) สีน้ำเงินเข้ม ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาสมิธโซเนียนในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เพชรโฮปมองด้วยตาเปล่าเห็นเป็นสีน้ำเงินเพราะมีธาตุโบรอนปริมาณเล็กน้อยอยู่ในโครงสร้างผลึก แต่จะเรืองแสงสีแดงเมื่ออาบแสงอัลตราไวโอเล็ต เพชรดังกล่าวจัดเป็นเพชรประเภท 2 บี และดังกระฉ่อนเพราะเล่าว่าเป็นเพชรต้องคำสาป มันมีประวัติศาสตร์บันทึกยาวนานโดยมีช่องว่างอยู่บ้างเมื่อมันได้เปลี่ยนมือหลายครั้งระหว่างทางจากอินเดียไปฝรั่งเศส ไปอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เพชรโฮปได้รับการอธิบายว่าเป็น "เพชรที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก" และเป็นงานศิลปะที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากภาพโมนาลิซ.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและเพชรโฮป · ดูเพิ่มเติม »

เสือลายเมฆ

ือลายเมฆ (Clouded leopard) เสือใหญ่ประเภทหนึ่ง อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

เอเตียน-ฌูล มาแร

อเตียน-ฌูล มาแร (Étienne-Jules Marey; 5 สิงหาคม ค.ศ. 1830 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1904) เป็นศิลปินช่างภาพชาวฝรั่งเศส และช่างถ่ายภาพต่อเนื่อง (chronophotographer) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผลงานของเขามีความสำคัญในการพัฒนาศาสตร์ด้านหทัยวิทยา เครื่องมือเกี่ยวกับสรีรวิทยา ภาพยนตร์ และวิทยาศาสตร์การถ่ายภาพ เขาเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้บุกเบิกการถ่ายภาพ และมีอิทธิพลของประวัติศาสตร์ของภาพยนตร.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและเอเตียน-ฌูล มาแร · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

Homo habilis

Homo habilis เป็นมนุษย์เผ่า Hominini มีชีวิตอยู่ในระหว่างช่วงอายุหิน Gelasian และ Calabrian คือครึ่งแรกของสมัยไพลสโตซีนประมาณ 2.1-1.5 ล้านปีก่อน โดยอาจวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษสาย australopithecine ตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ที่เป็นแบบก็คือซากศพหมายเลข OH 7 ที่พบในปี 2503 (ค.ศ. 1960) ณ โบราณสถาน Olduvai Gorge ในประเทศแทนซาเนีย ต่อมาในปี 2507 จึงได้จัดเป็นสปีชีส์ต่างหากคือ H. habilis (แปลว่า มือชำนาญหรือคล่องแคล่ว handy man) เพราะซากดึกดำบรรพ์มักจะพบพร้อมกับเครื่องมือหินแบบ Oldowan และเชื่อว่า มนุษย์พวกนี้สามารถแปลงหินธรรมชาติให้เป็นเครื่องมือหินได้ เป็นมนุษย์สกุล Homo ที่รูปร่างสัณฐานคล้ายกับมนุษย์ปัจจุบันน้อยที่สุด (คือลักษณะบางอย่างคล้ายกับ australopithecine มากกว่า) โดยยกเว้นสปีชีส์ที่มีปัญหาจัดเข้าในสกุลมนุษย์เช่นกันคือ H. rudolfensis ตั้งแต่นั้นมา การจัดอยู่ในสกุลก็ได้สร้างข้อถกเถียงกันอย่างไม่มีที่ยุติ ขนาดที่เล็กและลักษณะล้าหลังทำให้ผู้ชำนาญการ (รวมทั้ง ริชาร์ด ลีกคีเอง) เสนอว่าควรกัน H. habilis ออกจากสกุล Homo แล้วใส่ไว้ใน Australopithecus โดยจัดเป็น Australopithecus habilis มีการพบส่วนหนึ่งของกระดูกขากรรไกร (หมายเลข LD 350-1) ในปี 2556 ซึ่งหาอายุได้ และอ้างว่า เป็นซากดึกดำบรรพ์ในระหว่างสกุล Australopithecus และสปีชีส์ H. habilis See also.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและHomo habilis · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและ10 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถาบันสมิธโซเนียนและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Smithsonian Institutionสมิธซันเนียนสมิธโซเนียนสมิทซันเนียนสมิทโซเนียนสถาบันสมิธซันเนียนพิพิธภัณฑ์สมิธซันเนียนพิพิธภัณฑ์สมิธโซเนียนพิพิธภัณฑ์สมิทโซเนียน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »