สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: รถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลสถานีบางแคสถานีภาษีเจริญสถานีวัดมังกรสถานีสามยอดสถานีสนามไชยสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีอิสรภาพสถานีท่าพระ
รถไฟฟ้ามหานคร
รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.
ดู สถานีหลักสองและรถไฟฟ้ามหานคร
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
| open.
ดู สถานีหลักสองและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.
ดู สถานีหลักสองและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สถานีบางแค
นีบางแค (Bang Khae Station, รหัส BS19) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.
สถานีภาษีเจริญ
นีภาษีเจริญ (Phasi Charoen Station, รหัส BS18) ป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.
ดู สถานีหลักสองและสถานีภาษีเจริญ
สถานีวัดมังกร
นบริเวณทางลงสู่ตัวสถานี ที่ได้รับแรงบันดาลใจในการออกแบบจากท้องของมังกร สถานีวัดมังกร เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางย่านธุรกิจของชาวไทยเชื่อสายจีน ในแนวถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร บริเวณย่านวัดมังกรกมลาวาส (วัดเล่งเน่ยยี่) ใกล้กับถนนเยาวราช ซึ่งถือเป็นไชน่าทาวน์ของเมืองไท.
ดู สถานีหลักสองและสถานีวัดมังกร
สถานีสามยอด
นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.
สถานีสนามไชย
นีสนามไชย เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป.
ดู สถานีหลักสองและสถานีสนามไชย
สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)
นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.
ดู สถานีหลักสองและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)
สถานีอิสรภาพ
นีอิสรภาพ (Itsaraphap Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสถานีแรกและสถานีเดียวของสายเฉลิมรัชมงคลที่มีเขตที่ตั้งอยู่ที่ฝั่งธนบุรี ในแนวตัดขวางกับถนนอิสรภาพ บริเวณซอยอิสรภาพ 36 สถานีนี้เป็นสถานีสุดท้ายของส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ที่เป็นสถานีใต้ดิน ก่อนยกระดับเข้าสู่สถานีท่าพระต่อไป อีกทั้งยังเป็นสถานีที่เชื่อมต่อไปยังอุโมงค์ลอดใต้เแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อข้ามไปฝั่งพระนคร คือ สถานีสนามไชย อีกด้ว.
ดู สถานีหลักสองและสถานีอิสรภาพ
สถานีท่าพระ
นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สถานีหลักสอง (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)