เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สถานีอวกาศนานาชาติ

ดัชนี สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

สารบัญ

  1. 78 ความสัมพันธ์: ฟัลคอน 9พ.ศ. 2541พ.ศ. 2543พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตันพอร์ตซาอิดพายุหมุนเขตร้อนกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีกระสวยอวกาศแอตแลนติสกระสวยอวกาศโคลัมเบียกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์กราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วงกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลการปะทุแบบพลิเนียนการแต่งงานโดยฉันทะการโฆษณาการเปลี่ยนขนาดของเวลาภูเขาแปดพันเมตรมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธมนุษย์รายชื่อคณะลูกเรือถาวรของสถานีอวกาศนานาชาติรายการภารกิจของกระสวยอวกาศรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยวิกฤติวันสิ้นโลกวิทยุสมัครเล่นศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลศูนย์อวกาศสึกุบะสุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560สถานีอวกาศสถานีอวกาศฟรีดอมสถานีอวกาศเมียร์-2สเปซออดิทีสเปซเอ็กซ์ออร์บิทัล เอทีเคอันดับของขนาด (ความเร็ว)อี โซ-ย็อนฌูล แวร์นจอร์จ ดับเบิลยู. บุชทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ดรากอน (ยานอวกาศ)ดาวอังคารคริส แฮดฟีลด์คริสต์ศตวรรษที่ 21ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้คืนยูริซาร์ยาซุคฮอย ซู-30ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)ประเทศญี่ปุ่น... ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »

ฟัลคอน 9

ฟัลคอน 9(อังกฤษ: Falcon 9) เป็นชื่อตระกูลพาหนะขนส่งทางอวกาศที่ออกแบบและสร้างโดยสเปซเอ็กซ์ ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ในเมืองฮาวทอร์น, แคลิฟอร์เนีย ตระกูลจรวดนี้ประกอบด้วยฟัลคอน 9 v1.0 และฟัลคอน 9 v1.1 และฟัลคอน 9-อาร์ ทั้งสองส่วนของจรวด ขับดันโดยเครื่องยนต์จรวดที่ใช้ออกซิเจนเหลว และน้ำมันก๊าดแบบ RP-1 เป็นเชื้อเพลิง ฟัลคอน 9 รุ่นปัจจุบัน มีระวางบรรทุก 13,150 กิโลกรัมขึ้นสู่วงโคจรต่ำของโลก และ 4,850 กิโลกรัมขึ้นสู่วงโคจรค้างฟ้า จรวดทั้ง 3 แบบ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับกลางของระบบขนส่งอวกาศ จรวดฟัลคอน 9 และยานดรากอนชนะข้อเสนอภารกิจขนส่งสัมภาระขึ้น/ลงจากสถานีอวกาศนานาชาติ ในชื่อภารกิจ Commercial Resupply Services (CRS) ภายใต้โครงการ Commercial Orbital Transportation Services (COTS) ของนาซา และได้เริ่มเที่ยวบินแรกของภารกิจดังกล่าวเมื่อเดือนตุลาคม..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและฟัลคอน 9

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพ.ศ. 2541

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพ.ศ. 2543

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพ.ศ. 2550

พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน

ระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์กับแคเธอริน มิดเดิลตัน มีขึ้น ณ วันศุกร์ที่ 29 เมษายน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน

พอร์ตซาอิด

อร์ตซาอิด (Port Said) หรือ บูรซะอีด (بورسعيد) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางเหนือ-ตะวันออกของประเทศอียิปต์ เป็นเมืองท่าชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ที่ปลายเหนือสุดของคลองสุเอซ มีประชากรราว 603,787 คน (ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพอร์ตซาอิด

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและพายุหมุนเขตร้อน

กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี

STS-92, พ.ศ. 2543 (ภาพจากองค์การนาซา) กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี

กระสวยอวกาศแอตแลนติส

STS-129 กระสวยอวกาศ แอตแลนติส (Orbiter Vehicle Designation OV-104) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและกระสวยอวกาศแอตแลนติส

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและกระสวยอวกาศโคลัมเบีย

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ''ดิสคัฟเวอรี'' และ ''แอตแลนติส'') เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วง

กราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วง (Gravity) เป็นภาพยนตร์แนวไซไฟ ร่วมเขียน, ร่วมผลิต, ร่วมตัดต่อ และกำกับโดยอัลฟอนโซ กวารอน นำแสดงโดยซานดรา บุลล็อก และจอร์จ คลูนีย์ โดยรับบทเป็นนักบินอวกาศที่ยังมีชีวิตรอดในสถานีอวกาศที่ได้รับความเสียหาย โดยออกฉายในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและกราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วง

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

การปะทุแบบพลิเนียน

แผนภาพการปะทุแบบพลิเนียน(1) เถ้าปะทุ(2) ปล่องหินหนืด(3) เถ้าตก(4) ชั้นทับถมของหินหลอมและเถ้า(5) ชั้นหิน(6) โพรงหินหนืด การปะทุแบบพลิเนียน (Plinian eruption) คือ รูปแบบการปะทุของภูเขาไฟที่มีต้นแบบจากการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสเมื่อปี ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและการปะทุแบบพลิเนียน

การแต่งงานโดยฉันทะ

้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศสทรงเสกสมรสโดยฉันทะเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1625 และด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ในปีเดียวกัน (ภาพเขียนของทั้งสองพระองค์โดยแอนโทนี แวน ไดค์ (เมษายน ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและการแต่งงานโดยฉันทะ

การโฆษณา

การโฆษณา (advertising) เป็นการประกาศสินค้าหรือบริการให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบ เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเพื่อบอกกล่าวให้ผู้บริโภครู้สึกถึงคุณค่าและความแตกต่าง รู้จักและก่อให้เกิดพฤติกรรมการซื้อสินค้าหรือใช้บริการนั้น ในอดีตการเริ่มต้นของการโฆษณาจะเป็นลักษณะของการร้องป่าวประกาศเชิญชวน ปัจจุบันทำโดยเผยแพร่งานโฆษณา ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ เป็นต้น โดยเจ้าของกิจการจะว่าจ้างบริษัทรับทำโฆษณา เพื่อทำการโฆษณาสินค้าและบริการในสื่อต่าง ๆ เช่น ป้ายโฆษณากลางแจ้งตามถนนสายหลัก ซึ่งเป็นสื่อที่ช่วยประหยัดงบประมาณได้และสามารถตอกย้ำตราสินค้าได้อีกทางใดทางหนึ่ง.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและการโฆษณา

การเปลี่ยนขนาดของเวลา

doi.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและการเปลี่ยนขนาดของเวลา

ภูเขาแปดพันเมตร

อดเขาต่างๆ ของเทือกเขาหิมาลัยมองจากสถานีอวกาศนานาชาติ ยอดเขาแปดพันเมตร (Eight-thousander) คือยอดเขาสิบสี่ยอดIn making any "highest mountains" list, one needs to use a criterion to exclude subpeaks and only list independent mountains.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและภูเขาแปดพันเมตร

มาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ

Mark Shuttleworth ขณะอยู่ในสถานีอวกาศนานาชาติ มาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ (Mark Shuttleworth) (เกิด 18 กันยายน ค.ศ. 1973) เป็นนักธุรกิจชาวแอฟริกาใต้ และเป็นชาวแอฟริกันคนแรกที่ได้ขึ้นไปอวกาศ ชัทเทิลเวิร์ธเกิดและเติบโตในประเทศแอฟริกาใต้ ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและมนุษย์

รายชื่อคณะลูกเรือถาวรของสถานีอวกาศนานาชาติ

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคณะลูกเรือถาวรของสถานีอวกาศนานาชาติ โดยที่คณะลูกเรือถาวรแต่ละชุดจะเรียกชื่อว่า "เอ็กซ์เพดิชั่น n" โดยที่ n เป็นเลขเรียงตามลำดับเพิ่มขึ้นในแต่ละคณะที่เสร็จสิ้นภารกิจ ทั้งนี้ไม่นับนักท่องเที่ยวอวกาศหรือผู้ไปเยือนในภารกิจจัดส่งเสบียง ชื่อของผู้บัญชาการในแต่ละเอ็กซ์เพดิชั่นจะเขียนไว้เป็น ชื่อตัวเอียง คำว่า "ระยะเวลา" หมายถึงเวลาของลูกเรือ โดยไม่เกี่ยวข้องกับ "เที่ยวบินขึ้น" หรือ "เที่ยวบินลง".

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและรายชื่อคณะลูกเรือถาวรของสถานีอวกาศนานาชาติ

รายการภารกิจของกระสวยอวกาศ

รายการนี้เป็นข้อมูลของภารกิจการใช้งานของกระสวยอวกาศที่ถูกสร้างขึ้นมาจนมาถึงปี 2008.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและรายการภารกิจของกระสวยอวกาศ

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

วิกฤติวันสิ้นโลก

วิกฤติวันสิ้นโลก (The Day After Tomorrow) เป็นภาพยนตร์อเมริกันที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับหายนะทางธรรมชาติ โดยเนื้อหามีทั้งสิ่งที่เป็นไปได้ตามหลักวิทยาศาสตร์และสิ่งที่แต่งเติมขึ้น โดยเริ่มออกฉายครั้งแรกในเม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและวิกฤติวันสิ้นโลก

วิทยุสมัครเล่น

วิทยุสมัครเล่น (Amateur radio หรือ Ham radio) คือ งานอดิเรกอย่างหนึ่งของผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารด้วยการส่งคลื่นวิทยุ มีกิจกรรมประกอบด้วย การศึกษาเชิงเทคนิคเกี่ยวกับวิทยุและการติดต่อสื่อสาร และการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมเพื่อการศึกษา การทดลอง การให้ความช่วยเหลือระหว่างกัน การพักผ่อนหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นด้วยกัน นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า hamhttp://life.itu.int/radioclub/ars.htm.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและวิทยุสมัครเล่น

ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล (George C. Marshall Space Flight Center; MSFC) เป็นที่ตั้งดั้งเดิมขององค์การนาซา ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางในการออกแบบและก่อสร้างส่วนประกอบต่างๆ ของยานอวกาศ ได้แก่ส่วนขับดันกระสวยอวกาศ ถังเชื้อเพลิงภายนอก การฝึกอบรมนักบินอวกาศ ทั้งทางด้านงานเครือข่ายและการจัดการข้อมูล รวมถึงเป็นศูนย์กลางออกแบบสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station; ISS) ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลตั้งอยู่ที่เรดสโตนอาร์เซนอล ที่เมืองฮันท์สวิลล์ รัฐแอละแบมา สหรัฐอเมริกา ชื่อของศูนย์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่นายพลจอร์จ มาร์แชล ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลยังเป็นที่ตั้งของศูนย์สนับสนุนการปฏิบัติการฮันท์สวิลล์ (Huntsville Operations Support Center; HOSC) ซึ่งทำหน้าที่งานสนับสนุนต่างๆ ของภารกิจการปล่อยกระสวยอวกาศ การบรรทุก และการทดลองต่างๆ ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี้ที่ฟลอริดา รวมถึงภารกิจการนำส่งยานและการทดลองต่างๆ บนสถานีอวกาศนานาชาติ นอกจากนี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทราก็อยู่ในความดูแลของศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลนี้ด้ว.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล

ศูนย์อวกาศสึกุบะ

ูนย์อวกาศสึกุบะ (ย่อ: TKSC) เป็นศูนย์ปฏิบัติการขององค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในนครวิทยาศาสตร์สึกุบะ ในจังหวัดอิบะระกิ ศูนย์ดังกล่าวเปิดใน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและศูนย์อวกาศสึกุบะ

สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ริยุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นในวันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและสุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

สถานีอวกาศ

ำลองของสถานีอวกาศนานาชาติสมบูรณ์แบบ ในปี พ.ศ. 2549 สถานีอวกาศ (Space station เป็นสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยมนุษย์ เพื่อใช้เป็นที่อยู่การดำรงชีพในอวกาศ โดยอยู่ในวงโคจรต่ำ (LEO) สถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station) หรือ ISS เป็นห้องปฏิบัติการลอยฟ้าซึ่งโคจรรอบโลกที่ระยะสูง 410 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 27,744 กิโลเมตร/ชั่วโมง โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 92 นาที สร้้างขึ้นด้วยความร่วมมือจาก 16 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยียม เนเธอร์แลน์ สเปน อังกฤษ สวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และบราซิล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำการค้นคว้าและทดลองทางวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา วัสดุศาสตร์ ชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ เนื่องจากสถานีอวกาศอยู่ในสภาพไร้แรงโน้มถ่วง นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถทำการทดลองหรือประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถกระทำบนพื้นผิวโลกได้  ดังนั้นสถานีอวกาศนานาชาติจึงมีความสำคัญต่ออนาคตของมนุษยชาติเป็นอย่างมาก.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและสถานีอวกาศ

สถานีอวกาศฟรีดอม

นีอวกาศฟรีดอม (Space Station Freedom) เป็นชื่อโครงการหนึ่งขององค์การนาซาในการก่อสร้างสถานีอวกาศแบบมีคนอยู่อาศัยได้ที่โคจรรอบโลกอย่างถาวร แม้จะได้รับการอนุมัติจากประธานาธิบดีในขณะนั้น คือ โรนัลด์ เรแกน และมีการประกาศเป็น State of the Union Address ในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและสถานีอวกาศฟรีดอม

สถานีอวกาศเมียร์-2

นีโมดูลหลัก "เมียร์-2" กับยานขนส่งเสบียงพรอเกรสระหว่างภารกิจ "Progress М1-3" สถานีอวกาศเมียร์-2 (Mir-2) เป็นโครงการสถานีอวกาศของสหภาพโซเวียต เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพัน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและสถานีอวกาศเมียร์-2

สเปซออดิที

ปซ ออดิที (Space Oddity) เป็นเพลงร็อกที่แต่งโดยเดวิด โบอี วางจำหน่ายเป็นซิงเกิลในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและสเปซออดิที

สเปซเอ็กซ์

ริษัทสเปซเอ็กซ์ (Space Exploration Technologies Corporation – SpaceX) เป็นบริษัทเอกชนทางด้านธุรกิจการขนส่งทางอวกาศ ประเทศสหรัฐอเมริกา สำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองฮาวโทรน, รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและสเปซเอ็กซ์

ออร์บิทัล เอทีเค

Orbital ATK Inc. เป็นบริษัทผู้ผลิตด้านการบินและอวกาศและการป้องกันประเทศสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ในเขตดัลเลส รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและออร์บิทัล เอทีเค

อันดับของขนาด (ความเร็ว)

หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ หมวดหมู่:อันดับของขน.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและอันดับของขนาด (ความเร็ว)

อี โซ-ย็อน

อี โซ ย็อน นักบินอวกาศหญิงคนแรกของเกาหลีใต้ อี โซ-ย็อน (2 กรกฎาคม 2521 —) เป็นนักบินอวกาศหญิงคนแรกของประเทศเกาหลีใต้ อี โซ-ย็อน นักศึกษาปริญญาผ่านการคัดเลือกจากผู้ที่สมัครทั้งหมดราว 36,000 คน โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์เกาหลีใต้ ถูกส่งไปฝึกที่ศูนย์ฝึกการบินอวกาศกาการิน ประเทศรัสเซีย ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและอี โซ-ย็อน

ฌูล แวร์น

ูล กาเบรียล แวร์น (Jules Gabriel Verne) (8 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2371 - 24 มีนาคม, พ.ศ. 2448) หรือที่รู้จักกันว่า จูลส์ เวิร์น เกิดที่เมืองน็องต์ (Nantes) ประเทศฝรั่งเศส เป็นนักเขียนชาวฝรั่งเศส ผู้บุกเบิกการเขียนนิยายวิทยาศาสตร์สมัยแรก ๆ แวร์นมีชื่อเสียงจากการเขียนเรื่องเกี่ยวกับการผจญภัยในอวกาศ ใต้น้ำ และการเดินทางต่าง ๆ ก่อนจะมีการประดิษฐ์เรือดำน้ำหรืออากาศยานจริง ๆ เป็นเวลานาน นวนิยายของเขามักใส่เนื้อหาวิทยาศาสตร์ที่สมจริง ซึ่งยังไม่คุ้นเคยกันในสมัยนั้นแต่ได้รับการยกย่องเป็นอย่างดีในเวลาต่อมา อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเขาจะบุกเบิกงานด้านนิยายวิทยาศาสตร์ แต่มีสัดส่วนที่น้อยกว่าเนื้อหาแนวอื่น ๆ ที่เขาเขียน บทประพันธ์ที่สำคัญได้แก่ Around the World in Eighty Days, Five Weeks In a Balloon, 20,000 Leagues Under the Sea นิยายวิทยาศาสตร์ในยุคท้าย ๆ ของแวร์นจะเริ่มสะท้อนถึงการมองเห็นด้านมืดของเทคโนโลยีรวมถึงการนำเทคโนโลยีไปใช้อย่างผิดทาง เช่น The Clipper of the Clouds, The Master of the World แวร์นเสียชีวิตในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและฌูล แวร์น

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช

ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

นักบินอวกาศ บัสซ์ อัลดรินและนีล อาร์มสตรอง ในแบบจำลองการฝึกดวงจันทร์และส่วนลงจอดของนาซา นักทฤษฎีสมคบคิดกล่าวว่า การถ่ายภาพภารกิจกระทำโดยใช้ชุดที่คล้ายกับแบบจำลองฝึกนี้ ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ (Moon landing conspiracy theories) อ้างว่า โครงการอะพอลโลและการลงจอดบนดวงจันทร์ที่สืบเนื่องบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นการหลอกลวงที่นาซาและสมาชิกองค์การอื่นจัดฉากขึ้น มีหลายปัจเจกบุคคลและกลุ่มได้อ้างการสมคบคิดดังกล่าวมาตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1970 การอ้างที่โดดเด่นที่สุด คือ การลงจอดที่มีมนุษย์โดยสารไปด้วยทั้งหกครั้ง (ระหว่าง ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

ดรากอน (ยานอวกาศ)

รากอน (Dragon) เป็นยานอวกาศที่สามารถนำบางส่วนมาใช้ใหม่ได้ พัฒนาโดย สเปชเอ็กซ์ บริษัทขนส่งอวกาศเอกชนสัญชาติอเมริกัน ตั้งอยู่ในฮาวธอร์น, รัฐแคลิฟอร์เนีย ดราก้อนถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยจรวดขนส่งแบบ Falcon 9 ซึ่งเป็นจรวดสองส่วน สเปซเอ็กซ์ยังพัฒนาดรากอนอีกหนึ่งรุ่นที่สามารถขนส่งมนุษย์ได้ ชื่อว่า ดราก้อนไรเดอร์ (Dragon V2) ยานดรากอน เริ่มเที่ยวบินแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและดรากอน (ยานอวกาศ)

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและดาวอังคาร

คริส แฮดฟีลด์

คริส ออสติน แฮดฟีลด์ (เกิด 29 สิงหาคม 2502) เป็นนักบินอวกาศแคนาดาเกษียณ และเป็นชาวแคนาดาคนแรกที่เดินในอวกาศ อดีตเป็นนักบินเครื่องบินขับไล่ของกองทัพอากาศแคนาดา แฮดฟีลด์ได้บินในภารกิจกระสวยอวกาศสองภารกิจ และเป็นผู้บัญชาการสถานีอวกาศนานาชาติ แฮดฟีลด์เติบโตในไร่ทางใต้ของออนแทริโอ ตอนเด็กได้รับแรงบันดาลใจเมื่อชมการลงจอดดวงจันทร์ของอะพอลโลทางโทรทัศน์ เขาเข้าศึกษาในระดับมัธยมในโอกวิลล์และมิลตัน และได้รับใบอนุญาตนักบินเครื่องร่อนในฐานะสมาชิกนักเรียนนายทหารอากาศแคนาดา เขาสมัครเข้ากองทัพแคนาดา และได้รับปริญญาสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่วิทยาลัยทหารหลวง (Royal Military College) ในกองทัพ เขาเรียนขับอากาศยานหลายประเภท จนกลายเป็นนักบินทดสอบและบินเครื่องบินทดสอบหลายรุ่น ในโครงการแลกเปลี่ยนกับกองทัพเรือและกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา เขาได้ปริญญาโท สาขาระบบการบิน ที่มหาวิทยาลัยสถาบันอวกาศเทนเนสซี ในปี 2535 เขาได้รับการตอบรับเข้าโครงการนักบินอวกาศแคนาดา โดยองค์การอวกาศแคนาดา เขาบินในอวกาศครั้งแรกกับ STS-74 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2538 ในฐานะผู้ชำนัญพิเศษของภารกิจ ระหว่างภารกิจเขาเยี่ยมชมสถานีอวกาศมีร์ของรัสเซีย ในเดือนเมษายน 2544 เขาขึ้นสู่อวกาศอีกครั้งกับ STS-100 และเยี่ยมชมสถานีอวกาศนานาชาติ ที่ซึ่งเขาเดินในอวกาศและช่วยติดตั้งแคนาดาร์ม2 ในเดือนธันวาคม 2555 เขาขึ้นสู่อวกาศเป็นครั้งที่สามบน โซยุซ TMA-07M และเข้าร่วมคณะสำรวจ 34 (Expedition 34) บนสถานีอวกาศนานาชาติ เขาเป็นสมาชิกของคณะนี้กระทั่งเดือนมีนาคม 2556 เมื่อเขาเป็นผู้บัญชาการสถานีอวกาศนานาชาติในฐานะคณะสำรวจ 35 เขารับผิดชอบลูกเรือนักบินอวกาศห้าคนและช่วยทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับผลกระทบของแรงโน้มถ่วงต่ำต่อชีววิทยาของมนุษย์ ระหว่างภารกิจ เขาได้รับความนิยมโดยบันทึกเหตุการณ์ชีวิตในสถานีอวกาศและถ่ายภาพโลกและโพสต์ผ่านทวิตเตอร์และเฟซบุ๊กแก่ผู้ติดตามจำนวนมากทั่วโลก เขาเป็นแขกรับเชิญในรายการข่าวโทรทัศน์และทอล์กโชว์ และได้รับความนิยมจากการเล่นกีตาร์ในอวกาศ ภารกิจของเขาสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2556 เมื่อเขากลับมายังโลก ไม่นานหลังเดินทางกลับ เขาประกาศเกษียณ ยุติอาชีพนักบินทหารและนักบินอวกาศ 35 ปี หมวดหมู่:นักบินอวกาศชาวแคนาดา หมวดหมู่:ลูกเรือสถานีอวกาศนานาชาติ หมวดหมู่:นักประดาน้ำ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและคริส แฮดฟีลด์

คริสต์ศตวรรษที่ 21

ริสต์ศตวรรษที่ 21 คือคริสต์ศตวรรษแรกของคริสต์สหัสวรรษที่ 3 และเป็นคริสต์ศตวรรษปัจจุบัน เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและคริสต์ศตวรรษที่ 21

ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้

แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลน กับตำแหน่งที่บรรจบกับมหาสมุทรแอตแลนติก ย่านความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ มีขนาดประมาณ 560 กม.http://heasarc.gsfc.nasa.gov/docs/rosat/gallery/misc_saad.html "ROSAT SAA" เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-16.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้

คืนยูริ

ลโก้ คืนยูริ (Yuri's Night) เป็นการเฉลิมฉลองระหว่างประเทศ ตรงกับวันที่ 12 เมษายนของทุกปี จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในการสำรวจอวกาศ คือ การส่งยูริ กาการิน เป็นมนุษย์อวกาศคนแรก ขึ้นสู่อวกาศไปกับยานวอสตอค 1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและคืนยูริ

ซาร์ยา

องซาร์ยาในอวกาศ ซาร์ยา (Zarya ในภาษารัสเซียแปลว่า รุ่งอรุณ) เป็นส่วนประกอบแรกของสถานีอวกาศนานาชาติ (อังกฤษ: International Space Station; ISS).

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและซาร์ยา

ซุคฮอย ซู-30

ซุคฮอย ซู-30 (Sukhoi Su-30, Flanker-C) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-ซี) เป็นเครื่องบินทางทหารสองเครื่องยนต์ที่สร้างโดยบริษัทการบินซุคฮอยของรัสเซียและเริ่มนำเข้ามาใช้ปฏิบัติการในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและซุคฮอย ซู-30

ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

ซเวซดา (Zvezda; Звезда หมายถึง "ดวงดาว") หรือที่รู้จักในชื่อ โมดูลบริการซเวซดา เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นโมดูลที่ 3 ที่นำส่งขึ้นไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นส่วนจัดการเรื่องระบบสนับสนุนการดำรงชีพส่วนใหญ่ของสถานี รวมไปถึงเป็นส่วนที่อยู่อาศัยของลูกเรือ 2 คน โมดูบซเวซดาเป็นศูนย์กลางโครงสร้างหลักและฟังก์ชันการทำงานของส่วนประกอบของรัสเซียบนสถานีอวกาศนานาชาติ คือ เซ็กเมนต์วงโคจรของรัสเซีย (Russian Orbital Segment) โมดูลนี้ก่อสร้างโดย S.P.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและประเทศญี่ปุ่น

นูเมอา

นูเมอา (Nouméa) เป็นเมืองหลวงของนิวแคลิโดเนีย ซึ่งเป็นดินแดนในเขตโอเชียเนียของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 45.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 97,579 คนจากข้อมูลสำมะโนประชากรปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและนูเมอา

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

โมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่น

มดูล JEM ขององค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น บนสถานีอวกาศนานาชาติ โมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่น (Japanese Experiment Module หรือ JEM) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อเรียกว่า โมดูลคิโบ เป็นโมดูลด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นบนสถานีอวกาศนานาชาติ พัฒนาขึ้นโดยองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA) เป็นโมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติแบบโมดูลเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชิ้นส่วน 2 ชิ้นแรกของโมดูลนำส่งขึ้นโดยกระสวยอวกาศเที่ยวบิน STS-123 และ STS-124 ชิ้นที่ 3 ซึ่งเป็นชิ้นสุดท้ายนำขึ้นโดยเที่ยวบิน STS-127 โมดูลคิโบมีส่วนประกอบหลัก 4 ส่วนได้แก.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่น

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโลก (ดาวเคราะห์)

โอไรออน (ยานอวกาศ)

นลูกเรืออเนกประสงค์โอไรออน (Orion Multi-Purpose Crew Vehicle, MPCV) เป็นยานอวกาศซึ่งตั้งใจบรรทุกลูกเรือนักบินอวกาศสูงสุดสี่คนไปเป้าหมายที่หรือพ้นวงโคจรต่ำของโลก (LEO) นาซากำลังพัฒนาเพื่อปล่อยบนระบบปล่อยอวกาศ ปัจจุบัน ตั้งใจให้โอไรออนอำนวยความสะดวกการสำรวจดาวเคราะห์น้อยและดาวอังคารของมนุษย์ ตลอดจนให้ลูกเรือและขีดความสามารถการขนส่งสัมภาระไปและกลับจากสถานีอวกาศนานาชาติ นาซาประกาศ MCOV เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2554 การออกแบบอาศัยยานสำรวจลูกเรือโอไรออนจากโครงการคอนสตัลเลชัน (Constellation program) ที่ถูกยกเลิก มีสองมอดูลหลัก ล็อกฮีดมาร์ตินกำลังสร้างมอดูลสั่งการโอไรออนที่ศูนย์ประกอบมีชู (Michoud Assembly Facility) ในนิวออร์ลีนส์ ส่วนแอร์บัสกลาโหมและอวกาศกำลังสร้างมอดูลบริการโอไรออน จัดโดยองค์การอวกาศยุโรป เที่ยวบินทดสอบแรกของ MPCV เรียก การทดสอบการบินสำรวจ 1 (EFT-1) ถูกปล่อยบนจรวดเดลตา 4 เฮฟวีเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 บนเที่ยวบินนาน 4 ชั่วโมง 24 นาที ลงจอดที่เป้าหมายในมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อเวลา 10:29 เซ็นทรัล (ล่าช้าจากวันก่อนเพราะปัญหาเทคนิค) ภารกิจบรรทุกนักบินอวกาศแรกคาดว่ายังไม่เกิดจนปี 2559.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโอไรออน (ยานอวกาศ)

โครงการกระสวยอวกาศ–มีร์

รงการกระสวยอวกาศ-เมียร์ (Shuttle–Mir Program) เป็นโครงการความร่วมมือด้านอวกาศระหว่างรัสเซียกับสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับการที่กระสวยอวกาศของสหรัฐจะเดินทางไปเยือนสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย นักบินอวกาศของรัสเซียจะบินไปยังกระสวยอวกาศ ส่วนนักบินอวกาศสหรัฐจะบินไปยังยานโซยูซเพื่อเข้าปฏิบัติการระยะยาวบนสถานีอวกาศเมียร์ โครงการนี้ (ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า "เฟสหนึ่ง") มีวัตถุประสงค์จะให้ฝ่ายสหรัฐอเมริกาเรียนรู้จากประสบการณ์ของรัสเซียในการใช้ชีวิตอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานๆ และเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างชาติทั้งสองตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของทั้งสองประเทศ คือองค์การนาซ่า กับองค์การอวกาศสหพันธรัฐรัสเซีย (รอสคอสมอส) โครงการนี้ช่วยปูพื้นฐานโครงการความร่วมมือทางอวกาศในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "เฟสสอง" ของโครงการร่วม คือการก่อสร้างสถานีอวกาศนานาชาติ โครงการเริ่มต้นประกาศตัวในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโครงการกระสวยอวกาศ–มีร์

โครงการอวกาศโซเวียต

รวดอาร์-7 โครงการอวกาศโซเวียต ประกอบด้วยการพัฒนา จรวด และ การสำรวจอวกาศเป็นโครงการที่จัดทำโดยอดีต สหภาพโซเวียตจากช่วงทศวรรษที่ 1930 จนถึงการ สลายตัว ในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโครงการอวกาศโซเวียต

โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

รงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ (ASTP) (Экспериментальный полёт «Союз» — «Аполлон», Eksperimantalniy polyot Soyuz-Apollon ตามตัวอักษร "เที่ยวบินทดสอบโซยุซ-อะพอลโล") เป็นโครงการเที่ยวบินอวกาศที่ร่วมมือกันครั้งแรกระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต และเป็นเที่ยวบินสุดท้ายของยานอวกาศอะพอลโล วัตถุประสงค์หลักคือเป็นสัญลักษณ์แห่งนโยบายยุคแห่งการผ่อนคลายความตึงเครียดที่ทั้งสองมหาอำนาจกำลังดำเนินในเวลานั้น และเป็นการสิ้นสุดการแข่งขันอวกาศระหว่างสองประเทศที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

โคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

มดูลโคลัมบัส บนสถานีอวกาศนานาชาติ โคลัมบัส (Columbus) เป็นห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นชิ้นส่วนใหญ่ที่สุดที่สร้างโดยองค์การอวกาศยุโรป (ESA) โมดูลโคลัมบัสก่อสร้างที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เช่นเดียวกับโมดูลฮาร์โมนีและโมดูล Tranquility โดยบริษัท Alcatel Alenia Space ที่มีฐานในกรุงโรม การออกแบบสถาปัตยกรรมการใช้งาน (รวมถึงซอฟต์แวร์) ของห้องทดลองดำเนินการโดย EADS ในเยอรมนี และนำมาประกอบรวมกันก่อนจะนำส่งไปที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีในฟลอริดา โมดูลถูกนำส่งขึ้นด้วยกระสวยอวกาศแอตแลนติส เที่ยวบิน STS-122 เมื่อวันที่ 7 กุมภาพัน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

โซยุซ TMA-08M

ซยุซ TMA-08M (Soyuz TMA-08M หรือ Союз ТМА-08M) เป็นเที่ยวบินสู่สถานีอวกาศนานาชาติในปี 2013 ขนส่งด้วยนักบินอวกาศ 3 คนจากลูกเรือExpedition 35สู่สถานีอวกาศนานาชาติ TMA-08M เป็นเที่ยวบินครั้งที่ 117 ของยานโซยุซ เที่ยวบินแรกที่เปิดตัวในปี 1967 และมีกำหนดจะอยู่เทียบกับสถานีอวกาศนานาชาติสำหรับ Expedition 36 เพิ่มเพื่อทำหน้าที่เป็นยานการหลบหนีฉุกเฉิน.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโซยุซ TMA-08M

โซยุซ TMA-09M

ซยุซ TMA-09M (Soyuz TMA-09M) เป็นเที่ยวบินสู่สถานีอวกาศนานาชาติในปี 2013 ขนส่งด้วยนักบินอวกาศ 3 คนจากลูกเรือExpedition 36 สู่สถานีอวกาศนานาชาติ TMA-09M เป็นเที่ยวบินครั้งที่ 118 ของยานโซยุซ เที่ยวบินแรกที่เปิดตัวในปี 1967 และมีกำหนดจะอยู่เทียบกับสถานีอวกาศนานาชาติสำหรับ Expedition 37 เพิ่มเพื่อทำหน้าที่เป็นยานการหลบหนีฉุกเฉิน.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและโซยุซ TMA-09M

ไอลีน คอลลินส์

อลีน คอลลินส์ นาวาอากาศเอก ไอลีน แมรี คอลลินส์ (Eileen Marie Collins) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 ในเมืองเอลมิรา นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา อดีตนักบินทดสอบในกองทัพอากาศสหรัฐ ภายหลังรับตำแหน่งเป็นนักบินอวกาศแห่งองค์การนาซา ทั้งยังเป็นนักบินและผู้บังคับการกระสวยอวกาศหญิงคนแรกด้ว.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและไอลีน คอลลินส์

เบเกิล

กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเบเกิล

เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวก.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

เอสทีเอส-100

STS-100 เป็นภารกิจสเปซชัทเทิลไปยังสถานีอวกาศนานาชาติด้วยกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ STS-100 ติดตั้งแขนหุ่นยนต์ Canadarm2 ใน ISS.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเอสทีเอส-100

เอสทีเอส-129

STS-129 เป็นภาจกิจกระสวยอวกาศของนาซ่าในสถานีอวกาศนานาชาติ เริ่มต้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 14:28 EST และลงจอดในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเอสทีเอส-129

เอสทีเอส-133

STS-133 เป็นเที่ยวบินของกระสวยอวกาศครั้งที่ 133 ในกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี่นำมอดูล อเนกประสงค์ Pressurised ไปประกอบยังสถานีอวกาศนานาชาติ และเป็นเที่ยวบินอวกาศครั้งที่ 39 ของกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี่รวมทั้งเป็นครั้งสุดท้าย โดยนักบินของยานดิสคัฟเวอรี่เที่ยวบิน STS-133 มีดังนี้.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเอสทีเอส-133

เอสทีเอส-134

STS-134 เป็นภารกิจสุดท้ายของเที่ยวบินของกระสวยอวกาศนาซา เป็นภารกิจที่ 25 และเป็นเที่ยวบินอวกาศสุดท้ายของกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ เที่ยวบินนี้ส่งมอบให้อัลฟาแมกเนติกสเปกโตรมิเตอร และการขนส่งโลจิสติกเอ๊กซ์เพสย์ ไปยังสถานีอวกาศนานาชาต.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเอสทีเอส-134

เดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

มดูลห้องปฏิบัติการเดสตินี (นาซา) กำลังติดตั้งบน สถานีอวกาศนานาชาติ เดสตินี (Destiny) เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติเป็นปฏิบัติการของนาซาแรก ที่โคจรสถานีวิจัยถาวรตั้งแต่ สกายแล็ป ลุกขึ้นในกุมภาพันธ์ 1974.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

เดอะบิกแบงเธียรี

อะบิกแบงเธียรี (The Big Bang Theory) เป็นซีรีส์ซิตคอมสัญชาติอเมริกันที่สร้างโดยชัก ลอร์ และบิล พราดี ผลิตรายการร่วมกับสตีเวน โมลาโร พวกเขาสามคนเป็นคนเขียนบทหลัก ออกอากาศครั้งแรกที่ช่องซีบีเอสเมื่อวันที่ 24 กันยายน..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเดอะบิกแบงเธียรี

เคยูแบนด์

ูแบนด์ (Ku band) คือย่านหนึ่งของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่ไมโครเวฟ สัญลักษณ์ Ku หมายถึง "เค-ข้างใต้" (มาจากคำดั้งเดิมในภาษาเยอรมันว่า "Kurz-unten" ซึ่งมีความหมายเดียวกัน) ซึ่งมีความหมายถึงแถบที่อยู่ข้างใต้แถบ K ในการประยุกต์ใช้งานเรดาร์ จะมีช่วงความถี่ครอบคลุมระหว่าง 12-18 GHz ตามคำนิยามทางการของแถบความถี่วิทยุตามมาตรฐาน IEEE 521-2002 เคยูแบนด์ มีการใช้งานโดยทั่วไปในการสื่อสารดาวเทียม ที่สำคัญๆ คือ ดาวเทียมส่งผ่านการติดตามข้อมูล (Tracking Data Relay Satellite) ขององค์การนาซา สำหรับทั้งการติดต่อกับกระสวยอวกาศและการสื่อสารกับสถานีอวกาศนานาชาติ ดาวเทียมแบบเคยูแบนด์ยังมีการใช้งานสำหรับการส่งข้อมูลไปยังที่ห่างไกล เช่นสำหรับเครือข่ายระบบโทรทัศน์ที่ใช้ในการแก้ไขและการออกอากาศ แถบความถี่นี้ยังแบ่งออกเป็นช่วงย่อยอีกหลายช่วงแล้วแต่บริเวณทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจัดแบ่งโดยสมาพันธ์การสื่อสารสากล (International Telecommunication Union; ITU) สถานีโทรทัศน์ NBC เป็นเครือข่ายโทรทัศน์แห่งแรกที่ทำการอัพลิงก์รายการส่วนใหญ่ผ่านเคยูแบนด์ในปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเคยูแบนด์

เครื่องวัดความเฉื่อย

รื่องวัดความเฉื่อย เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดมวลเฉื่อย (ต่างจากเครื่องมือวัดปกติที่ใช้วัดมวลโน้มถ่วง) ที่ใช้งานได้ในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วงในอวกาศ อาทิเช่น ในสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นต้น หลักการใช้งานนั้นมีพื้นฐานมาจากการสั่นสะเทือนของระบบมวล-สปริง ซึ่งความถี่ของการสั่นสะเทือนนั้นจะขึ้นอยู่กับมวล โดยมวลน้อยจะมีความถี่มาก และมวลมากจะมีความถี่น้อย การใช้งานจะเริ่มจากการวางมวลที่ต้องการวัดลงบนเครื่อง ซึ่งจะทำให้กลไกสปริงเริิ่มสั่น จากนั้นให้วัดระยะเวลาของการสั่นสะเทือนนี้ โดยผู้วัดจะต้องรู้ค่าคงตัวของสปริงและค่าสัมประสิทธิ์การหน่วง จึงจะรู้ค่าของมวลได้.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเครื่องวัดความเฉื่อย

เคอร์บัลสเปซโปรแกรม

อร์บัลสเปซโปรแกรม (Kerbal Space Program) หรือ เคเอสพี (KSP) เป็นเกมจำลองการบินอวกาศ ฟิสสิก และอื่นๆ ปัจจุบันรองรับ Window,mac OS X,Linux,X Box, ตัวเกมจะเป็นการจำลองสถานีอวกาศของมนุษย์ต่างดาวที่เรียกตัวเองว่า Kerbals.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและเคอร์บัลสเปซโปรแกรม

Caenorhabditis elegans

Caenorhabditis elegans เป็นหนอนนีมาโทดาที่โปร่งใส มีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร C. elegans อาศัยอยู่ในดินในเขตอบอุ่น และเริ่มถูกใช้ในงานวิจัยทางด้านอณูชีววิทยาและชีววิทยาการเจริญ มาตั้งแต่ ปี..

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและCaenorhabditis elegans

Canadarm2

นักบินอวกาศ สตีเฟน เค. โรบินสัน ยึดปลายแขน Canadarm2 ระหว่างเที่ยวบิน STS-114 ระบบซ่อมบำรุงเคลื่อนที่ (Mobile Servicing System หรือ MSS) หรือเป็นที่รู้จักกันมากกว่าในชื่อของชิ้นส่วนหลักของระบบคือ Canadarm2 เป็นระบบแขนกลและอุปกรณ์ประกอบที่ติดตั้งอยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติ มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการประกอบชิ้นส่วนและการบำรุงรักษาสถานี โดยการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ไปรอบสถานี การสนับสนุนการทำงานในอวกาศของนักบินอวกาศ และการบำรุงรักษาเครื่องมือวัดหรือชิ้นส่วนอื่นๆ ที่ติดตั้งอยู่กับสถานีอวกาศ นักบินอวกาศต้องผ่านการฝึกฝนเป็นพิเศษเพื่อทำการควบคุมเครื่องมือนี้ในการจัดการกับระบบต่างๆ ระบบ MMS ประกอบด้วยแขนกลหลักที่เรียกว่า Space Station Remote Manipulator (SSRMS), Mobile Remote Servicer Base System (MBS) และ Special Purpose Dexterous Manipulator (SPDM บางครั้งก็เรียกว่า Dextre หรือ แขนแคนาดา) ระบบแขนกลต่างๆ จะเคลื่อนที่ไปตามรางที่ติดตั้งอยู่บนยอดของสถานีอวกาศนานาชาติ ซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงานเขียนขึ้นด้วยภาษาเอดา ระบบบริการเคลื่อนที่ได้รับการออกแบบและก่อสร้างภายใต้โครงการอวกาศ MDA (เดิมคือระบบหุ่นยนต์ MD) ขององค์การอวกาศแคนาดา ในฐานะส่วนสนับสนุนหนึ่งในโครงการสถานีอวกาศนานาชาต.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและCanadarm2

1 E5 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่าง 100 กม. และ 1,000 กม.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและ1 E5 m

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและ2 พฤศจิกายน

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ดู สถานีอวกาศนานาชาติและ20 พฤศจิกายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ International Space StationIss

นูเมอาแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554โมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่นโลก (ดาวเคราะห์)โอไรออน (ยานอวกาศ)โครงการกระสวยอวกาศ–มีร์โครงการอวกาศโซเวียตโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซโคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)โซยุซ TMA-08Mโซยุซ TMA-09Mไอลีน คอลลินส์เบเกิลเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะเอสทีเอส-100เอสทีเอส-129เอสทีเอส-133เอสทีเอส-134เดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)เดอะบิกแบงเธียรีเคยูแบนด์เครื่องวัดความเฉื่อยเคอร์บัลสเปซโปรแกรมCaenorhabditis elegansCanadarm21 E5 m2 พฤศจิกายน20 พฤศจิกายน