โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถานีอวกาศสกายแล็บ

ดัชนี สถานีอวกาศสกายแล็บ

กายแล็บ (Skylab) เป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา และเป็นสถานีอวกาศแห่งที่สองของโลกที่มีลูกเรืออยู่ปฏิบัติงาน ถัดจากสถานีอวกาศซัลยุตของสหภาพโซเวียต สกายแล็บโคจรอยู่ในวงโคจรของโลกตั้งแต่ ค.ศ. 1973-1979 มีนักบินอวกาศไปประจำการทั้งสิ้น 3 ครั้งระหว่าง..

9 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2516สกายแล็บ 3สถานีอวกาศสถานีอวกาศนานาชาติโครงการอวกาศโซเวียตเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ14 พฤษภาคม16 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

สกายแล็บ 3

กายแล็บ 3 (SL-3 และ SLM-2) เป็นภารกิจที่มีมนุษย์ควบคุมชาวอเมริกันคนแรกที่สองไปยังสถานีอวกาศสกายแล็บ ภารกิจเริ่มต้นในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ด้วยการเปิดตัวของ 3 นักบินอวกาศในSaturn IB และใช้เวลานานถึง 59 วัน 11 ชั่วโมง และ 9 นาที รวมทั้งหมด 1,084.7 ชั่วโมงของนักบินอวกาศที่ใช้ประโยชน์ได้รับการคาดการณ์โดยสกายแล็ป 3 ลูกเรือทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ในพื้นที่ของกิจกรรมทางการแพท.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและสกายแล็บ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศ

ำลองของสถานีอวกาศนานาชาติสมบูรณ์แบบ ในปี พ.ศ. 2549 สถานีอวกาศ (Space station เป็นสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยมนุษย์ เพื่อใช้เป็นที่อยู่การดำรงชีพในอวกาศ โดยอยู่ในวงโคจรต่ำ (LEO) สถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station) หรือ ISS เป็นห้องปฏิบัติการลอยฟ้าซึ่งโคจรรอบโลกที่ระยะสูง 410 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 27,744 กิโลเมตร/ชั่วโมง โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 92 นาที สร้้างขึ้นด้วยความร่วมมือจาก 16 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยียม เนเธอร์แลน์ สเปน อังกฤษ สวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และบราซิล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำการค้นคว้าและทดลองทางวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา วัสดุศาสตร์ ชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ เนื่องจากสถานีอวกาศอยู่ในสภาพไร้แรงโน้มถ่วง นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถทำการทดลองหรือประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถกระทำบนพื้นผิวโลกได้  ดังนั้นสถานีอวกาศนานาชาติจึงมีความสำคัญต่ออนาคตของมนุษยชาติเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและสถานีอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการอวกาศโซเวียต

รวดอาร์-7 โครงการอวกาศโซเวียต ประกอบด้วยการพัฒนา จรวด และ การสำรวจอวกาศเป็นโครงการที่จัดทำโดยอดีต สหภาพโซเวียตจากช่วงทศวรรษที่ 1930 จนถึงการ สลายตัว ในปี..

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและโครงการอวกาศโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์

ูเอสเอส เอสเซ็กซ์ (CV-9) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ (Essex class aircraft carrier) เป็นชั้นของเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ตั้งชื่อตามเรือธง คือ ยูเอสเอส เอสเซ็กซ์ (CV-9) เข้าประจำการตั้งแต่ช่วง ค.ศ. 1942 ถึง ค.ศ. 1992 มีแผนการสร้างทั้งสิ้น 32 ลำ วางกระดูกงูเรือ 26 ลำ สร้างเสร็จและเข้าประจำการ 24 ลำ ยกเลิกการสร้าง 8 ลำ เป็นฝูงเรือบรรทุกเครื่องบินที่เป็นกำลังหลักของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และได้มีส่วนร่วมในโครงการสำรวจอวกาศของสหรัฐ ในช่วงทศวรรษ 1960 ถึง 1970 ทั้งโครงการเมอร์คิวรี โครงการเจมินี โครงการอะพอลโล และสถานีอวกาศสกายแล็บ เรือบรรทุกเครื่องบินในชั้นนี้ พัฒนามาจากเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ โดยออกแบบให้ดาดฟ้าเรือกว้าง และยาวขึ้น พร้อมกับติดตั้งลิฟต์ มีทั้งแบบลำเรือสั้น และลำเรือยาว และลานบินแบบขนานกับลำเรือ และแบบทำมุมทแยง เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ ลำแรกที่มีดาดฟ้าเรือยาว คือ ยูเอสเอส ทิคอนเดอโรกา (CV-14) บางครั้งเรียกว่า เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นทิคอนเดอโรกา (Ticonderoga class aircraft carrier) ในชั้นนี้มีด้วยกัน 13 ลำ St.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวก.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤศจิกายน

วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีอวกาศสกายแล็บและ16 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สกายแล็บ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »