เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

ดัชนี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

ันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เป็นสถาบันวิจัยของรัฐที่มุ่งเน้นผลิตเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ ก่อตั้งเมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 22 ความสัมพันธ์: กบอกหนามกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)การวัดกิตติ ทองลงยามหาวิทยาลัยไอโอวาสเตตรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยววศักรินทร์ ภูมิรัตนศิริจันทร์ ทองประเสริฐศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หนูขนเสี้ยนเขาหินปูนห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)จังหวัดปทุมธานีจารุจินต์ นภีตะภัฏจี สตีลคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ค้างคาวคุณกิตติประเทศไทยนกกระเต็นเฮอร์คิวลิสนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

กบอกหนาม

กบอกหนาม (อังกฤษ: Spiny-breasted Giant Frog, ชื่อวิทยาศาสตร์: Paa fasciculispina) เป็นกบชนิดหนึ่งในวงศ์กบนา (Ranidae) พบในประเทศกัมพูชาและประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามบัญชีรายชื่อสัตว์ป่าคุ้มครอง..

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและกบอกหนาม

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม และพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

การวัด

หน่วยวัดบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับร่างกายมนุษย์ ในทางวิทยาศาสตร์ การวัด คือกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งขนาดของปริมาณอันหนึ่ง เช่นความยาวหรือมวล และเกี่ยวข้องกับ หมวดหมู่:มาตรวิทยา โครงวิทย์.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและการวัด

กิตติ ทองลงยา

กิตติ ทองลงยา (Kitti Thonglongya) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2471-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517) เป็นนักสัตววิทยาชาวไทย เชี่ยวชาญด้านนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่มีชื่อเสียงจากการค้นพบสัตว์ใกล้สูญพันธุ์สองชน.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและกิตติ ทองลงยา

มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต

หอพักโรเบิร์ต บริเวณริชาร์ดสันคอร์ต ในมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาไอโอวาสเตต (Iowa State University ชื่อย่อ ISU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐของสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต

รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง (ไม่รวมบริษัทลูก / บริษัทในเครือ).

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

วว

วว อาจเป็นอักษรย่อของ.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและวว

ศักรินทร์ ภูมิรัตน

รองศาสตราจารย์ ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านไบโอแก๊ส, Transport Properties of Food Materials และ Algal Technology Research ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นบุตรของศาสตราจารย์ อมร ภูมิรัตน และคุณหญิง ระเบียบ ภูมิรัตน.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและศักรินทร์ ภูมิรัตน

ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ

ตราจารย์กิตติคุณ ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ หรือ ดร.ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ถึงแก่อนิจกรรม 27 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและศิริจันทร์ ทองประเสริฐ

ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ

ูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 โดยความช่วยเหลือเบื้องต้นจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในเรื่องบุคลากร และอาคาร สถานที่ ความช่วยเหลือจากรัฐบาลประเทศอังกฤษทางด้านครุภัณฑ์ และการบริหารงานดำเนินการโดยคณะอนุกรรมการดำเนินงานศูนย์ฯ ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปัจจุบันการดำเนินงานได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลไทยผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ รวมทั้งทางด้านเจ้าหน้าที่ นักวิชาการเจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานห้องปฏิบัติการ ผู้ช่วยนักวิจัย และคนงาน ศูนย์ฯดำเนินงานในลักษณะเป็นโครงการเครือข่ายและความร่วมมือ (Collaborative Network) ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจรวมทั้งหมด 18 หน่วยงาน ภายใต้การประสานงานโดยกองโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และบริหารงานโดยคณะอนุกรรมการบริหารศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ซึ่งขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ การดำเนินงานส่วนกลางอยู่ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร และมีศูนย์ฯ ส่วนภูมิภาคต่างๆ คือ ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคกลาง ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคเหนือตอนล่าง ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้ ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รวมเป็นศูนย์ฯ ส่วนกลาง และศูนย์ฯ ส่วนภูมิภาค ทั้งหมด 7 แห่ง หน่วยราชการอื่นๆ ที่ร่วมปฏิบัติงานในเครือข่ายโครงการดำเนินงานและโครงการวิจัยของศูนย์ฯ ในส่วนของทบวงมหาวิทยาลัย และหน่วยงานร่วมจำนวน 13 หน่วยงานคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กรมป่าไม้ กรมชลประทาน กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การดำเนินงานของศูนย์ฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจำปีจากสำนักงบประมาณผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เพื่อการดำเนินงานของศูนย์ฯ ทั้งทางด้านการบริหาร การบริการ การฝึกอบรมและเผยแพร่ และการดำเนินงานต่างๆ รวมถึง งบอุดหนุนการวิจัยในการดำเนินงานโครงการวิจัยต่างๆ เป้าหมายและกิจกรรมหลักของศูนย์ฯ คือ.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์Nishino, Fumio and Taweep Chaisomphob, 1997,, Inauguration of the Institute's New Name 'Sirindhorn International Institute of Technology', Commemorative publication, pp.18-24.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน

หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Niviventer hinpoon; อังกฤษ: Limestone rat) เป็นสปีชีส์ของสัตว์ฟันแทะในวงศ์ Muridae อาศัยในถ้ำหินปูน พบในประเทศไทยเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ในจังหวัดอุทัยธานี, สระบุรี และลพบุรี สถานภาพปัจจุบันตามบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติว่าเป็นสัตว์ใกล้ถูกคุกคาม ในประเทศไทยจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป..

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและหนูขนเสี้ยนเขาหินปูน

ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)

ริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด เป็นหน่วยงานตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน..

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและจังหวัดปทุมธานี

จารุจินต์ นภีตะภัฏ

ร.จารุจินต์ นภีตะภัฏ (22 มกราคม พ.ศ. 2493 - 12 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ หรือ อพว.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและจารุจินต์ นภีตะภัฏ

จี สตีล

ริษัท จี สตีล จำกัด (มหาชน) (G STEEL PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:GSTEL) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2538 โดย ดร.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและจี สตีล

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับการสถาปนาเป็นคณะที่ 7 ของมหาวิทยาลัย โดยเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี้ ยังเปิดสอนหลักสูตรเตรียมแพทย์ ให้กับวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า อีกด้ว.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ค้างคาวคุณกิตติ

้างคาวคุณกิตติ, ค้างคาวกิตติ หรือ ค้างคาวหน้าหมู (อังกฤษ: Kitti's hog-nosed bat, Bumblebee bat) เป็นค้างคาวที่จัดอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และเป็นค้างคาวเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์ Craseonycteridae และสกุล Craseonycteris พบได้ทางตะวันตกของประเทศไทย และทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม่า อาศัยอยู่ตามถ้ำหินปูนริมแม่น้ำ ค้างคาวคุณกิตติเป็นค้างคาวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก มีสีน้ำตาลปนแดงเรื่อๆ หรือสีเทา มีจมูกคล้ายจมูกหมู มีอุปนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เฉลี่ยแล้วกลุ่มละ 100 ตัวต่อถ้ำ ออกหากินเป็นช่วงสั้นๆในตอนเย็นและเช้ามืด หากินไม่ไกลจากถ้ำที่พักอาศัย กินแมลงเป็นอาหาร ตกลูกปีละหนึ่งตัว สภาวะของค้างคาวคุณกิตติในประเทศพม่าไม่เป็นที่แน่ชัด และประชากรที่พบในประเทศไทยก็พบว่าจำกัดอยู่ในเพียงจังหวัดเดียว ทำให้ค้างคาวคุณกิตติอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ สาเหตุหลักเกิดจากการคุกคามจากมนุษย์ และการลดลงของถิ่นที่อยู่อาศั.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและค้างคาวคุณกิตติ

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและประเทศไทย

นกกระเต็นเฮอร์คิวลิส

นกกระเต็นเฮอร์คิวลิส (Blyth's kingfisher) เป็นนกกระเต็นชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกกระเต็นน้อย (Alcedinidae) นับเป็นนกระเต็นที่มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางในประเทศแถบเอเชีย เช่น อินเดีย, เนปาล, ภูฏาน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, เวียดนาม, ลาว และจีน สำหรับในประเทศไทย ถือเป็นนกอพยกที่หายากมาก ในประเทศไทยมีรายงานพบที่ด้านตะวันตกของภาคเหนือ แต่ก็มีรายงานพบที่แม่น้ำโขง ที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และที่อุทยานแห่งชาติดอยผาห่มปก จังหวัดเชียงใหม่ แม้ว่านกกระเต็นเฮอร์คิวลิสจะเป็นนกที่ถิ่นกระจายพันธุ์ที่กว้าง แต่ถิ่นที่อาศัยกลับถูกจำกัดแคบ ๆ ตามแนวลำน้ำเท่านั้นซึ่งมักถูกบุกรุกและยึดครอง ประกอบกับมีจำนวนประชากรที่น้อย จึงเป็นนกที่หาตัวพบเห็นได้ยากมาก ในประเทศไทยมีตัวอย่างอ้างอิงของนกกระเต็นเฮอร์คิวลิสเพียงตัวอย่างเดียวเท่านั้น เป็นตัวอย่างนกตัวเมีย เก็บโดย นายกิตติ ทองลงยา จากบริเวณป่าริมน้ำ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน..

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและนกกระเต็นเฮอร์คิวลิส

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือ นกนางแอ่นตาพอง (White-eyed River-Martin, ชื่อวิทยาศาสตร์: Pseudochelidon sirintarae หรือ Eurochelidon sirintarae) เป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของสกุลนกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น พบบริเวณบึงบอระเพ็ดในช่วงฤดูหนาวเพียงแห่งเดียวในโลก แต่อาจสูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ปี..

ดู สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยและนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

หรือที่รู้จักกันในชื่อ TISTRวว.