โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สต็อกโฮล์ม

ดัชนี สต็อกโฮล์ม

ต็อกโฮล์ม (Stockholm) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศสวีเดน ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลทิศตะวันออกของประเทศสวีเดน มีประชากรในเขตเทศบาลสต็อกโฮล์ม 909,000 คน ถ้านับเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบทั้งหมดจะมีประชากรประมาณ 2.2 ล้านคน สต็อกโฮล์มเป็นที่ตั้งของรัฐบาลสวีเดน และที่ประทับของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของสวีเดน.

343 ความสัมพันธ์: บอร์นดิสเวย์บอลบัวขาว บัญชาเมฆบิยอร์น บอร์กบิล เกตส์บุญส่ง ชเลธรฟรีดริช เวอเลอร์ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลกฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐฟุตบอลทีมชาติรัสเซียฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักรฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียฟุตบอลโลกฟุตบอลโลก 1934ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2011พ.ศ. 2515พ.ศ. 2529พ.ศ. 2537พระมหากษัตริย์สวีเดนพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดนพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดนพระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดนพลอย (ภาพยนตร์)พาหนะบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ไม่ได้ใช้เพื่อการขนส่งพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศสวีเดนกริกอรี เพเรลมานกองทัพสวีเดนกามีย์ ปีซาโรการทารุณเด็กทางเพศการทำเหมืองเหล็กสวีเดนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็กการประกวดเพลงยูโรวิชันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์กาตาร์แอร์เวย์กุนนีลา เบอร์นาดอตต์กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬากระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912กีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912กีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลกกีฬาขี่ม้าในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาโอลิมปิก...กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ภราดร ศรีชาพันธุ์ภาษาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศมหาวิทยาลัยอุปซอลามหาสงครามเหนือมัลเมอมายเลิฟ (เพลงของเซลีน ดิออน)มาร์ติน โฮล์มมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเวิลด์ 2010มิสเวิลด์ 2013มิสเวิลด์ 2014มิสเวิลด์ 2016ยุโรป (วงดนตรี)ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพรพินทรนาถ ฐากุรรอล์ฟ ซีเวอร์ตรัศมีแข ฟ้าเกื้อล้นราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ราบัตรามาซาน รามาซานอฟรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลารายชื่อสวนสัตว์รายชื่อหอดูดาวรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลกรายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดนรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากรรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาเคมีรถไฟใต้ดินสตอกโฮล์มลอรีนลุดวิก เอากุสตินซอนลูอีส เมานต์แบ็ตเทนวอล์กกิงออนแอร์ (เพลงเคที เพร์รี)วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1989วันชาติสวีเดนวันการล้างมือโลกวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันวิตนิสส์ (อัลบั้มเคที เพร์รี)วิโอลาบีชศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรปสมาร์ตซิตีสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสยิวสวานเต อาร์เรเนียสสวีดิชเฮาส์มาเฟียสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สายตรงมอสโก–วอชิงตันสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สาธารณรัฐเซอร์เบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912สถาบันแคโรลินสกาสตัฟฟัน เด มิสตูราสปอทิฟายสนามกีฬาโอลิมปิกสนามกีฬาโอลิมปิกสตอกโฮล์มสแกนดิเนเวียสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2018–19สโมสรฟุตบอลฮัมมาร์บีสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2018–19สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2016–17สเตฟัน เลอเวนอรรถกิจ พนมยงค์ออลสเวนส์คานออสตราเลเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912อะมีเลีย เคอร์ติสอะวีชีอัลล์วาร์ กูลล์สตรานด์อัลเฟรด โนเบลอันคอนดิชันเนิลลีอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศสวีเดนอิงกริด เบิร์กแมนอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กอิงเว มาล์มสทีนอินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2016อิแมจินดรากอนส์องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนอเลกซานเดอร์ สกาส์กอร์ดผลงานของเวสท์ไลฟ์จอร์จิโอ เปโตรเซียนจักรวรรดิสวีเดนจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของการบินไทยจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิคจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ธาตุหายากธงชาติสวีเดนถั่น มินอูทวีปยุโรปทอร์ด แมกนูซันทะเลบอลติกทูเว ลูท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดาณัทธนพล ทินโรจน์ดร. อัลบันดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศดาร์กฮอร์ส (เพลงเคที เพร์รี)ดิสอิสฮาววีดูดิสซัมเมอส์กอนนาเฮิร์ตไลก์อะมาเธอร์ฟักเกอร์ดิอะเมซิ่งเรซ 15ดิอะเมซิ่งเรซ 17ดิอะเมซิ่งเรซ 6ดีร์ก เบาตส์คอนเนอร์ แม็คเกรเกอร์คาบสมุทรสแกนดิเนเวียคาร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์คาร์ล ลาร์สสันคาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอคำปฏิญาณโอลิมปิกคูลฟอร์เดอะซัมเมอร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่นคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศลาวคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรักคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวตคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีเหนือคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนามตูโปเลฟ ตู-134ซาวด์คลาวด์ซิกวาร์ด เบอร์นาดอตซีกฟริด เอดสเตริมประวัติการบินไทยประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศลัตเวียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศสวีเดนประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศโบฮีเมียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912ปริซึม (อัลบั้มเคที เพร์รี)ปีเตอร์, บียอร์น แอนด์ จอห์นนายกรัฐมนตรีสวีเดนนางงามจักรวาล 2013นางงามจักรวาล 2014นางงามจักรวาล 2015นางงามนานาชาติ 2013นางงามนานาชาติ 2014นิวโรแมนติกส์ (เพลง)นิสสัย เวชชาชีวะแบ็กสตรีตบอยส์แพร์ วิกทอร์ เอดมันแมกซ์ ฟอน ซีโดวแมกซ์ มาร์ตินแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016แยน แฮร์มันสันแสมดำแอลัน เชียเรอร์แอลทีอีแอปเปิลสโตร์แอ็บบาแคลส์ โอลเดนเบิร์กโบสถ์กลมโมแยงโรร์ (เพลง)โรโบคัพโอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูร้อน 1912โอลิมปิกฤดูร้อน 1952โอลิมปิกฤดูร้อน 2004โอลิมปิกฤดูหนาว 2022โอเพทโจอาคิม คาร์ลสันโทปิ เฮลินโซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนไฟฟ์ (อัลบั้มมารูนไฟฟ์)ไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ไอวาวทูดี มายคันทรีไอคอนาพอปไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัสไทรโยค พุ่มพันธ์ม่วงไปรษณีย์ถล่มเบสบอลทีมชาติคิวบาเชอราตันโฮเทลส์แอนด์รีสอตส์เบอร์จิต นิลส์สันเบิร์ธเดย์ (เพลงเคที เพร์รี)เชน วอร์ดเฟดเอกซ์ เอกซ์เพรสเพลิงโอลิมปิกเกรทา การ์โบเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมืองหลวงแฟชั่นเยลมาเรนเยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียสเรอเน เดการ์ตเลิฟมีไลก์ยูดูเลนนาร์ต เบอร์นาดอตต์เวสเตโรสเส้นทางแชมเปียนส์ภายในประเทศยูฟ่ายูธลีก ฤดูกาล 2017–18เหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม พ.ศ. 2553เอชแอนด์เอ็มเอลซา ฮอสค์เอสวีที-40เอสเคเอสเอทีพี เวิลด์ ทัวร์ ไฟนอลเอ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์เจอร์รี่ แม็คไกวร์ เทพบุตรรักติดดินเจิ้ง เจี๋ยเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเตินเจ้าชายยูจีน ดยุกแห่งนาร์กเจ้าชายออกุส ดยุกแห่งดัลลันด์เจ้าชายออสการ์ ดยุกแห่งสกอเนเจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์กเจ้าชายอเล็กซันเดอร์ ดยุกแห่งเซอเดร์มันลันด์เจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์เจ้าชายนีโคลัส ดยุกแห่งโอเงร์มันลันด์เจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์เจ้าหญิงยูเชนีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแงเจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งบาวาเรียเจ้าหญิงเอสเตลล์ ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์เทคมีโฮม (อัลบั้มวันไดเรกชัน)เดอะ รัคคอนเทอร์สเดอะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์เดอะฮูซิเออร์สเดอะไพเรตเบย์เดอะเฟซ (สหราชอาณาจักร)เดอะเฟซเมนไทยแลนด์ ซีซัน 1เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศเควิน ดีรมรัมย์เซอเดอร์เตลเยSuperior colliculusX ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน)28 กันยายน28 กุมภาพันธ์5 มิถุนายน ขยายดัชนี (293 มากกว่า) »

บอร์นดิสเวย์บอล

อะบอร์นดิสเวย์บอล (อังกฤษ: The Born This Way Ball) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตที่ 3 ของศิลปินนักร้องอเมริกันเลดี้ กาก้า โดยในการสนับสนุนของอัลบั้มที่ 2 บอร์นดิสเวย์ ที่ประกอบด้วยทัวร์ 110 รายการในเอเชีย โอเซียเนียและต่อด้วยในยุโรปในเดือนสิงหาคมปี 2555 ตามด้วยในละตินอเมริกาในช่วงปลายปี ทัวร์เริ่มต้นที่อเมริกาเหนือ ในเดือนมกราคม 2556 และดำเนินการต่อจนสิ้นสุดในเดือนมีนาคม ซึ่งหนึ่งในทัวร์รอบโลกของเธอ ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในทัวร์ โดยจัดการแสดงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน โดยผู้จัด บริษัท บีอีซี เทโร เอนเตอร์เทนเม้นท์ เป็นผู้รับผิดชอบจัดคอนเสิร์ตนี้ นับเป็นคอนเสิร์ตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในรอบ 10 ปี หลังจาก ไมเคิล แจ็กสัน เคยมาแสดงในประเทศไทยเมื่อหลายปีก่อน เมื่อเดือน ธันวาคม ภาพประชาสัมพันธ์คอนเสิร์ต ปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและบอร์นดิสเวย์บอล · ดูเพิ่มเติม »

บัวขาว บัญชาเมฆ

ท สมบัติ บัญชาเมฆ หรือ บัวขาว บัญชาเมฆ เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในวงการการต่อสู้ระดับสากล โดยเฉพาะในทวีปยุโรปและประเทศญี่ปุ่น เคยเป็นนักมวยไทยสังกัดค่ายมวย ป.ประมุข ส่วนสูง 174 เซนติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม บัวขาวจัดเป็นหนึ่งในนักกีฬาอาชีพไทยที่ทำรายได้สูง โดยส่วนใหญ่มาจากการชกมวยที่ต่างประเทศ นอกจากนี้แล้ว ยังมีผลงานการแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ซามูไร อโยธยา และใน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและบัวขาว บัญชาเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

บิยอร์น บอร์ก

อร์น บอร์ก (Björn Borg; ออกเสียง) นักเทนนิสชายชาวสวีเดน อดีตมือวางอันดับหนึ่งของโลก เจ้าของรางวัลชนะเลิศเทนนิสแกรนด์สแลม 11 ครั้ง โดยเป็นแชมเปียนเฟรนช์โอเพน 6 ครั้ง และเทนนิสวิมเบิลดัน 5 ครั้ง บิยอร์น บอร์กเป็นนักเทนนิสชายคนแรก ที่ถือสถิติชนะเลิศเทนนิสวิมเบิลดันติดต่อกัน 5 ปีซ้อน จากการเข้าชิง 6 ปีซ้อน (ชนะเลิศปี 1976-1980 จากการเข้าชิง 1976-1981 โดยพ่ายแพ้ต่อจอห์น แม็กเอนโรในปี 1981) ส่วนสถิติชนะเลิศเฟรนช์โอเพน 6 ครั้งจากการเข้าชิง 6 ครั้ง ระหว่างปี 1974-1981 (ยกเว้นปี 1976 ที่ไม่ได้เข้าชิง) ยังคงเป็นสถิติสูงสุดจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและบิยอร์น บอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

บิล เกตส์

วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ บิล เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวSomalia และหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์สำหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับพอล แอลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาเรื่องเทคโนโลยี นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้ บิล เกตส์ เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกหลายปีติดต่อกัน วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สามได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการอัศวินแห่งจักรวรรดิบริเตน (KBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและบิล เกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญส่ง ชเลธร

นายบุญส่ง ชเลธร ปัจจุบันเป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จบการศึกษาระดับปริญญาตรีการศึกษาเบื้องต้น จากวิทยาลัยครูสวนสุนันทา, ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นายบุญส่ง มีชื่อเสียงมาจากการเป็นนักศึกษาที่ทำกิจกรรมทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ. 2513-พ.ศ. 2516 ในระหว่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ในช่วงก่อนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและบุญส่ง ชเลธร · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช เวอเลอร์

ฟรีดริช เวอเลอร์ (Friedrich Wöhler, 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1800 - 23 กันยายน ค.ศ. 1882) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน ผู้เป็นที่รู้จักกันดีจากการสังเคราะห์ยูเรีย และยังเป็นบุคคลแรก ๆ ที่พยายามแยกธาตุเคมีหลายธาต.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟรีดริช เวอเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก

ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก (Floorball World Championships) เป็นการแข่งขันฟลอร์บอลระหว่างประเท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ

ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ (United States men's national soccer team) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสหรัฐในการการแข่งขันฟุตบอลระดับชาติ ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลสหรัฐ โดยเป็นทีมชาติในภูมิภาคคอนคาแคฟ ทีมชาติสหรัฐเคยลงแข่งขันในฟุตบอลโลกทั้งหมด 10 สมัย โดยเป็นเจ้าภาพในฟุตบอลโลก 1994 นอกจากนี้ยังลงแข่งขันในรายการคอนเฟเดอเรชันส์คัพ, คอนคาแคฟ โกลด์คัพ และเป็นทีมชาติรับเชิญในการแข่งขันโคปาอเมริกา โดยผลงานที่ดีที่สุดของทีมชาติสหรัฐคือการคว้าอันดับ 3 ในฟุตบอลโลก 1930 ที่ประเทศอุรุกวัย ซึ่งถือได้ว่าเป็นผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลโลกของทีมที่ไม่ได้มาจากทวีปยุโรปและอเมริกาใต้จวบจนปัจจุบัน แม้ว่าฟุตบอลจะเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมน้อยเทียบกับกีฬาประเภทอื่น ทีมชาติสหรัฐได้อันดับโลกฟีฟ่าที่ 32 ของโลก และอันดับหนึ่งของภูมิภาค ผลงานของทีมสหรัฐได้อันดับสูงสุดคืออันดับที่สามในฟุตบอลโลก 1930 ในการแข่งขันโอลิมปิก ได้หนึ่งเหรียญเงินและหนึ่งเหรียญทองแดง สำหรับในระดับภูมิภาคทีมอเมริกาได้ชนะเลิศโกลด์คัพมาแล้ว 5 ครั้ง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย

ฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย (Сборная России по футболу) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศรัสเซีย บริหารและควบคุมโดยสหภาพฟุตบอลรัสเซีย และร่วมแข่งขันกับทางยูฟ่า ทีมชาติรัสเซียมีผลงานในฟุตบอลโลก โดยได้ร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายสองครั้งใน ฟุตบอลโลก 1994 และ ฟุตบอลโลก 2002 และร่วมแข่งขันในฟุตบอลยูโร สามครั้ง ในปี 1996 2004 และ 2008 ซึ่งผลงานที่ดีที่สุดคือผ่านเข้าสู่รอบสี่ทีมสุดท้ายในปี 2008 ฟีฟ่า ได้พิจารณาให้รัสเซียเป็นทีมชาติที่เป็นทีมต่อมาจากทีมชาติสหภาพโซเวียต และ ทีมชาติเครือรัฐเอกราช ตามลำดั.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร

ฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร หรือมักจะรู้จักในชื่อ ฟุตบอลทีมชาติเกรตบริเตน (และมักจะเข้าใจผิดว่าเป็น ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ) เป็นทีมฟุตบอลสมัครเล่นตัวแทนจากสหราชอาณาจักรในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ในขณะที่ทีมอื่นได้แก่ ทีมชาติอังกฤษ, ทีมชาติสกอตแลนด์, ทีมชาติเวลส์ และ ทีมชาติไอร์แลนด์เหนือ จะทำการแข่งขันในฟุตบอลโลก ยูโร และการแข่งขันฟุตบอลทีมชาติรายการอื่นๆ ที่จัดโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) ทีมชาติสหราชอาณาจักรนี้คว้าเหรียญทองฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้งคือปี 1908 ที่ลอนดอน และปี 1912 ที่ สต็อกโฮล์ม ในปัจจุบันทีมชาติสหราชอาณาจักรนี่ไม่ได้เล่นอีกต่อไปโดยได้ยกเลิกในปี ค.ศ. 1972 หลังจบการแข่งขันโอลิมปิก 1972 ซึ่งจัดขึ้นที่มิวนิก แต่ก็มีแนวโน้มจะมีการรวมตัวอีกครั้งเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันในปี 2012 ที่ลอนดอน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี (Deutsche Fußballnationalmannschaft) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศเยอรมนี ในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งชนะฟุตบอลโลก 4 ครั้ง คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1 ครั้ง ฟุตบอลยูโร 3 ครั้ง และฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1 ครั้งในนามของเยอรมนีตะวันออก มีฉายาในภาษาไทยตามสัญลักษณ์ว่า "อินทรีเหล็ก".

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย (Estonia national football team,Eesti jalgpallikoondis) เป็นตัวแทนของ ประเทศเอสโตเนียในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติเช่น ฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของ สมาคมฟุตบอลเอสโตเนีย (Eesti Jalgpalli Liit),โดยสนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียคือ อา เลอ ค็อก อารีน่าใน ทาลลินน์, ประเทศเอสโตเนี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก

ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ (ฟีฟ่า) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1930 ใน ฟุตบอลโลก 1930 ยกเว้นในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลโลก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1934

ฟุตบอลโลก 1934 (1934 FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 2 ที่ประเทศอิตาลีที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตบอลโลก 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2011

การแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2011 (2011 Deaf Futsal World Cup) นับเป็นการแข่งขันฟุตซอลของคนหูหนวกชิงแชมป์โลกครั้งที่ 4 ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงสตอกโฮล์ม ราชอาณาจักรสวีเดน ระหว่างวันที่ 18 – 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2011 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์สวีเดน

ราชาธิปไตยแห่งสวีเดน (Monarki i Sverige) คือระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ราชอาณาจักรสวีเดนใช้มายาวนาน พระมหากษัตริย์ทรงมีตำแหน่งเป็นเพียงประมุขของประเทศเท่านั้น โดยพระองค์ไม่มีพระราชอำนาจทางการเมือง ซึ่งพระมหากษัตริย์สวีเดนทรงเป็นพระประมุขสูงสุดรวมทั้งยังได้รับความเคารพจากสังคมของสวีเดนมาโดยตลอด ทั้งนี้สวีเดนได้เริ่มใช้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญพร้อม ๆ กับการเริ่มใช้ระบบรัฐสภาที่มีพระราชพิธียุ่งยากมากมาย นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังสามารถมีพระราชโองการไปถึงรัฐบาลและกองทัพได้อีกด้วย ในปี ค.ศ. 1810 รัฐธรรมนูญสวีเดนว่าด้วยการสืบทอดราชสมบัติได้กำหนดให้ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์เป็นราชวงศ์แห่งสวีเดน อีกทั้งผู้สืบทอดราชสมบัติต้องนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งพระมหากษัตริย์สวีเดนองค์ปัจจุบันก็คือสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน

พระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน (Gustav III) เป็นกษัตริย์แห่งสวีเดน ระหว่างปี ค.ศ. 1771 จนถึงการลอบปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 1792 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าอดอล์ฟ เฟรเดอริกแห่งสวีเดน และสมเด็จพระราชินีหลุยเซ่ อูลริเค่แห่งปรัสเซีย ผู้ทรงเป็นพระขนิษฐาในพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 มหาราชแห่งปรัสเซีย หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สวีเดน หมวดหมู่:ราชวงศ์โฮลชไตน์-กอททอร์พ หมวดหมู่:บุคคลจากสตอกโฮล์ม หมวดหมู่:เสียชีวิตจากภาวะพิษเหตุติดเชื้อ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ. 1824) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักว่า "ผู้ปรารถนา" (le Désiré) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์บูร์บงผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์ตั้งแต..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีชาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน (Konung Karl XII) ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ในช่วงมหาสงครามเหนือ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1682 ทรงครองราชย์เมื่อพระชนมายุ 15 พรรษา พระองค์มีพระปรีชาสามารถในเรื่องการทหารและด้านการเมือง พระองค์ได้นำทัพสวีเดนเข้ารบโจมตีกองทัพของรัสเซียซึ่งมีพระเจ้าปีเตอร์มหาราชเป็นแม่ทัพและได้รับชัยชนะที่ยุทธการนาร์วาเมื่อปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดน

ระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดน เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนและพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ ครองราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พลอย (ภาพยนตร์)

ลอย ภาพยนตร์ยาวเรื่องที่หกของเป็นเอก รัตนเรือง นำแสดงโดย อนันดา เอเวอริ่งแฮม, ลลิตา ศศิประภา, อภิญญา สกุลเจริญสุข และ พรวุฒิ สารสิน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพลอย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พาหนะบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ไม่ได้ใช้เพื่อการขนส่ง

หนะบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ไม่ได้ใช้เพื่อการขนส่ง, (Nontransporting EMS vehicle หรือที่รู้จักกันในชื่อทั่วไปว่า รถติดปีก), เป็นพาหนะบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ที่มีขึ้นมาเพื่อไว้ใช้ปฐมพยาบาล แต่ไม่ได้ใช้ในการเคลื่อนย้ายหรือขนส่งผู้ป่วยที่มีความจำเป็นในการใช้รถพยาบาล (เช่น ผู้ป่วยบาดเจ็บสาหัส) พาหนะบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ไม่ได้ใช้เพื่อการขนส่ง (การขนส่ง ในที่นี้หมายถึงการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้เปล) อาจแสดงถึงภาวะเศรษฐกิจ, การบริหาร, และโลจิกติกส์ของประเทศเหล่านั้นได้ ในบางกรณีพาหนะบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ไม่ได้ใช้เพื่อการขนส่งที่ไม่ได้เข้าร่วมบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) อาจปฏิบัติหน้าที่อื่น เช่น การตำรวจ หรือ การระงับเหตุอัคคีภั.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพาหนะบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ไม่ได้ใช้เพื่อการขนส่ง · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศสวีเดน

ซ้าบ ยี 35 ดราเก้น, ที่ด้านนอกพิพิธภัณฑ์ ท่ามกลางหิมะที่โปรยปราย พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศสวีเดน (Flygvapenmuseum; Swedish Air Force Museum) ตั้งอยู่ที่เขตมัลเม่น ด้านนอกของเมืองลินเชอพิงก์ ประเทศสวีเดน โดยเขตมัลเม่น เป็นที่บารอนคาร์ล เซเดอสตอร์ม เรียกชื่อว่า "ฟลายเออร์บารอน" ซึ่งก่อตั้งโรงเรียนการบินของเขาในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

กริกอรี เพเรลมาน

กริกอรี ยาคอฟเลวิช เพเรลมาน (риго́рий Я́ковлевич Перельма́н, Grigori Yakovlevich Perelman) หรือที่รู้จักในชื่อ "กริชา เพเรลมาน" เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซียผู้อุทิศตนให้กับเรขาคณิตเรแมนเนียน (Riemannian geometry) และ ทอพอโลยีเรขาคณิต มีชื่อเสียงจากการพิสูจน์ปัญหา "การคาดการณ์ของปวงกาเร" ได้เป็นคนแรก เขาได้รับรางวัลฟีลด์สมีดัลในปี 2006 แต่เขาได้ปฏิเสธที่จะรับรางวัลนี้ และในวันที่ 1 กรกฎาคม ปี 2010 เพเรลมานตัดสินใจที่จะไม่รับรางวัลมิลเลนเนียม ไพรซ์ ปัจจุบัน เพเรลมานอาศัยอยู่กับมารดาซึ่งชรามากในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เขาเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ไม่ชอบออกสื่อและหาตัวได้ยาก จึงมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวเขาน้อยมาก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกริกอรี เพเรลมาน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสวีเดน

กองทัพสวีเดน (Försvarsmakten) ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ เหล่าทัพที่สี่ คือ กองกำลังป้องกันชาต.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกองทัพสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ ปีซาโร

“ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1898 “Avenue de l'Opera” ค.ศ. 1898 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กามีย์ ปีซาโร (Camille Pissarro) หรือ ฌากอบ-อาบราอาม-กามีย์ ปีซาโร (Jacob-Abraham-Camille Pissarro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 - 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ความสำคัญของกามีย์ ปีซาโรมิใช่เพียงการเขียนภาพแบบอยู่ที่อิมเพรสชันนิสม์แต่ยังเป็นศิลปินคนสำคัญของขบวนการที่รวมทั้งปอล เซซาน และปอล โกแก็ง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกามีย์ ปีซาโร · ดูเพิ่มเติม »

การทารุณเด็กทางเพศ

การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการทารุณเด็กทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การทำเหมืองเหล็กสวีเดนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

แร่เหล็กสวีเดน ถือได้ว่าเป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจที่สำคัญในเขตสงครามยุโรปของสงครามโลกครั้งที่สอง ทั้งฝ่ายสัมพันธมิตรและนาซีเยอรมนีต่างต้องการควบคุมย่านอุตสาหรรมเหมืองแร่ทางเหนือสุดของสวีเดน ล้อมรอบเมืองทำเหมืองเยลิวาระและคิรูนา ความสำคัญของประเด็นดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นหลังจากแหล่งแร่เหล็กอื่น ๆ ของเยอรมนีถูกขัดขวางโดยการปิดล้อมทางทะเลของสหราชอาณาจักรระหว่างยุทธนาวีแอตแลนติก ทั้งแผนการที่จะให้ความช่วยเหลือฟินแลนด์ระหว่างสงครามฤดูหนาวของอังกฤษและฝรั่งเศส และการยึดครองเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ปฏิบัติการแวเซรือบุง) ล้วนตั้งอยู่บนเจตนาที่จะกีดกันมิให้ฝ่ายตรงข้ามสามารถเข้าถึงการผลิตเหล็กกล้าอันสำคัญยิ่งระหว่างสงคราม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการทำเหมืองเหล็กสวีเดนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Commercial sexual exploitation of children ตัวย่อ CSEC) เป็นธุรกรรมทางการค้าที่อาศัยการฉวยประโยชน์ทางเพศ (sexual exploitation) จากเด็ก เช่นการค้าประเวณี และสื่อลามกอนาจาร อาจจะมีการบีบบังคับและการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก เท่ากับเป็นแรงงานบังคับและเป็นรูปแบบความเป็นทาสยุคปัจจุบัน รวมทั้งการให้บริการทางเพศของเด็กเพื่อผลประโยชน์แลกเปลี่ยน จะเป็นเงินทองหรืออะไรอย่างอื่นก็ดี ปฏิญญาของงานประชุมโลกใหญ่ต้านการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Declaration of the First World Congress against Commercial Sexual Exploitation of Children) ที่ประชุมในเมืองสตอกโฮล์มปี 2539 นิยาม CSEC ว่า CSEC ยังหมายถึงเซ็กซ์ทัวร์ และธุรกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ ที่เด็กร่วมกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย หรือการศึกษา รวมทั้งรูปแบบที่สมาชิกในบ้านไม่ห้ามหรือแจ้งตำรวจเกี่ยวกับทารุณกรรมต่อเด็ก เนื่องจากได้ผลประโยชน์จากผู้กระทำผิด และอาจรวมการแต่งงานแบบคลุมถุงชนสำหรับเด็กที่ยังไม่ถึงอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ ที่เด็กไม่ได้ยินยอมและถูกทารุณทางเพศ ศูนย์เพื่อเด็กหายและถูกฉวยผลประโยชน์แห่งชาติ (National Center for Missing and Exploited Children) ซึ่งเป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน (แต่เบื้องต้นจัดตั้งโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา) กล่าวว่า เด็กหญิง 1 ใน 5 และเด็กชาย 1 ใน 10 จะถูกฉวยประโยชน์หรือทารุณกรรมทางเพศก่อนจะโตเป็นผู้หใญ่ ส่วนกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) กล่าวว่า การฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็กเป็น "การล่วงละเมิดสิทธิที่รุนแรงที่สุดที่เด็กคนหนึ่งอาจจะต้องอดทนอดกลั้น".

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 · ดูเพิ่มเติม »

การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907

ัตุรัสเยเรวาน สถานที่เกิดเหตุปล้น ถ่ายในคริสต์ทศวรรษ 1870 การปล้นธนาคารในติฟล..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907 · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กาตาร์แอร์เวย์

กาตาร์แอร์เวย์ (القطرية) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ให้บริการบินสู่จุดหมายมากกว่า100แห่งทั่วโลก จัดเป็นหนึ่งในสายการบินที่เติบโตเร็วที่สุด และเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับจาก Skytrax ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาวในแต่ละปีมีผู้โดยสารใช้บริการถึง 12 ล้านคน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

กุนนีลา เบอร์นาดอตต์

กุนนีลา มาร์ธา หลุยส์ เบอร์นาดอตต์ เคาน์เตสแห่งวิสบอรย์ (Gunnila Märta Louise Bernadotte) มีนามเดิมว่า กุนนีลา มาร์ธา หลุยส์ วัชมีสเตอร์ อัฟ โยฮันนีชูส์ (Gunnila Märta Louise Wachmeister af Johannishus; 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 – 12 กันยายน พ.ศ. 2559) เป็นภริยาของคาร์ล โยฮัน เบอร์นาดอตต์ อดีตเจ้าชายแห่งสวีเดน และพระปิตุลานีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกุนนีลา เบอร์นาดอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิก (Football) การแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกเริ่มขึ้นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 โดยกำหนดให้นักกีฬามาจากนักฟุตบอลสมัครเล่น เริ่มแรกอังกฤษได้เหรียญทองในปี 1900 1908 และ 1912 หลังจากนั้นก็ไม่ได้เหรียญทองอีกเลย ฮังการีเคยครองเหรียญทองปี 1964 และ 1968 โดยทำสถิติชนะรวด 18 นัด อุรุกวัยก็เป็นอีกทีมที่ชนะสองครั้งติดต่อกันในปี 1924 และ 1928 ในปี 1996 ไนจีเรียสามารถครองเหรียญทองได้ ส่วนฟุตบอลหญิงในกีฬาโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นในปี 1996 ที่สหรัฐอเมริกา และเจ้าภาพก็ได้ครองเหรียญทองเป็นประเทศแรก ในปี 1984 คณะกรรมการโอลิมปิกสากลอนุญาตให้นักกีฬาอาชีพลงแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกได้ ดังนั้นกีฬาฟุตบอลจึงเปลี่ยนกฎให้นักกีฬาอาชีพลงเล่นได้ โดยมีข้อบังคับว่า ทีมชายจะต้องมีอายุต่ำกว่า 23 ปี และอนุญาตให้แต่ละทีมมีผู้เล่นที่อายุเกินได้ 3 คนเท่านั้นจากจำนวนรายชื่อผู้เล่น 18 คน ที่ส่งมา ส่วนฟุตบอลหญิงมีกฎบังคับว่า ผู้เล่นต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 16 ปี กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึง 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

การแข่งขันกีฬากระโดดน้ำในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 จัดการแข่งขันที่สต็อคโฮล์ม ประเทศสวีเดน มีการชิงชัย 4 เหรียญทอง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬากระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 จัดแข่งขันที่สต็อคโฮล์ม ประเทศสวีเดน แข่งขัน 30 ประเภท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

การแข่งขันกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 เป็นการแข่งขันมวยปล้ำโอลิมปิกที่จัดขึ้นในกรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 6 - 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 จัดแข่งขันที่สต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน แข่งขัน 4 ประเภท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 เป็นการแข่งขันว่ายน้ำโอลิมปิกที่จัดขึ้นในกรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 6 - 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิก (Hockey) กีฬาฮอกกี้ประเภทชายเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกีฬาโอลิมปิกตั้งแต่ปี 1908 ซึ่งผู้ที่ครองความเป็นจ้าวในกีฬาชนิดนี้คืออินเดียและปากีสถาน อย่างไรก็ตามทีมฮอกกี้จากนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย อังกฤษ และเยอรมนี ก็ถือได้ว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากเช่นกัน ส่วนประเภทหญิงนั้น เพิ่งมีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี 1980 ที่กรุงมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย ทีมฮอกกี้หญิงจากประเทศซิมบับเวก็เป็นทีมแรกที่ได้แชมป์ในการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก จากนั้นมาก็มีทีมจากเนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลียและสเปน ได้รับเหรียญทองจากการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกครั้งต่อๆมา ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ทีมฮอกกี้จากออสเตรเลียสามารถครองความยิ่งใหญ่ในกีฬาชนิดนี้ โดยการคว้าเหรียญทองในโอลิมปิกที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ ในปี 1988 และที่แอตแลนต้า สหรัฐอเมริกา ในปี 1996 กีฬาฮอกกี้โอลิมปิกฤดูร้อน 2012 มีชิงชัย 2 เหรียญทอง แบ่งเป็นทีมชายและทีมหญิง เริ่มแข่งขันวันที่ 29 กรกฎาคม ถึง 11 สิงหาคม 2555 สนามที่ใช้ในการแข่งขัน: Riverbank Arena นักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขัน 24 ทีม จาก 15 ประเท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก

กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก (Deaflympics) เป็นมหกรรมกีฬาของผู้พิการทางการได้ยิน ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดยคณะกรรมการกีฬาผู้พิการการทางการได้ยินสากล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาขี่ม้าในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาขี่ม้าในโอลิมปิก (Equestrian) ถือได้ว่าเป็นกีฬาชนิดเดียวเท่านั้นที่คนกับสัตว์อยู่ในทีมเดียวกัน และชัยชนะจะเกิดขึ้นได้ก็ต้องขึ้นอยู่กับสัมพันธภาพที่มาจากความเชื่อใจและการยอมรับซึ่งกันและกันระหว่างคนกับม้า นอกจากนั้นยังเป็นกีฬาชนิดหนึ่งในไม่กี่ชนิดที่ชายและหญิงมีความเท่าเทียมกันในทุกด้าน สามารถเข้าร่วมการแข่งขันในรายการใดๆ ด้วยกันโดยมีสิทธิต่างๆที่เหมือนกัน เมื่อได้รับชัยชนะก็ขึ้นรับเหรียญรางวัลที่แท่นเดียวกัน ไม่มีการแบ่งเพศแบบกีฬาชนิดอื่นๆ อีกทั้งยังนับว่าเป็นกีฬาที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติมากชนิดหนึ่งด้วย เมื่อประเทศออสเตรเลียได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพเป็นครั้งแรกในการจัดการแข่งขันโอลิมปิกปี 1956 ที่กรุงเมลเบิร์น แต่การแข่งขันขี่ม้า กลับเกิดขึ้นที่กรุงสต็อคโฮล์ม ประเทศสวีเดน ในครั้งนั้น ออสเตรเลียเข้มงวดมากเกี่ยวกับกฎหมายกักกันพืชและสัตว์ ก่อนที่จะอนุญาตให้นำม้าเข้าประเทศจะมีกระบวนการที่ยุ่งยากมาก เพื่อตัดปัญหาความยุ่งยากดังกล่าว จึงตัดสินใจให้มีการแข่งขันขี่ม้านอกประเทศ ซึ่งออสเตรเลียเลือกกรุงสต็อกโฮล์ม เมืองหลวงของประเทศสวีเดนเป็นสถานที่แข่งขัน ในขณะที่กีฬาชนิดอื่นๆทั้งหมดทำการแข่งขันที่เมลเบิร์น หมวดหมู่:ชนิดกีฬาในโอลิมปิกฤดูร้อน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาขี่ม้าในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโปโลน้ำ (Water Polo) ถือเป็นกีฬาที่เล่นเป็นทีมชนิดแรกๆที่เข้าสู่กีฬาโอลิมปิก ซึ่งได้รับการบรรจุเข้าในโอลิมปิก ในปี 1900 เป็นครั้งแรก ซึ่งมีการแข่งขันตลอดมาทุกครั้งจนถึงปัจจุบัน และในโอลิมปิกปี 2000 ที่ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย มีการแข่งขันโปโลน้ำหญิงเป็นครั้งแรก หลังจากที่ประเภทชายกลายมาเป็นกีฬาหลักของโอลิมปิกมากว่า 1 ศตวรรษ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

การแข่งขันเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 เป็นการแข่งขันเทนนิสโอลิมปิกที่จัดขึ้นในสต็อคโฮล์ม ประเทศสวีเดน กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม - 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและกีฬาเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ศรีชาพันธุ์

ราดร ศรีชาพันธุ์ (ชื่อเล่น บอล, เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2522) ฉายา "ซูเปอร์บอล" เป็นนักเทนนิสชาวไทย และเป็นอดีตนักเทนนิสชายชาวเอเชียที่มีอันดับสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ด้วยอันดับ 9 ของโลกในปี พ.ศ. 2546 ภราดรเริ่มเล่นในระดับอาชีพเมื่อปี พ.ศ. 2540 และในรายการเอทีพี ปี พ.ศ. 2541 โดยจบปีด้วยอันดับท้ายๆ ของมือวางร้อยอันดับแรกของเอทีพีมาหลายปี จนกระทั่งปี พ.ศ. 2545 สามารถเป็นขึ้นมือวาง 30 อันดับแรก ภายหลังจากสามารถเอาชนะ อังเดร อากัสซี ในรายการวิมเบิลดัน และขึ้นเป็นอันดับ 9 ของโลกในปี 2546.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและภราดร ศรีชาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ษาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ เป็นสาขาหนึ่งของโอลิมปิกวิชาการของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา แตกต่างจากโอลิมปิกวิชาการแขนงอื่น ๆ เนื่องจากจะแบ่งการแข่งขันออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การแข่งขันแบบรายบุคคลและแบบกลุ่ม ผู้เข้าแข่งขันจะต้องใช้รู้ทางด้านภาษาศาสตร์วรรณนา ภาษาศาสตร์ทฤษฎี และภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์เพื่อตอบโจทย์ โดยที่ความรู้ทางภาษาใดภาษาหนึ่งของผู้เข้าแข่งขันไม่ได้ช่วยให้มีข้อได้เปรียบในการตอบโจทย์ที่เกี่ยวกับภาษาที่ตนรู้เท่าใดนัก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและภาษาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอุปซอลา

อันเดอส์ เซลเซียส มหาวิทยาลัยอุปซอลา (Uppsala Universitetet) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยระดับนานาชาติ ตั้งอยู่ที่มณฑลอุปซอล่า ขึ้นไปทางตอนเหนือของกรุงสตอกโฮล์ม ประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมหาวิทยาลัยอุปซอลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาสงครามเหนือ

มหาสงครามเหนือ (Great Northern War; Северная война; Stora nordiska kriget) เป็นสงครามครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ ปีคริสต์ศักราชที่ 1700 ต่อเนื่องไปจนถึงวันที่ 10 กันยายน ปีคริสต์ศักราช 1721 รวมระยะเวลาทั้งหมดเป็น 21 ปี นำโดยจักรวรรดิรัสเซียแห่งฝ่ายพันธมิตรเข้าปะทะกับจักรวรรดิสวีเดนในภูมิภาคยุโรปกลางและยุโรปเหนือ ก่อนจะนำมาด้วยชัยชนะของฝ่ายพันธมิตรและการก้าวขึ้นมามีอำนาจสูงสุดของรัสเซียเหนือคาบสมุทรบอลติก รวมถึงการเข้ามามีอิทธิพลในยุโรปของรัสเซียจวบจนปัจจุบัน ส่วนสวีเดนต้องตกอยู่ใต้ "ยุคแห่งเสรีภาพ" อันมีระบบรัฐสภาปกครองประเทศอันเนื่องมาจากเหตุสวรรคตของพระเจ้าชาลส์ที่ 12นำไปสู่ยุคไร้พระมหากษัตริย์ของสวีเดนถึง 54 ปี สงครามนี้นำด้วยกองทหารสองเหล่าทัพ โดยมีฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นผู้เปิดฉากต่อสู้ก่อน นำโดยพระเจ้าปีเตอร์มหาราชแห่งรัสเซีย พระเจ้าเฟรเดอริคที่ 4 แห่งเดนมาร์ก-นอร์เวย์ และพระเจ้าออกัสตัสที่ 2 แห่งแซกซ์-โปแลนด์-ลิทัวเนีย ซึ่งต่อมาได้ถอนกำลังออกในปี ค.ศ. 1700 และปี ค.ศ. 1706 ตามลำดับ แต่ในปี ค.ศ. 1709ก็ได้นำกองทัพเข้ามาสมทบต่อจนสิ้นสงคราม นอกจากนี้ยังมี พระเจ้าจอร์จที่ 1นำทัพจากฮาโนเวอร์เข้ามาร่วมสงครามในปี ค.ศ. 1714 และได้นำทัพจากบริเตนใหญ่เข้ามาสมทบภายหลังในปี ค.ศ. 1717 รวมทั้งพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งบรานเดนบูร์ก-ปรัสเซียที่นำกองทัพเข้ามาสมทบในปี ค.ศ. 1715 อีกด้วย ส่วนทางด้านฝ่ายสวีเดนนั้นนำด้วยพระเจ้าชาลส์ที่ 12 โดยมีกองทัพแห่งโฮลชไตน์-ก็อธธอร์ป รวมทั้งทัพโปแลนด์-ลิทัวเนียที่นำโดยกษัตริย์สตานิสลอว เลซซิงสกีในปี ค.ศ. 1704 ถึงปี ค.ศ. 1710 และกองทัพคอสแซคภายใต้การนำทัพของอีวาน มาเซปปา รองผู้บัญชาการทัพสูงสุดแห่งชนชาติยูเครน รวมถึงสุลต่านอาห์เมดที่นำทัพออตโตมันร่วมสงครามกับฝ่ายสวีเดนแล้วมุ่งหน้าปะทะกับกองทัพรัสเซียเป็นหลักอีกด้วย สงครามเปิดฉากด้วยการที่กองทัพพันธมิตรแห่งเดนมาร์ก-นอร์เวย์ แซกโซนี โปแลนด์-ลิทัวเนีย และรัสเซียกรีฑาทัพเข้าโจมตีโฮลชไตน์-ก็อธธอร์ป ลิโวเนีย และอินเกรียอันเป็นดินแดนของจักรวรรดิสวีเดนซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของพระเจ้าชาลส์ที่ 12ที่ในสมัยนั้นยังทรงพระเยาว์ จึงขาดความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างมาก ฝ่ายสวีเดนจึงได้แต่ตั้งหน้ารับการโจมตีของฝ่ายพันธมิตรอยู่ท่าเดียว จนกระทั่งยุทธการนั้นจบลงด้วยสนธิสัญญาสงบศึกแห่งทราเวนดอล นับตั้งแต่นั้นมหาสงครามเหนือก็ได้เริ่มขึ้น และกลายเป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งๆ ในประวัติศาสตร์ยุโรปเลยทีเดียว หลังจากระยะสงครามที่ยืดเยื้อมาถึง 21 ปีแล้ว จักรวรรดิสวีเดนได้เริ่มทำสนธิสัญญาสตอกโฮล์มเพื่อสงบศึกกับฮาโนเวอร์และปรัสเซียในปี ค.ศ. 1719 ต่อมาในปี ค.ศ. 1720 ได้ทำสนธิสัญญาสงบศึกเฟรเดริกส์เบิร์กกับฝั่งเดนมาร์ก-นอร์เวย์ แต่ก็ยังยืนกรานที่จะเปิดสงครามกับรัสเซียต่อไป จนกระทั่งปี ค.ศ. 1721 สวีเดนแพ้สงครามในที่สุด จนสวีเดนต้องทำสนธิสัญญาสงบศึกนีสตาดกับรัสเซีย โดยสนธิสัญญาทั้งสามฉบับสวีเดนต้องเสียสินทรัพย์และดินแดนเป็นจำนวนไม่น้อยเป็นค่าปฏิกรรมสงครามเลยทีเดียว ท้ายที่สุดแล้วสวีเดนจึงต้องสูญเสียอำนาจในการปกครองดินแดนหลายๆ ส่วน นอกจากนั้นยังโดนลดอำนาจในคาบสมุทรบอลติกลงและยังต้องเปลี่ยนระบอบการปกครองเพราะสิ้นราชวงศ์ในสงครามอีกด้วย ส่วนรัสเซียนั้นหลังจบสงครามก็ได้เริ่มต้นยุคแห่งการแผ่ขยายอำนาจออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล ก่อนที่จะหยุดลงในสองศตวรรษหลังจากนั้นเอง แต่อิทธิพลของรัสเซียที่มีต่อยุโรปและต่อประชาคมโลกยังคงมีอยู่ แม้จะน้อยลงบ้างก็ตาม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมหาสงครามเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

มัลเมอ

มัลเมอ (Malmö) เป็นเมืองมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศสวีเดน รองจากสตอกโฮล์มและเยอตาบอร์ ประชากรในเขตเมืองมี 280,415 คน (ธันวาคม ค.ศ. 2010) มัลเมอเป็นหนึ่งในเมืองแรก ๆ ในสแกนดิเนเวียที่เป็นเมืองอุตสาหกรรม แต่ก็พยายามดัดแปลงสู่หลังยุคอุตสาหกรรม ตั้งแต่ก่อสร้างสะพานเออเรซุนด์ เมืองก็เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่กับการพัฒนาด้านสถาปัตยกรรม มีบริษัทไอทีและ เทคโนโลยีชีวภาพ เมืองยังมีอาคารและสวน ทางประวัติศาสตร์ เมืองนี้ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมัลเมอ · ดูเพิ่มเติม »

มายเลิฟ (เพลงของเซลีน ดิออน)

"มายเลิฟ" (My Love) คือซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออน จากอัลบั้ม มายเลิฟ: เอสเซนเชียลคอลเลกชัน (My Love: Essential Collection) เพลงนี้เริ่มเผยแพร่ทางวิทยุเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2551 และเปิดให้ดาวน์โหลดในวันต่อมา ในส่วนของซิงเกิลรูปแบบซีดีออกจำหน่ายในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ในสหราชอาณาจักร และวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ในเยอรมนี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมายเลิฟ (เพลงของเซลีน ดิออน) · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน โฮล์ม

มาร์ติน โฮล์ม (Martin Holm; 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976 — 24 มิถุนายน ค.ศ. 2009) เป็นนักมวยไทยชาวสวีเดน และเป็นอดีตแชมป์รายการ WMC มวยไทยโลก ในการแข่งขันเค-วัน เขามีโอกาสสู้กับนักมวยดังในขณะนั้น เช่น เออร์เนสโต ฮูสท์, เรย์ เซโฟ, ไมเคิล แมกโดนัลด์ และ โกลบ เฟโตซ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมาร์ติน โฮล์ม · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 (Miss Grand International 2014.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 2 กำหนดจัดกิจกรรมกองประกวด ณ จังหวัดสุโขทัย และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2010

มิสเวิลด์ 2010 (Miss World 2010) เป็นการประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 60 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 โดยแต่เดิมนั้นการประกวดมิสเวิลด์ในปีนี้จะจัดขึ้นที่เมืองญาจาง ประเทศเวียดนาม ซึ่งเคยเป็นเจ้าภาพในการจัดประกวดนางงามจักรวาล 2008 มาก่อน แต่เวียดนามได้ขอสละสิทธิ์ในการเป็นเจ้าภาพการประกวดมิสเวิลด์ ด้วยเหตุผลคือขาดงบประมาณและขาดการสนับสนุนจากรัฐบาล ทำให้การประกวดปีนี้ต้องกลับมาจัดที่เมืองซานย่า ประเทศจีนอีกครั้ง หลังจากที่เคยเป็นเจ้าภาพไปแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2550 การประกวดในปีนี้มีสาวงามเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 115 คนจากทั่วโลก โดยมี ไคแอน อัลโดริโน มิสเวิลด์ 2552 จากประเทศยิบรอลตาร์ ได้มาส่งมอบตำแหน่งให้กับ อเล็กซานเดรีย มิลล์ส สาวงามวัย 18 ปีจากประเทศสหรัฐอเมริกา ครองตำแหน่งมิสเวิลด์ประจำปีนี้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมิสเวิลด์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2013

มิสเวิลด์ 2013, ครั้งที่ 63 จัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมิสเวิลด์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมิสเวิลด์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรป (วงดนตรี)

รป (Europe) เป็นกลุ่มดนตรีจากสต็อกโฮล์ม สวีเดน เล่นดนตรีแนวฮาร์ดร็อก และแกลมเมทัล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและยุโรป (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17

ูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 เป็นฤดูกาลที่ 46 ของการแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลในระดับรองของยุโรป ซึ่งจัดขึ้นโดย สหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) และเป็นฤดูกาลที่ 8 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อจาก ยูฟ่าคัพ มาเป็น ยูฟ่ายูโรปาลีก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ

การแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ เริ่มต้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายนและจะสิ้นสุดในวันที่ 25 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ

ูฟ่า คัพ วินเนอร์ส คัพ (UEFA Cup Winners’ Cup, ชื่อเดิม ยูโรเปี้ยน คัพ วินเนอร์ส คัพ) เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลสโมสรของยุโรป โดยการนำเอาทีมที่เป็นแชมป์ฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ของฟุตบอลลีกยุโรปในปีนั้นๆ มาทำการแข่งขันกัน จัดการแข่งขันโดยยูฟ่า เริ่มจัดการแข่งขันตั้งแต่ฤดูกาล 1960-61 จนกระทั่งถึงฤดูกาล 1998-99 การแข่งขันถ้วยดังกล่าวก็ได้ถูกล้มเลิกไป เพื่อหลีกทางให้กับการจัดการแข่งขัน แชมเปี้ยนส์ ลีก โดยที่ผู้ชนะเลิศในฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ก็จะได้สิทธิในการเข้าร่วมแข่งขันในถ้วยยูโรป้า ลีกแทน คัพ วินเนอร์สคัพ ได้รับการพิจารณาให้เป็นการแข่งขันของสโมสรยุโรปอันดับที่สองรองจาก ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก หรือยูโรเปี้ยน คัพ แต่มีความสำคัญมากกว่ายูโรป้า ลีก แม้ผู้บรรยายกีฬาหลายคนมักจะระบุว่า การได้แชมป์รายการนี้มีระดับความง่ายที่สุดใน 3 ถ้วยก็ตาม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รอล์ฟ ซีเวอร์ต

รอล์ฟ แมกซิมิเลียน ซีเวอร์ต (Rolf Maximilian Sievert; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1896 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 1966) เป็นนักฟิสิกส์การแพทย์ชาวสวีเดน เกิดที่กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรอล์ฟ ซีเวอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

รัศมีแข ฟ้าเกื้อล้น

รัศมีแข ฟ้าเกื้อล้น ชื่อเกิด เจมส์ ฟอเกอร์ลุนด์ฟ มีชื่อเล่นว่า เจมส์ ชื่อเล่นในวงการ รัศมีแข แข หรือ แจ่ม เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 รัศมีแขเป็นลูกครึ่ง ไทย - อัฟโฟรอเมริกัน รัศมีแขมีผลงานที่ทำให้เป็นที่รู้จักมากที่สุด คือ ''Club Friday To Be Continued'' ตอน เพื่อนรัก เพื่อนร้าย รับบท เอ็นจอย พิธีกรในรายการ สน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรัศมีแข ฟ้าเกื้อล้น · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ราบัต

ราบัต (Rabat), อัรเราะบาฏ (الرباط) หรือ เอร์บัต (เบอร์เบอร์: ⴻⵔⵔⴱⴰⵟ) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศโมร็อกโก มีประชากรประมาณ 650,000 คน ตั้งอยู่ติดมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นแหล่งอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมก่อสร้าง และอุตสาหกรรมผ้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและราบัต · ดูเพิ่มเติม »

รามาซาน รามาซานอฟ

รามาซาน รามาซานอฟ (Рамазан Рамазанов; Ramazan Ramazanov) เจ้าของฉายา เดอะพันนิชเชอร์ เกิดวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรามาซาน รามาซานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา

นลสัน แมนเดลา รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสัตว์

;.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อสวนสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ

นแสดงพันธุ์สัตว์น้ำรัฐจอร์เจีย. วาฬเบลูก้า จัดแสดงใน สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำแวนคูเวอร์.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ เป็นรายชื่อของตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก โดยตลาดหลักทรัพย์เป็นสถานที่ที่มีการซื้อขายหุ้น นอกจากนี้ยังมีตลาดอนุพันธ์และตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าอีกด้ว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสวีเดนทั้งสิ้น 15 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 13 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แหล่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร

รายชื่อของเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป จัดอันดับจากจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้น ๆ นับจากเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 3 แสนคนขึ้นไป ในรายชื่อนี้เมืองบางเมืองอาจจะแคบมาก บางเมืองอาจจะใหญ่มาก รายชื่อที่จัดอันดับมานี้อาจจะมีข้อถกเถียง เช่น เขตมหานครลอนดอนและเขตมหานครปารีส (รวมปริมณฑล) เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป แต่ขอบเขตของเมืองปารีสที่แท้จริงมีขนาดเล็กกว่าลอนดอน ดังนั้นจึงมีอันดับน้อยกว่าในตารางด้านล่าง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็ยพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936 และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุกๆครั้ง โอลิมปิกครั้งก่อนๆได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินสตอกโฮล์ม

รถไฟใต้ดินสตอกโฮล์ม (Stockholms tunnelbana) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินในกรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1950 ปัจจุบันมีจำนวน 100 สถานี โดยเป็นสถานีใต้ดิน 47 สถานี และยกระดับ 53 สถานี มีจำนวน 10 เส้นทาง จัดได้เป็นกลุ่มสาย 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสายสีน้ำเงิน แดง และเขียว ระยะทางทั้งหม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและรถไฟใต้ดินสตอกโฮล์ม · ดูเพิ่มเติม »

ลอรีน

ลอรีน (Loreen หรือชื่อจริงว่า Lorine Zineb Noka Talhaoui) เกิดเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและลอรีน · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิก เอากุสตินซอน

ันส์ คาร์ล ลุดวิก เอากุสตินซอน (Hans Carl Ludwig Augustinsson) เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและลุดวิก เอากุสตินซอน · ดูเพิ่มเติม »

ลูอีส เมานต์แบ็ตเทน

ลูอิส อเล็กซานดรา มารี อีรีน เมานต์แบ็ตเทน (Louise Alexandra Marie Irene Mountbatten) หรือพระนามเดิมคือ เจ้าหญิงลูอีสแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Louise of Battenberg) เป็นเจ้าหญิงจากตระกูลบัทเทนแบร์กซึ่งมีเชื้อเจ้าเยอรมัน พระนางอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์สวีเดนและได้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและลูอีส เมานต์แบ็ตเทน · ดูเพิ่มเติม »

วอล์กกิงออนแอร์ (เพลงเคที เพร์รี)

"วอล์กกิงออนแอร์" (Walking on Air) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี จากสตูดิโออัลบั้มที่สี่ ปริซึม (2013) เป็นเพลงลำดับที่สี่ เพลงออกจำหน่ายในร้านค้าดิจิตอลในวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวอล์กกิงออนแอร์ (เพลงเคที เพร์รี) · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1989

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1989 (1989 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 16 ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม, เออเรบรู, ประเทศเบลเยียม ระหว่างวันที่ 23 กันยายน – 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1989 · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติสวีเดน

วันชาติสวีเดน (Sveriges nationaldag) เป็นวันหยุดประจำชาติของประเทศสวีเดน เกิดขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน ของทุกปี ก่อนหน้..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวันชาติสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

วันการล้างมือโลก

วันการล้างมือโลก (Global Handwashing Day) เป็นการรณรงค์เพื่อกระตุ้นและระดมประชากรกว่าล้านคนทั่วโลกให้ล้างมือด้วยสบู่ การรณรงค์ดังกล่าวเป็นการอุทิศให้กับความตระหนักที่เพิ่มขึ้นของการล้างมือพร้อมสบู่ ซึ่งเป็นการป้องกันเชื้อโรคที่สำคัญได้ทางหนึ่ง วันการล้างมือโลกเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นหลังจากสัปดาห์น้ำโลกประจำปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวันการล้างมือโลก · ดูเพิ่มเติม »

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน (விளையனூர் இராமச்சந்திரன் วิลยนูรฺ สุพฺรหฺมณฺยมฺ รามจนฺทรน Vilayanur Subramanian Ramachandran; เกิด พ.ศ. 2494) เป็นนักประสาทวิทยาศาสตร์ ที่มีผลงานเป็นที่รู้จักกันในสาขาพฤติกรรมประสาทวิทยา (behavioral neurology) และ จิตฟิสิกส์ (psychophysics) ดร.รามจันทรันปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการของศูนย์สมองและการรับรู้ (Center for Brain and Cognition) และศาสตราจารย์ในคณะจิตวิทยา และคณะประสาทวิทยาศาสตร์ในระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร.รามจันทรันมีชื่อเสียงในการทดลอง ที่ไม่ต้องอาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนเช่นการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) แต่ถึงแม้ว่าจะใช้วิธีที่ง่าย ๆ ดร.รามจันทรันก็ได้สร้างความคิดใหม่ ๆ มากมายเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ริชาร์ด ดอว์กินส์ (ผู้เป็นนักชีววิทยาวิวัฒนาการที่มีชื่อเสียง) ได้เรียก ดร.รามจันทรันว่า "นายมาร์โก โปโล ของประสาทวิทยาศาสตร์" และเอริค แกนเดิล (ผู้เป็นแพทย์ประสาทจิตเวชผู้ได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 2000) ได้เรียกเขาว่า "นายพอล์ โบรคา ในยุคปัจจุบัน" นิตยสาร Newsweek (ข่าวสัปดาห์) ยก ดร.รามจันทรันให้เป็นสมาชิกสโมสรแห่งศตวรรษ (The Century Club) เป็นบุคคลเด่นที่สุดคนหนึ่งใน 100 คนที่ควรจะติดตามในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน · ดูเพิ่มเติม »

วิตนิสส์ (อัลบั้มเคที เพร์รี)

วิตนิสส์ (Witness) เป็นสตูดิโออัลบัมลำดับที่ห้าของเคที เพร์รี นักร้องอเมริกัน ค่ายเพลงแคปิตอลปล่อยซิงเกิลแรก "เชนด์ทูเดอะริทึม" เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวิตนิสส์ (อัลบั้มเคที เพร์รี) · ดูเพิ่มเติม »

วิโอลาบีช

วิโอลาบีช (Viola Beach) เป็นกลุ่มนักร้องแนวอินดีป็อปชาวอังกฤษ ก่อตั้งในวอร์ริงตัน มณฑลเชชเชอร์ ใน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและวิโอลาบีช · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรป

ัญลักษณ์ของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหภาพยุโรป (ECDC) ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหภาพยุโรป (European Centre for Disease Prevention and Control (ECDC)) เป็นหน่วยงานอิสระของสหภาพยุโรป มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการป้องกันโรคติดเชื้อในยุโรป ศูนย์ดังกล่าวก่อตั้งเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สมาร์ตซิตี

ฟถนนในเมืองอัมเสตอร์ดัมที่สามารถปรับหรี่ลงได้ตามจำนวนของผู้คนสัญจร สมาร์ตซิตี (smart city) หรือ เมืองอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิตัล หรือข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธิและคุณภาพของบริการชุมชน เพื่อช่วยในการลดต้นทุน และลดการบริโภคของประชากร โดยยังคงเพิ่มประสิทธิภาพให้ประชาชนสามารถอยู่อาศัยได้ในคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การพัฒนาสมาร์ตซิตีมีการพัฒนาในหลายภาคส่วนรวมถึง หน่วยงานราชการ การจราจรและขนส่ง พลังงาน สาธารณสุข โครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการจัดการเมืองและชุมชน และการตอบสนองแบบทันท่วงที ตัวอย่างเมืองที่มีการประยุกต์แนวคิดสมาร์ตซิตี ได้แก่ เซาธ์แธมป์ตัน อัมสเตอร์ดัม บาร์เซโลนา และสตอกโฮล์ม ศัพท์ที่หมายถึงสมาร์ตซิตี มีหลากหลายรวมถึง ‘cyberville, ‘digital city’’, ‘electronic communities’, ‘flexicity’, ‘information city’, 'intelligent city', ‘knowledge-based city, 'MESH city', ‘telecity, ‘teletopia’’, 'Ubiquitous city', ‘wired city’.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสมาร์ตซิตี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ (สวีเดน: Carl XVI Gustaf; Carl XVI Gustaf of Sweden) ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรสวีเดน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1946 เป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ มกุฎราชกุมารในขณะนั้นและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระราชมารดาของพระองค์เป็นพระราชปนัดดาใน สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งสวีเดนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1973 ทั้งนี้ พระองค์ยังทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่ 1 ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีนาถคริสติน่าแห่งสวีเดน เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟ อดอล์ฟที่ 2 แห่งสวีเดน ประสูติในปี ค.ศ. 1626 ในพระราชวังสตอกโฮลม์ ประเทศสวีเดน พระนางมีบุคลิกลักษณะเหมือนผู้ชายมากกว่าผู้หญิง โปรดการทรงม้า การลุกนั่งแบบผู้ชายและฉลองพระองค์สั้นผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทเรียกพระนางว่า เจ้าชายคริสติน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน

ซีเร คลารี หรือ เบอร์นาร์ดีน เออเฌนี เดซีเร คลารี (ฝรั่งเศส:Bernardine Eugénie Désirée Clary; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1777 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1860) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ โดยทรงเป็นพระมเหสีในพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน อดีตนายพลชาวฝรั่งเศสและเป็นผู้สถาปนาราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ และครั้งหนึ่งพระนางทรงเคยเป็นคู่หมั้นในนโปเลียน โบนาปาร์ต พระนางทรงเปลี่ยนพระนามอย่างเป็นทางการเป็น เดซีเดอเรีย (Desideria) พระนามในภาษาละติน ซึ่งพระนางก็ไม่ทรงเคยใช้แทนพระองค์เอง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สยิว

ว เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสยิว · ดูเพิ่มเติม »

สวานเต อาร์เรเนียส

วานเต ออกัส อาร์เรเนียส สวานเต ออกัส อาร์เรเนียส (Svante August Arrhenius -19 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2402 - 12 ตุลาคม, พ.ศ. 2470) นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน เดิมเป็นนักฟิสิกส์ แต่ส่วนใหญ่ในวงการยอมรับและเรียกอาร์เรเนียสว่าเป็นนักเคมี เป็นผู้ร่วมก่อตั้งวิชาวิทยาศาสตร์สาขาเคมีฟิสิกส์ ได้มีการตั้งชื่อสมการ "สมการอาร์เรเนียส" และ "หลุมอุกกาบาตดวงจันทร์อารร์เนเนียส" เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้อาร์เรเนียสยังเป็นผู้คำนวณและพิสูจน์หาปริมาณความร้อนในปรากฏการณ์เรือนกระจกที่โจเซฟ ฟูริเออร์เป็นผู้ค้นพบอีกด้ว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสวานเต อาร์เรเนียส · ดูเพิ่มเติม »

สวีดิชเฮาส์มาเฟีย

วีดิชเฮาส์มาเฟีย (Swedish House Mafia) เป็นกลุ่มนักดนตรีเฮาส์ ชาวสวีเดน ประกอบด้วย Axwell, Steve Angello และSebastian Ingrosso โดยเริ่มก่อตั้งครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสวีดิชเฮาส์มาเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

หพันธรัฐรัสเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ

หพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations (IAAF)) เป็นองค์กรกีฬาประเภทกรีฑา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์

หราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ หรือ สหภาพสวีเดน–นอร์เวย์ หรือ สวีเดน–นอร์เวย์ (Svensk-norska unionen; Den svensk-norske union) คือรัฐร่วมประมุขระหว่างสวีเดนและนอร์เวย์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สายตรงมอสโก–วอชิงตัน

ทรศัพท์สีแดงในสมัยของประธานาธิบดี จิมมี คาร์เตอร์ สายตรงมอสโก–วอชิงตัน คือระบบที่ใช้สำหรับติดต่อโดยตรงระหว่างผู้นำของสหรัฐอเมริกากับรัสเซียโดยอาจรู้จักกันในอีกชื่อคือ โทรศัพท์สีแดง สายตรงนี้เชื่อมต่อระหว่างทำเนียบขาวผ่านทางศูนย์บัญชาการทหารแห่งชาติ (National Military Command Center) กับเครมลิน สายตรงเกิดขึ้นครั้งแรกในช่วงของสงครามเย็น ปัจจุบันไม่มีการใช้โทรศัพท์สีแดงดังกล่าวแล้ว แต่ช่องทางสายตรงนี้ยังคงมีอยู่เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์กลางการลดความเสี่ยงจากนิวเคลียร์ (Nuclear Risk Reduction Center) ที่ตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1988 โดยประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสายตรงมอสโก–วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซอร์เบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

รณรัฐเซอร์เบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสาธารณรัฐเซอร์เบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันแคโรลินสกา

ันแคโรลินสกา (สวีเดน: Karolinska Institutet) เป็นสถาบันที่สอนทางด้านแพทย์และศัลยศาสตร์ เป็นโรงเรียนแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในสวีเดน และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป มีชื่อเดิมว่า Royal Caroline Institute http://ki.se/ki/jsp/polopoly.jsp?d.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสถาบันแคโรลินสกา · ดูเพิ่มเติม »

สตัฟฟัน เด มิสตูรา

ตัฟฟัน เด มิสตูรา (Staffan de Mistura) เป็นนักการทูตอิตาลี-สวีเดนที่มีประสบการณ์ยาวนานและอดีตสมาชิกของรัฐบาลอิตาลี หลังจากอาชีพ 40 ปีในหลายหน่วยงานของสหประชาชาติ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวง (รัฐมนตรีชั้นรอง) สำหรับการต่างประเทศในรัฐมนตรีอิตาลีที่นำโดยมารีโอ มอนตี ปัจจุบัน เขาเป็นผู้อำนวยการวิลลาซันมีเกเลในกาปรี และทูตพิเศษแห่งสหประชาชาติเพื่อรับมือวิกฤติซีเรีย ตำแหน่งสหประชาชาติของเด มิสตูรา ก่อนหน้าประกอบด้วยผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติในประเทศอิรัก (ค.ศ. 2007–2009) และประเทศอัฟกานิสถาน (ค.ศ. 2010–2011), ผู้แทนส่วนบุคคลของเลขาธิการสหประชาชาติสำหรับเลบานอนตอนใต้ (ค.ศ. 2001–2004) และผู้อำนวยการศูนย์ข้อมูลสหประชาชาติในกรุงโรม (ค.ศ. 2000–2001) งานของเขาได้พาเขาไปสู่จุดที่มีปัญหามากที่สุดในโลกรวมถึงอัฟกานิสถาน, อิรัก, รวันดา, โซมาเลีย, ซูดาน และอดีตยูโกสลาเวี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสตัฟฟัน เด มิสตูรา · ดูเพิ่มเติม »

สปอทิฟาย

ปอทิฟาย (Spotify) เป็นบริการสตรีมเพลง พอตแคสต์ และวิดีโอที่เปิดบริการอย่างเป็นทางการในวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสปอทิฟาย · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก

นามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) เป็นชื่อที่มักจะตั้งให้กับสนามกีฬากลางขนาดใหญ่ สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติ เป็นสนามซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด รวมถึงการแข่งขันประเภทลู่และลาน ซึ่งส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “สนามกีฬาโอลิมปิก” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสนามแข่งขันเหล่านี้ อนึ่ง สนามกีฬากลางของโอลิมปิกฤดูหนาวไม่ใช้ชื่อนี้ อย่างไรก็ตาม อาคารกีฬาบางแห่งอาจใช้ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งมักจะใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด โดยสนามกีฬาโอลิมปิกแต่ละแห่ง ใช้รองรับการแข่งขันเพียงครั้งเดียว ดังนั้นจึงมีสนามกีฬาโอลิมปิกมากกว่าหนึ่งแห่ง ในเมืองซึ่งเป็นเจ้าภาพมาแล้วสองครั้งขึ้นไป ขณะที่มีเพียง โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส (Los Angeles Memorial Coliseum) แห่งเดียวที่เป็นสนามกีฬาหลักถึงสองครั้ง สำหรับพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขันครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ไม่ได้จัดขึ้นที่สนามกีฬาเวมบลีย์ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ ที่เคยเป็นสนามกีฬาหลักในครั้งที่ 14 เมื่อปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แต่เป็นที่สนามกีฬาแห่งใหม่ในแขวงสแตรตเฟิร์ด อย่างไรก็ตาม เวมบลีย์คงเป็นสนามแข่งขันฟุตบอลบางนัด และกลายเป็นสนามกีฬาแห่งที่สอง ซึ่งใช้แข่งขันในโอลิมปิกสองครั้ง แต่เป็นศูนย์กลางเพียงครั้งเดียว ต่อจากสนามคริกเก็ตเมลเบิร์น ซึ่งใช้เป็นสนามแข่งขันกรีฑา ฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ กับฮอกกีในครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และเป็นสนามเหย้านัดแรก ของการแข่งขันฟุตบอลในครั้งที่ 27 เมื่อปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสนามกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิกสตอกโฮล์ม

นามกีฬาโอลิมปิกสตอกโฮล์ม (Stockholms stadion) ตั้งอยู่ที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสนามกีฬาโอลิมปิกสตอกโฮล์ม · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวีย

แกนดิเนเวีย (Scandinavia; Skandinavia; Skandinavien) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ มีศูนย์กลางอยู่ที่คาบสมุทรสแกนดิเนเวียในยุโรปเหนือ มาจากชื่อเดิมว่า มณฑลสกาเนียน (Scanian Province) ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ราชอาณาจักรสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก อาจรวมถึงประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนอร์ดิก เช่น ประเทศไอซ์แลนด์ และประเทศฟินแลนด์ จากความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภาษาและวัฒนธรรม นิยามของสแกนดิเนเวียอาจขยายไปถึงดินแดนที่เคยมีการพูดภาษานอร์เวย์โบราณและดินแดนที่มีการพูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ ดังนั้น ในทางภาษาและวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียจึงรวมถึงประเทศไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร นอกจากนี้ ในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียอาจรวมถึงฟินแลนด์ จากการที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าฟินแลนด์จะมีความเกี่ยวข้องทางวัฒนธรรมกับชาติสแกนดิเนเวียอื่นๆ แต่ชาวฟินแลนด์มีเชื่อชาติและภาษาแบบฟินโน-ยูกริก ซึ่งมีลักษณะของทั้งยุโรปตะวันตกและตะวันออก ถึงแม้ว่าความหมายของสแกนดิเนเวียอาจขึ้นอยู่กับบริบท กลุ่มนอร์ดิก นั้นหมายถึงนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ รวมถึงหมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันทั้งในด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสแกนดิเนเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม

SAS Frösundavik Office Building) สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (Scandinavian Airlines System) เป็นสายการบินร่วมของประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย คือ สวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งสายการบินสแปนแอร์อีกด้ว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2018–19

ูกาล 2018–19 เป็นฤดูกาลที่ 27 ของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในพรีเมียร์ลีก และเป็นฤดูกาลที่ 99 ติดต่อกันบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2018–19 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลฮัมมาร์บี

มสรฟุตบอลฮัมมาร์บี หรือ ฮัมมาร์บี ไอเอฟ (หรือ) เป็นสโมสรฟุตบอลสวีเดน มีสนามเหย้าชื่อว่าเทเลทูอารีนา ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตโยฮันเนสฮอฟ สตอกโฮล์ม ปัจจุบันกำลังแข่งขันในออลสเวนส์คาน ซึ่งเป็นลีกระดับสูงสุดของประเทศ ถ้านับรวมตารางคะแนนตลอดกาลแล้ว ฮัมมาร์บีจะอยู่ในอันดับที่ 12 สโมสรเคยคว้าแชมป์ลีกหนึ่งสมัยในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสโมสรฟุตบอลฮัมมาร์บี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2018–19

ูกาล 2018–19 เป็นฤดูกาลที่ 105 ของเชลซี, และเป็นฤดูกาลที่ 30 ในระดับลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ, ฤดูกาลที่ 27 ติดต่อกันใน พรีเมียร์ลีก, และเป็นปีที่ 113 ในการดำรงก่อตั้ง สโมสรฟุตบอล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2018–19 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2016–17

ูกาล 2016–17 เป็นฤดูกาลที่ 112 ในระบบฟุตบอลลีกอังกฤษและเป็นฤดูกาลที่ 49 อย่างไม่เป็นทางการในระดับสูงของฟุตบอลอังกฤษ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

สเตฟัน เลอเวน

ลล์ สเตฟัน เลอเวน (Kjell Stefan Löfven) เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 เป็นนายกรัฐมนตรีสวีเดนคนปัจจุบัน และเป็นผู้นำพรรภสังคมประชาธิปไตยสวีเดนตั้งแต่ปี 2002.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและสเตฟัน เลอเวน · ดูเพิ่มเติม »

อรรถกิจ พนมยงค์

รองอำมาตย์เอก หลวงอรรถกิติกำจร (อรรถกิจ พนมยงค์) หรือนามเดิม กลึง พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย คนที่ 12 สมาชิกคณะราษฎร และอัครราชทูตไทยประจำกรุงสตอกโฮล์ม นายอรรถกิจ พนมยงค์ มีนามเดิมว่า กลึง พนมยงค์ เป็นบุตรของนายเสียง พนมยงค์ มีพี่น้องร่วมมารดา 1 คน ได้แก่ นางน้อม ตามสกุล และพี่น้องต่างมารดาอีก 6 คน ได้แก่ นางธราทรพิทักษ์ (เก็บ กนิษฐะเสน) นายปรีดี พนมยงค์ นายหลุย พนมยงค์ นางนิติทัณฑ์ประภาศ (ชื่น สุจริต) นางเนื่อง ลิมปินันท์ และนายถนอม พนมยงค์ อรรถกิจ พนมยงค์ ได้เข้าสู่การเมืองฝ่านการชักนำของพี่ชาย ปรีดี พนมยงค์ โดยได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร และได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศถึง 1 สมั.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอรรถกิจ พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ออลสเวนส์คาน

ออลสเวนส์คาน (Allsvenskan) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศสวีเดน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1924.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและออลสเวนส์คาน · ดูเพิ่มเติม »

ออสตราเลเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ออสตราเลเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและออสตราเลเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

อะมีเลีย เคอร์ติส

อะมีเลีย เคอร์ติส (เกิด 28 สิงหาคม ค.ศ. 1972) เป็นนักแสดงหญิงชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอะมีเลีย เคอร์ติส · ดูเพิ่มเติม »

อะวีชี

ทิม แบร์ยลิง (Tim Bergling) หรือชื่อที่รู้จักในวงการคือ อะวีชี หรือ อาวิชี (Avicii) เป็นดีเจและโปรดิวเซอร์เพลงเฮาส์ชาวสวีดิช เขาได้รับการจัดอันดับในอันดับที่ 3 ในนิตยสาร ดีเจ แม็กกาซีน ในปี 2012 และ 2013.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอะวีชี · ดูเพิ่มเติม »

อัลล์วาร์ กูลล์สตรานด์

อัลล์วาร์ กูลล์สตรานด์ (Allvar Gullstrand; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1862 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1930) เป็นแพทย์จักษุวิทยาชาวสวีเดน กูลล์สตรานด์เกิดที่ Landskrona ประเทศสวีเดน ได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ (ค.ศ. 1894 – ค.ศ. 1927) ด้านการรักษาดวงตาและทัศนศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยอุพซอลา เขาได้ประยุกต์วิธีทางฟิสิกส์คำนวณเพื่อศึกษาการมองภาพและการหักเหของแสงในดวงตา จากงานดังกล่าวทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอัลล์วาร์ กูลล์สตรานด์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด โนเบล

อัลเฟร็ด เบิร์นฮาร์ท โนเบล (21 ตุลาคม พ.ศ. 2376, สตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2439, ซานเรโม ประเทศอิตาลี) นักเคมีชาวสวีเดน วิศวกร นักประดิษฐ์ ผู้ผลิตอาวุธและผู้คิดค้นดินระเบิดไดนาไมท์ เขาเป็นเจ้าของบริษัทโบโฟรส์ (Bofors) ซึ่งเป็นผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ โดยเขาได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของโรงงานจากเดิมที่เป็นโรงงานเหล็กและเหล็กกล้า มาเป็นโรงผลิตปืนใหญ่ และอาวุธต่างๆ ในพินัยกรรมของเขา เขาได้ยกทรัพย์สมบัติจำนวนมหาศาลได้จากการผลิตอาวุธให้แก่สถาบันรางวัลโนเบล เพื่อมอบรางวัลแก่บุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่มนุษยชาติ เรียกว่า รางวัลโนเบล และในโอกาสที่มีการสังเคราะห์ธาตุชนิดใหม่ขึ้น นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งชื่อธาตุนั้นตามชื่อของเขา เพื่อเป็นการให้เกียรติ ว่า โนเบเลียม (Nobelium).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอัลเฟรด โนเบล · ดูเพิ่มเติม »

อันคอนดิชันเนิลลี

"อันคอนดิชันเนิลลี" (Unconditionally) เป็นเพลงของนักร้องอเมริกัน เคที เพร์รี จากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (ค.ศ. 2013) เพร์รีร่วมเขียนเพลงกับโปรดิวเซอร์อย่าง ดร.ลู้ก แมกซ์ มาร์ติน และเซอร์คัต เพลงเป็นเพลงลำดับที่ห้าในอัลบั้มและออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่สองในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอันคอนดิชันเนิลลี · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศสวีเดน

วีเดนมีอาณานิคมโพ้นทะเลในระหว่างปี1638-1663 และ ปี 1784-1878.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

อิงกริด เบิร์กแมน

(29 สิงหาคม ค.ศ. 1915 - 29 สิงหาคม ค.ศ. 1982) เป็นนักแสดงหญิงชาวสวีเดน เจ้าของรางวัลออสการ์ 3 รางวัล รางวัลเอมมี 2 รางวัล รางวัลโทนี่ 1 รางวัล และยังได้รับการจัดอันดับเป็นนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม อันดับที่ 4 ในรอบ 100 ปี โดยสถาบันภาพยนตร์อเมริกัน (AFI) อิงกริด เกิดที่สต็อกโฮล์ม สวีเดน จากยุสตัส ซามูเอล เบิร์กแมน บิดาชาวสวีเดน และฟรีเดล แอดเลอร์ เบิร์กแมน มารดาชาวเยอรมัน อิงกริดถูกตั้งชื่อตามพระนามของเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน เธอกำพร้ามารดาตั้งแต่อายุ 3 ขวบ และกำพร้าบิดาเมื่ออายุ 13 ปี และต้องย้ายไปอยู่กับป้า ซึ่งเสียชีวิตหลังจากนั้นไม่นาน เธอจึงต้องไปอาศัยกับลุงและป้าอีกคนหนึ่ง อิงกริด เบิร์กแมน เริ่มเข้าสู่วงการเมื่ออายุ 17 ปี โดยเริ่มจากการแสดงละครเวที และรับบทตัวประกอบในภาพยนตร์ ต่อมาเธอได้เซ็นสัญญากับ David O. Selznick ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ซึ่งชักนำให้เธอมาแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด ในปี ค.ศ. 1938 อิงกริด เบิร์กแมน แสดงภาพยนตร์อยู่ 3 เรื่อง ประสบความสำเร็จพอสมควร ก่อนจะได้มาร่วมงานกับฮัมฟรีย์ โบการ์ต ในภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง เรื่อง คาซาบลังกา ในปี ค.ศ. 1942 ปีถัดมาเธอแสดงภาพยนตร์เรื่อง For Whom the Bell Tolls (1943) ซึ่งได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์เป็นครั้งแรก และเธอก็คว้ารางวัลออสการ์สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมจาก Gaslight (1944) ได้ในปีต่อมา อิงกริด เบิร์กแมน ได้แสดงภาพยนตร์ของอัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก จำนวน 3 เรื่องคือ Spellbound (1945), Notorious (1946), และ Under Capricorn (1949) และได้ร่วมงานกับแครี แกรนท์ ผู้ซึ่งกลายเป็นเพื่อนสนิทกันมาอีกหลายปี รวมถึงเป็นผู้ขึ้นไปรับรางวัลออสการ์ รางวัลที่ 2 ในปี ค.ศ. 1956 จากเรื่อง อนาสตาเซีย แทนเธอ ซึ่งไม่ได้ไปร่วมงานในปีนั้น ในปี ค.ศ. 1949 อิงกริด ได้ร่วมงานกับ โรแบร์โต รอสเซลลินี ผู้กำกับชาวอิตาลี ในภาพยนตร์เรื่อง Stromboli จนเกิดความรักและตั้งท้องบุตรชายนอกสมรส จนกลายเป็นข่าวอื้อฉาวในสหรัฐอเมริกา เธอแต่งงานกับรอสเซลลินีในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอิงกริด เบิร์กแมน · ดูเพิ่มเติม »

อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน (Princess Ingrid of Sweden) หรือ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (Queen Ingrid of Denmark; อิงกริด วิกตอเรีย โซเฟีย หลุยส์ มาร์กาเรทา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2453 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นพระราชินีพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน อีกทั้งเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อิงเว มาล์มสทีน

อิงเว โยฮาน มาล์มสทีน (Yngwie Johann Malmsteen) มีชื่อจริงคือ ลาร์ส โยฮาน อิงเว แลนเนอร์บาก (Lars Johan Yngve Lannerbäck) เกิดวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอิงเว มาล์มสทีน · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2016

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ 2016 (International Champions Cup) (หรือ ไอซีซี) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตร ฤดูกาลที่ 4 ซึ่งจะลงเล่นในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

อิแมจินดรากอนส์

อิแมจินดรากอนส์ (Imagine Dragons) เป็นวงดนตรีแนวอัลเทอร์เนทีฟร็อกชาวอเมริกันมาจากเมืองลาสเวกัส รัฐเนวาดา วงเป็นที่รู้จักในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอิแมจินดรากอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (ฝรั่งเศส: Reporters sans frontières, RSF; อังกฤษ: Reporters Without Borders, RWB) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชนนานาชาติซึ่งสนับสนุนและปกป้องเสรีภาพสื่อและเสรีภาพข้อมูลข่าวสาร องค์กรมีฐานดำเนินงานอยู่ที่ปารีส และมีสถานะที่ปรึกษาในสหประชาชาติ ก่อตั้งโดย โรแบร์ เมนาร์ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนมีสองกิจกรรมหลัก อย่างแรกคือการมุ่งด้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตและสื่อใหม่ และอีกอย่างคือการจัดหาเครื่องมือ งบประมาน และความช่วยเหลือทางจิตใจแก่นักข่าวที่ถูกส่งไปในพื้นที่อันตราย, Reporters Without Borders, 16 April 2012, retrieved 21 March 2013 โดยมีพันธกิจดังนี้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน · ดูเพิ่มเติม »

อเลกซานเดอร์ สกาส์กอร์ด

อเลกซานเดอร์ สกาส์กอร์ด (Alexander Skarsgård) เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและอเลกซานเดอร์ สกาส์กอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ผลงานของเวสท์ไลฟ์

หมวดหมู่:เวสท์ไลฟ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและผลงานของเวสท์ไลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จิโอ เปโตรเซียน

อร์จิโอ เปโตรเซียน (Գեվորգ Պետրոսյան; Giorgio Petrosyan) เจ้าของฉายา เดอะด็อกเตอร์ เกิดวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจอร์จิโอ เปโตรเซียน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิสวีเดน

ักรวรรดิสวีเดน หรือ ราชอาณาจักรสวีเดน ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1561 (หลังจากสวีเดนยึดเอสโตเนีย) และในปีค.ศ. 1721 (เมื่อสวีเดนยกพื้นที่ขนาดใหญ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ต่อมหาอำนาจรัสเซีย) ระหว่างนั้น สวีเดนเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของยุโรป ในสวีเดน สมัยก่อนจะเรียกว่า stormaktstiden ซึ่งหมายถึง มหาอำนาจที่ยิ่งใหญ่ โดยเริ่มต้นในปี 1611 (เมื่อ กุสตาวัส อาดอลฟัส ขึ้นเป็นกษัตริย์) และจบลงในปีค.ศ. 1718 (การสวรรคตของพระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน และจุดจบของมหาสงครามเหนือ) โดยการเพิ่มอำนาจทางการเมือง จุดประเด็นสำคัญคือการกลายเป็นหนึ่งในสองอำนาจเพื่อค้ำประกันสันติภาพแห่งเวสต์ฟาเลีย (Peace of Westphalia) ซึ่งถูกเข้าร่วมเพื่อเพิ่มดินแดนที่อนุญาตให้อยู่ใกล้ได้อย่างสมบูรณ์ตามแนวคิดทะเลบอลติก เป็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของระยะเวลาที่แตกต่างกันในประวัติศาสตร์ยุโรป หลังจากการตายของกุสตาวัส อดอลฟัส ในปี 1632 จักรวรรดิที่ยืนยาวนี้ถูกควบคุมโดยพวกขุนนางชั้นสูง โดยส่วนมากเป็นพวกของตระกูลออกเซนสเตียร์นาเป็นผู้สำเร็จราชการแทน ความน่าสนใจของขุนนางชั้นสูงตรงกันข้ามกับวิถีทางแห่งเท่าเทียมกัน เช่น การส่งเสริมความเท่าเทียมกันแบบดั้งเดิมในที่ดินภายในสวีเดนถูกเห็นชอบโดยพระมหากษัตริย์และชาวบ้านในพื้นที่ที่ได้รับในช่วงระหว่างสมัยกฎตระกูลเดอ แฟคโต ระบบข้าแผ่นดินไม่ถูกยกเลิก และมีแนวโน้มที่จะจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมถูกกฎหมายในสวีเดนอย่างชอบธรรม แต่การปรับปรุงครั้งใหญ่ในปีค.ศ. 1680 ผลักดันให้ความพยายามของชนชั้นสูงสิ้นสุดลง และเรียกร้องพวกเขาให้คืนนิคมอุตสาหกรรมที่พวกเขาได้รับจากมกุฎกษัตริย์ ระบบข้าแผ่นดินนี้ อย่างไรก็ตาม ยังคงถูกบังคับใช้ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และชาวสวีดิชในเอสโตเนีย ที่ที่ใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ของวิถีทางแห่งความเท่าเทียมกันถูกขัดขวางโดนสนธิสัญญาจากสิ่งที่พวกเขาได้รั.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจักรวรรดิสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของการบินไทย

โบอิง 747-400 ของการบินไทยกำลังบินขึ้น ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์

รายชื่อนี้เป็นจุดหมายปลายทางการเดินทางที่สายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์เปิดให้บริการ ตามข้อมูลในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

This is a list of airports to which Swiss International Air Lines flies (as of March 2009).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค

Cathay Pacific operates services to the following destinations (at February 2009, this does not include codeshare destinations): Destinations marked as cargo only, are served by Cathay Pacific Cargo.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โคเรียนแอร์ให้บริการเที่ยวบินระหว่างอินช็อนกับอีก 22 เมืองในจีนแผ่นดินใหญ่ พร้อมกับ เอเชียนาแอร์ไลน์ ซึ่งให้บริการเที่ยวบินไปจีนเช่นกัน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์

หมายปลายทางของสายการบินไชนาแอร์ไลน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหายาก

แร่หายาก ขนาดเมื่อเทียบกับเหรียญเพนนีของสหรัฐอเมริกา accessdate.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและธาตุหายาก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสวีเดน

งชาติสวีเดน แบบปัจจุบันเป็นธงสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีฟ้ามีรูปกางเขนสีเหลือง ประกาศใช้เป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2449 แต่ประวัติศาสตร์ตามตำนานโบราณบอกว่า ธงผืนนี้ได้โบกสะบัดตั้งแต่ศตวรษที่ 16 ในขณะนั้นเป็นธงชาติสวีเดนผู้รักชาติที่ทำการต่อสู้กับผู้กดขี่ชาวเดนนิช สีสัญลักษณ์บนธงชาติมาจากตราประจำชาติที่มีรูป 3 มงกุฎสีเหลืองทองบนพื้นสีฟ้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและธงชาติสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ถั่น มินอู

ั่น มินอู (Thant Myint-U; သန့်မြင့်ဦး; เกิด 31 มกราคม ค.ศ. 1966) เป็นนักประวัติศาสตร์และอดีตเจ้าหน้าที่สหประชาชาติ เขายังเป็นผู้ประพันธ์ "The River of Lost Footsteps: A Personal History of Burma" ซึ่งเป็นหนังสือขายดี และได้รับการยกย่องอย่างสูง เขาเกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและถั่น มินอู · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์ด แมกนูซัน

ทอร์ด แมกนูซัน พระสวามีในเจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน พระเชษฐภคินีใน สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เขาและเจ้าหญิงมีโอรสรวม 3 คน ด้วยการเสกสมรสนี้ ทำให้เจ้าหญิงต้องสละฐานันดร เฮอร์รอยัลไฮนีส แต่ถึงอย่างไรก็ สามารถดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งสวีเดนได้ ส่วนทอร์ดเอง ถือว่าเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งสวีเดนด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและทอร์ด แมกนูซัน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและทะเลบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

ทูเว ลู

อ็บบา ทูเว เอลซา นิลส์ซอน (Ebba Tove Elsa Nilsson; เกิด 29 ตุลาคม ค.ศ. 1987) รู้จักกันในชื่อ โทฟ โล หรือ ทูเว ลู (Tove Lo) เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงชาวสวีเดนจากสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เกิดและเติบโตที่เมือง Djursholm ชานเมืองทางเหนือของสตอกโฮล์ม เธอจบการศึกษาที่โรงเรียนดนตรี Rytmus Musikergymnasiet ลูก่อตั้งวงดนตรีแนวแม็ธร็อกชื่อ เทรมเบิลบี ใน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและทูเว ลู · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาลันดา (Stockholm-Arlanda Airport) ตั้งอยู่ที่เขตซิกทูนา มณฑลสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ห่างจากกรุงสตอกโฮล์มไปทางเหนือประมาณ 42 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสวีเดน และเป็นท่าอากาศยานหลักสู่ประเทศสวีเดน เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ ซิสเต็ม ใหญ่เป็นอันดับสามในประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีผู้ใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศหนาแน่นเป็นอันดับสองในภูมิภาค รองรับผู้โดยสารกว่า 19 ล้านคนต่อปี ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา · ดูเพิ่มเติม »

ณัทธนพล ทินโรจน์

ณัทธนพล ทินโรจน์ (ชื่อเล่น:ฟิลลิปส์) เกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและณัทธนพล ทินโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดร. อัลบัน

ร.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดร. อัลบัน · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกอบต(SAO Astronomy Olympiad: SAO)เป็นการแข่งขันระดับอบตซึ่งจัดขึ้นทุกๆปีในวิชาดาราศาสตร์สำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยม และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ดาร์กฮอร์ส (เพลงเคที เพร์รี)

"ดาร์กฮอร์ส" (Dark Horse) เป็นเพลงของนักร้องอเมริกัน เคที เพร์รี ร้องร่วมกับจูซี เจ อดีตสมาชิกวงฮิปฮอป ทรี ซิก มาเฟีย เป็นซิงเกิลที่สามที่ได้แขกรับเชิญมาร้องร่วมด้วย ตั้งแต่เพลง "แคลิฟอร์เนียเกิร์ล" ที่ได้แขกรับเชิญเป็นสนูป ด็อกก์ และเพลงอี.ที. เวอร์ชันรีมิกซ์ ที่ได้คานเย เวสต์มาร่วมร้องด้วย เพลงออกจำหน่ายในวันที่ 17 กันยายน.ศ 2013 ภายใต้สังกัดแคปิตอลเรเคิดส์ เป็นซิงเกิลวิทยุซิงเกิลแรกจากอัลบั้มชุดที่สี่ ปริซึม (ค.ศ. 2013) หลังจากนั้นสามเดือน เพลงนี้ได้ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลอย่างเป็นทางการลำดับที่สามในวันที่ 17 ธันวาคม ทั้งเพร์รีและจูซี เจได้ร่วมเขียนเพลงร่วมกับโปรดิวเซอร์เพลง แมกซ์ มาร์ติน เซอร์คัต และดร.ลู้ก ร่วมกับซาราห์ ฮัดสัน เพลงริเริ่มโดยเพร์รีและฮัดสันระหว่างกำลังเขียนเพลงอยู่ในบ้านเกิดของเพร์รี ในแซนตาบาร์บารา แคลิฟอร์เนีย และต่อมา จูซี เจ ได้แต่งให้หนึ่งท่อน ดาร์กฮอร์ส ผสมผสานแนวดนตรีแทรปและฮิปฮอป กลายเป็นสิ่งที่เรียกว่า "การผสมผสานเซาเทิร์นฮิปฮอปกับเทคโน" เพลงได้แสดงให้เห็นว่าโทนเสียงร้องที่ทั้ง "ดึงดูดใจ" (seductive) และ "โตขึ้น" (mature) ของเพร์รี ขณะที่จูซี เจร้องร่วมในท่อนเริ่มเพลงและร้องแร็ปในท่อนบริดจ์ ในขณะสัมภาษณ์ เพร์รีกล่าวว่าเธอต้องการให้เพลงมี "แนวคิดร่ายคาถามนต์ดำดั่งแม่มด" (witchy, spell-y kind of black magic-y idea) เธอจึงเขียนเพลงจากมุมมองเกี่ยวกับคำเตือนจากแม่มดไม่ให้ผู้ชายให้ตกหลุมรักเธอ เพราะถ้าเขาทำเช่นนั้น เธอจะเป็นคนสุดท้ายของเขา เพลงนี้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมที่สนับสนุนโดยเป๊ปซี ซึ่งให้แฟนเพลงโหวตทางทวิตเตอร์ว่า ต้องการให้เพลงใดเป็นซิงเกิลวิทยุระหว่างเพลง "ดาร์กฮอร์ส" หรือ "วอล์กกิงออนแอร์" หลังจากออกจำหน่าย "ดาร์กฮอร์ส" ได้รับคำวิจารณ์ค่อนไปทางชื่นชอบจากเหล่านักวิจารณ์เพลงที่ยกย่องดนตรีและเสียงร้องของเพร์รี แต่ไม่โปรดปรานในส่วนของจูซี เจมากนัก "ดาร์กฮอร์ส" ประสบความสำเร็จ โดยขึ้นอันดับหนึ่งบนชาร์ตของแคนาดา เนเธอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา เพลงยังขึ้นถึง 20 อันแรกบนชาร์ตของประเทศนิวซีแลนด์ สหราชอาณาจักร สวีเดน และเวเนซุเอลา รวมถึงชาร์ตเพลงดิจิตอลในนิตยสารบิลบอร์ด เพร์รีแสดงสดเพลงนี้ครั้งแรกในงานไอฮาร์ตเรดิโอมิวสิกเฟสติวัล 2013 ที่ลาสเวกัสในวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดาร์กฮอร์ส (เพลงเคที เพร์รี) · ดูเพิ่มเติม »

ดิสอิสฮาววีดู

"ดิสอิสฮาววีดู" เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี จากสตูดิโออัลบั้มที่สี่ ปริซึม (ค.ศ. 2013) เพร์รีเขียนเพลงนี้ร่วมกับโปรดิวเซอร์อย่างแมกซ์ มาร์ติน และ Klas Åhlund และบันทึกเสียงในสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เพลงออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่ห้าเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดิสอิสฮาววีดู · ดูเพิ่มเติม »

ดิสซัมเมอส์กอนนาเฮิร์ตไลก์อะมาเธอร์ฟักเกอร์

"ดิสซัมเมอส์กอนนาเฮิร์ตไลก์อะมาเธอร์ฟักเกอร์" (This Summer's Gonna Hurt like a Motherfucker) (หรือ "ดิสซัมเมอส์กอนนาเฮิร์ต..." (This Summer's Gonna Hurt...)) เป็นเพลงของวงดนตรีป็อปร็อกสัญชาติอเมริกัน มารูนไฟฟ์ ซิงเกิลออกอากาศทางวิทยุในวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดิสซัมเมอส์กอนนาเฮิร์ตไลก์อะมาเธอร์ฟักเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 15

อะเมซิ่ง เรซ 15 (The Amazing Race 15) เป็นฤดูกาลที่ 15 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ซึ่งฤดูกาลนี้จะเริ่มฉายในวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดิอะเมซิ่งเรซ 15 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 17

อะเมซิ่ง เรซ 17 (The Amazing Race 17) เป็นฤดูกาลที่ 17 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ซีบีเอสประกาศการทำรายการฤดูกาลที่ 17 ออกมาในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553 ใบสมัครถูกแจกจ่ายออกมาในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 คัดตัวรอบแรกในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 และจะมีการคัดตัวครั้งสุดท้ายรวบถึงการไปเยือนสถานที่ต่างๆ ในเดือนเดียวกัน โดยมีกำหนดการถ่ายทำในช่วงเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2553 คู่คุณหมอ แนทกับแคท เป็นทีมที่ชนะในฤดูกาลนี้ไปและจะนำเงินรางวัลที่ได้ไปเป็นทุนการศึกษาให้กับเด็กเรียนดีที่ขาดแคลน รวมถึงทำให้พวกเธอกลายเป็นทีมหญิงล้วนทีมแรกที่ชนะรายการนี้ในเวอร์ชันอเมริกา หลังจาก 16 ฤดูกาลผ่านมาที่ไม่เคยมีทีมหญิงล้วนชนะรายการนี้เล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดิอะเมซิ่งเรซ 17 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดิอะเมซิ่งเรซ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ดีร์ก เบาตส์

ีร์ก เบาตส์ (Dirk Bouts; ราว ค.ศ. 1410/ค.ศ. 1420 - ค.ศ. 1475) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพับภาพ จากหนังสือ Het Schilderboeck (ค.ศ. 1604) โดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) เบาตส์เกิดที่เมืองฮาร์เลมและทำงานส่วนใหญ่ที่เมืองเลอเฟิน มันเดอร์เขียนชีวประวัติของจิตรกรสองคน "ดีร์กแห่งฮาร์เลม" และ "ดีร์กแห่งเลอเฟิน" ซึ่งเป็นคนคนเดียวกัน ชีวิตเบื้องต้นไม่มีหลักฐานเท่าใดนัก แต่ดีร์ก เบาตส์ได้รับอิทธิพลจากยัน ฟัน ไอก์ และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน ซึ่งอาจจะเป็นผู้ที่ดีร์กศึกษาด้วย หลักฐานครั้งแรกเกี่ยวกับดีร์กพบครั้งแรกที่เลอเฟินเมื่อปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและดีร์ก เบาตส์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนเนอร์ แม็คเกรเกอร์

อนเนอร์ แม็คเกรเกอร์ (Conor McGregor) เป็นนักมวยสากล และนักศิลปะการต่อสู้แบบผสม ชาวไอริช แม็คเกรเกอร์ เป็นแชมป์ไลฟ์เวท และแชมป์เฟเธอร์เวทของ Ultimate Fighting Championship (UFC) แม็คเกรเกอร์ ยังเป็นนักศิลปะการต่อสู้แบบผสม รุ่นเวลเตอร์เวท, นักมวยสากล รุ่นซูเปอร์เวลเตอร์เวท แม็คเกรเกอร์ ติดอันดับ 2 จากการจัดอันดับปอนด์สำหรับปอนด์ของ UFC แม็คเกรเกอร์ เป็นนักสู้คนเดียวที่เป็นแชมป์ทั้งสองรุ่นของ UFC พร้อมกัน เขาเอาชนะอดีตแชมป์เฟเธอร์เวท José Aldo ในศึกยูเอฟซี 194 ภายใน 13 วินาที เป็นการชนะที่เร็วที่สุดในการชิงแชมป์ของ UFC และเอาชนะอดีตแชมป์ไลฟ์เวท Eddie Alvarez ในศึกยูเอฟซี 205 แม็คเกรเกอร์ เริ่มต้นเป็นนักมวยสากล ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคอนเนอร์ แม็คเกรเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย

แผนที่แสดงคาบสมุทรต่างๆในยุโรปเหนือ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย (Scandinavian Peninsula) ตั้งอยู่บริเวณยุโรปเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 770,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่หลักๆคือดินแดนของประเทศสวีเดนและประเทศนอร์เวย์ เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 500 กิโลเมตร แกนกลางคาบสมุทรเป็นเทือกเขาสูงชัน ยอดเขาที่สูงที่สุดบนคาบสมุทรอยู่ในประเทศนอร์เวย์ สูงกว่า 2,400 เมตร ทิศเหนือของคาบสมุทรอยู่ในเขตอาร์กติก สามารถชมปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืนได้ ทั้ง สวีเดน นอร์เวย์ และ ฟินแลนด์ แต่จุดชมที่สวยที่สุดอยู่ในนอร์เวย์บริเวณแหลมเหนือ ชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณคาบสมุทรมักจะอาศัยกระจุกตัวอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทร เพราะมีอากาศที่อบอุ่นกว่า มีเมืองใหญ่ๆตั้งอยู่ อาทิเช่น สตอกโฮล์ม ออสโล เมลโม เฮลซิงบอร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์

ร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์ (Carl Gustaf Mosander; 10 กันยายน ค.ศ. 1797 – 15 ตุลาคม ค.ศ. 1858) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดที่เมืองคาลมาร์ เป็นบุตรของไอแซก โมแซนเดอร์และคริสตินา แมเรีย ต่อมาย้ายมาอยู่ที่กรุงสตอกโฮล์มกับมารดาเมื่ออายุได้ 12 ปี ที่นั่นโมแซนเดอร์ฝึกงานในร้านขายยา ก่อนจะหันมาสนใจด้านการแพทย์และเข้าเรียนที่สถาบันแคโรลินสกา โมแซนเดอร์เรียนจบปริญญาโทด้านศัลยศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคาร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ลาร์สสัน

ร์ล ลาร์สสัน (Carl Larsson) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1853 - 22 มกราคม ค.ศ. 1919) เป็นจิตรกรและนักตกแต่งภายในชาวสวีเดนของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการศิลปะหัตถกรรม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคาร์ล ลาร์สสัน · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ

ร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (Carl Wilhelm Scheele; 9 ธันวาคม ค.ศ. 1742 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1786) เป็นนักเคมีและเภสัชกรชาวเยอรมัน-สวีเดน ผู้ได้รับฉายา "เชเลอผู้อาภัพ" จากนักเขียน ไอแซค อสิมอฟ จากการค้นพบทางเคมีหลายอย่างแต่ไม่ได้รับการยกย่องในช่วงชีวิตของเขา เชเลอเป็นผู้ค้นพบธาตุออกซิเจน, คลอรีน, ทังสเตนและสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ เช่น กรดยูริก, กรดแล็กติก, กรดออกซาลิก คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคำปฏิญาณโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

คูลฟอร์เดอะซัมเมอร์

"คูลฟอร์เดอะซัมเมอร์" เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เดมี โลวาโต และซิงเกิลแรกในสตูดิโออัลบั้มที่ห้าของเธอ คอนฟิเดนท์ ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคูลฟอร์เดอะซัมเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศบังกลาเทศในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์

นทูตและสถานกงสุลฟิลิปปินส์ในประเทศต่าง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตญี่ปุ่นประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมาเลเซีย สถานทูต สถานกงสุล ฯลฯ มาเลเซียในต่างแดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศลาว

นทูตและสถานกงสุลลาวนอกประเท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศศรีลังกาในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจาน

นเอกอัครราชทูต รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอาเซอร์ไบจานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรัก

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิรัก รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิรักในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิตาลี รายชื่อข้างล่างคือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิตาลีในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์เจีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของจอร์เจียในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจีน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวต

นทูตและสถานกงสุลของประเทศคูเวตในประเทศต่าง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซาอุดีอาระเบียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซีเรียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตปากีสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศปากีสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส

ประเทศที่มีคณะทูตไซปรัสประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไซปรัสในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีใต้ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีใต้ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีเหนือ

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีเหนือ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีเหนือในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเลบานอน รายชื่อสถานทูตและสถานกงสุลเลบานอนในประเทศต่าง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเวียดนาม สถานทูตและสถานกงสุลเวียดนามในต่างแดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ตูโปเลฟ ตู-134

ตูโปเลฟ ตู-134 (Tupolev Tu-134) ผลิตขึ้นเพื่อใช้แทนเครื่องบินโดยสาร ตูโปเลฟ ตู-104 เริ่มรับผู้โดยสารโดยสายการบิน แอโรฟล็อต ในเส้นทางมอสโคว์-สต๊อกโฮล์ม เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1967.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและตูโปเลฟ ตู-134 · ดูเพิ่มเติม »

ซาวด์คลาวด์

ซาวด์คลาวด์ (SoundCloud) เป็นบริการฐานเพลงออนไลน์ ตั้งอยู่ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ที่ให้ผู้ใช้สามารถอัปโหลด โฆษณาประชาสัมพันธ์ และแบ่งปันผลงานเพลงต้นฉบับของพวก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและซาวด์คลาวด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิกวาร์ด เบอร์นาดอต

้าชายซิกวาร์ดแห่งสวีเดน เจ้าชายซิกวาร์ดแห่งสวีเดน ดยุคแห่งอัปป์ลันด์ (Prince Sigvard of Sweden, Duke of Uppland) หรือว่า เค้านท์ซิกวาร์ด เบอร์นาด็อตแห่งวิสบอร์ก (Count Sigvard Bernadotte of Wisborg; ซิกวาร์ด ออสการ์ เฟรเดริค ประสูติ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2450 สิ้นพระชนม์ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545) เป็นพระราชโอรสพระองค์รองและที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน และ เจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งคอนน็อต และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก นอกจากนั้นยังเป็นพระราชปนัดดาที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรอีกด้ว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและซิกวาร์ด เบอร์นาดอต · ดูเพิ่มเติม »

ซีกฟริด เอดสเตริม

ยูฮันเนส ซีกฟริด เอดสเตริม (Johannes Sigfrid Edström) เป็นประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลคนที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2413 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2507 หมวดหมู่:ชาวสวีเดน หมวดหมู่:ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและซีกฟริด เอดสเตริม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโบฮีเมียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศโบฮีเมีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศโบฮีเมียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ปริซึม (อัลบั้มเคที เพร์รี)

ปริซึม (Prism) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สี่ของเคที เพร์รี นักร้องอเมริกัน ออกจำหน่ายโดยแคปิตอลเรเคิดส์ในวันที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและปริซึม (อัลบั้มเคที เพร์รี) · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์, บียอร์น แอนด์ จอห์น

ปีเตอร์ บียอร์น แอนด์ จอห์น (Peter, Bjorn and John) เป็นศิลปินกลุ่มอินดี้ร็อกจากสวีเดน ก่อตั้งวงที่สต็อกโฮล์ม ในปี 1999 ชื่อวงมาจากชื่อต้นของสมาชิกแต่ละคนคือ Peter Morén (ร้อง, กีตาร์และฮาร์โมนิก้า), Björn Yttling (กีตาร์เบส, คีย์บอร์ดและร้อง) และ John Eriksson (กลอง, เพอร์คัชชันและร้อง) พวกเขามีผลงานเป็นที่รู้จักกับซิงเกิลในปี 2006 ที่ชื่อ "Young Folks" ที่ได้ร่วมงานกับ Victoria Bergsman แห่งวงเดอะคอนกรีตส์ ซิงเกิลนี้ติดท็อป 20 ในชาร์ทซิงเกิลสหราชอาณาจักร และเพลงยังใช้ประกอบภาพยนตร์ในปี 2008 เรื่อง 21 และนิตยสารเอ็นเอ็มอียังจัดว่าเป็นเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 2 ในปี 2006 แพ้เพลง "Over and Over" ของวงฮ็อตชิป.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและปีเตอร์, บียอร์น แอนด์ จอห์น · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสวีเดน

นายกรัฐมนตรีสวีเดน (statsminister หรือแปลตรงตัวว่า รัฐมนตรีแห่งรัฐ) คือผู้นำฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) แห่งราชอาณาจักรสวีเดน ซึ่งก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งนี้ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนายกรัฐมนตรีสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2013

นางงามจักรวาล 2013 (Miss Universe 2013) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 62 จัดขึ้นในวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนางงามจักรวาล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2014

นางงามจักรวาล 2014 (Miss Universe 2014) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 63 กำหนดจัดวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนางงามจักรวาล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2015

นางงามจักรวาล 2015 (Miss Universe 2015) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 64 กำหนดจัดวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนางงามจักรวาล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2013 การประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 53 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนางงามนานาชาติ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นิวโรแมนติกส์ (เพลง)

"นิวโรแมนติกส์" (New Romantics) เป็นเพลงที่บันทึกโดยนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ จากสตูดิโออัลบั้มที่ห้า 1989 (2014) เพลงแถมเฉพาะร้านทาร์เกตสำหรับอัลบั้มรุ่นพิเศษ เพลงออกจำหน่ายในร้านไอทูนส์ในวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนิวโรแมนติกส์ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

นิสสัย เวชชาชีวะ

นายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบิดาของนายสุรนันทน์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและนิสสัย เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

แบ็กสตรีตบอยส์

แบ็กสตรีตบอยส์ เป็นวงนักร้องชาวอเมริกัน ก่อตั้งในออร์แลนโด รัฐฟลอริดาเมื่อปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแบ็กสตรีตบอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพร์ วิกทอร์ เอดมัน

แพร์ วิกทอร์ เอดมัน (Pehr Victor Edman; 14 เมษายน ค.ศ. 1916 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักชีวเคมีชาวสวีเดน เกิดที่กรุงสตอกโฮล์ม เป็นบุตรของวิกทอร์และอัลบา เอดมัน เรียนวิชาแพทย์ที่สถาบันแคโรลินสกา ต่อมาเอดมันถูกเกณฑ์เข้ากองทัพสวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังสงคราม เอดมันกลับไปเรียนปริญญาเอกที่สถาบันแคโรลินสกา ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแพร์ วิกทอร์ เอดมัน · ดูเพิ่มเติม »

แมกซ์ ฟอน ซีโดว

ร์ล อดอล์ฟ "แมกซ์" ฟอน ซีโดว นักแสดงอาวุโสชาวสวีเดน มีผลงานการแสดงภาพยนตร์หลายสิบเรื่อง สามารถพูดได้หลายภาษาทั้งภาษาสวีเดน นอร์เวย์ อังกฤษ อิตาลี เยอรมัน เดนมาร์ก และสเปน ฟอน ซีโดว ได้ถือสัญชาติฝรั่งเศสเพิ่มเติมจากสัญชาติสวีเดน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแมกซ์ ฟอน ซีโดว · ดูเพิ่มเติม »

แมกซ์ มาร์ติน

ร์ล มาร์ติน แซนด์เบิร์ก (Karl Martin Sandberg) หรือ แมกซ์ มาร์ติน (Max Martin) เกิดวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแมกซ์ มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016

แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Manhunt International 2016) เป็นการประกวดแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 17 ซึ่งกำหนดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ใน OCT Harbour City, เซินเจิ้น, ประเทศจีน โดยจูน มากาเซท แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2012 ได้มอบตำแหน่งแก่ พาทริก เชอ จากสวีเดน เป็นผู้ครองตำแหน่งคนใหม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

แยน แฮร์มันสัน

แยน แฮร์มันสัน แยน แฮร์มันสัน (Jan Hermansson) เก..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแยน แฮร์มันสัน · ดูเพิ่มเติม »

แสมดำ

แสมดำ เป็นพืชในป่าชายเลน พบได้ทั้งหาดทรายปนเลนและหาดเลน รากเป็นร่างแห มีรากหายใจเป็นแท่งโผล่ขึ้นดิน เปลือกต้นเรียบ สีเขียวเข้มถึงเทาเข้ม ใบแตกตรงข้ามเป็นคู่ ใต้ใบไม่ซีดแบบแสมขาว ใบหนาอวบน้ำป้องกันการสูญเสียน้ำ มีต่อมเกลือที่ใบช่วยขับเกลือออก ดอกสีขาว-เหลือง 4 กลีบ เป็นช่อคล้ายดอกแสมขาว แต่ดอกใหญ่กว่า ผลเป็นรูปกระเปาะคล้ายแสมขาว แต่สั้นกว่า ผลเป็นรูปหยดน้ำ ปลายผลงอ มีขนสีน้ำตาลอ่อนคลุมทั้งผล ผลลอยน้ำได้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแสมดำ · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน เชียเรอร์

แอลัน เชียเรอร์ (Alan Shearer) เกิดวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1970 เป็นนักฟุตบอลระดับตำนานคนหนึ่งของวงการฟุตบอลอังกฤษ รวมถึงการก้าวขึ้นไปเป็นกัปตันทีมชาติ "ทรีไลออนส์" โดย "บิ๊กอัล" เกิดในเมืองนิวคาสเซิล แต่ทีมที่เขาเริ่มต้นอาชีพนักฟุตบอลก็คือ เซาแทมป์ตัน เนื่องจากถูก "สาลิกาดง" ปฏิเสธที่จะเซ็นสัญญาด้วย แต่กับเซาแทมป์ตัน เขาสามารถสร้างชื่อได้ตั้งแต่นักแรกที่ลงสนามทันที ด้วยการยิงแฮตทริก ทำให้แบล็กเบิร์นโรเวอร์ส คว้าตัวเขาไปร่วมทีม และสามารถที่จะคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีก กับทาง "กุหลาบไฟ" ได้สำเร็จ ซึ่งเป็นแชมป์แรกและแชมป์เดียวในชีวิตการค้าแข้งของแอลัน เชียเรอร์ ต่อมาด้วยค่าตัว 15 ล้านปอนด์ ทำให้เชียเรอร์ได้กลับมาเล่นในถิ่นเซนต์เจมส์พาร์ก และก็ค้าแข้งอยู่ทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ดเป็นเวลาเกือบสิบปี และก็ทำลายสถิติยิงประตูตลอดกาลของแจ็กกี มิลเบิร์น รวมถึงเป็นผู้ครองตำแหน่งยิงประตูมากที่สุดในศึกพรีเมียร์ชิพ อยู่ในปัจจุบันอีกด้วย ในส่วนของทีมชาติอังกฤษ ที่เขาเคยก้าวขึ้นไปทำหน้าที่กัปตันทีมนั้น เชียเรอร์ลงเล่นให้ทีมชาติ 63 นัด ยิงไป 30 ประตู ปัจจุบันเชียเรอร์ว่างงาน หลังจากดำรงตำแหน่งผู้จัดการทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2009.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแอลัน เชียเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอลทีอี

แอลทีอี (LTE - Long Term Evolution) เป็นชื่อโครงการของระบบสื่อสารโทรศัพท์มือถือ 4G โดยมีเป้าหมายในการออกแบบให้สามารถส่งผ่านข้อมูลได้มากขึ้นและเร็วขึ้น แอลทีอีได้มีการเปิดตัวในชื่อโทรศัพท์มือถือ 4G LTE โดยเทเลียโซเนรา ในสตอกโฮล์ม และ ออสโล ในวันที่ 14 ธันวาคม 2552 โดยพัฒนาเพิ่มเติมจากระบบยูเอ็มทีเอส ของระบบ 3G 4G LTE มีความสามารถดาวโหลดได้สูงถึง 100Mbps ความเร็วอับโหลด 50Mbps และปิงต่ำกว่า 10 มิลลิวินาที โดยมีแบนด์วิทธ์อยู่ในช่วงระหว่างช่วง 1.4 เมกกะเฮิร์ตถึง 20 เมกกระเฮิร์ต ในวันที่ 18 สิงหาคม 2552 ทาง European Commission ได้ประกาศลงทุนเป็นจำนวนเงิน 18 ล้านยูโรในงานวิจัยและพัฒนา LTE Advanced.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแอลทีอี · ดูเพิ่มเติม »

แอปเปิลสโตร์

แอปเปิลสโตร์ (Apple Store) เป็นร้านค้าปลีกของบริษัทแอปเปิลสำหรับวางจำหน่ายสินค้าของบริษัท เช่น แมคบุ๊กโปร, ไอแมค, ไอพอด, ไอแพด, ไอโฟน และยังมีบริการซ่อม จำหน่ายอุปกรณ์เสริมต่างๆ พร้อมบริการ จีเนียสบาร์ ให้คำแนะนำการใช้งานและบริการของบริษัท ขณะนี้มีแอปเปิลสตอร์ราว 495 แห่งทั่วโลกแล้ว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแอปเปิลสโตร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็บบา

แอ็บบา (ABBA) (หรือชื่อเป็นทางการ ᗅᗺᗷᗅ) เป็นวงดนตรีป็อปสัญชาติสวีเดน ก่อตั้งขึ้น ณ กรุงสตอกโฮล์มในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแอ็บบา · ดูเพิ่มเติม »

แคลส์ โอลเดนเบิร์ก

แคลส์ โอลเดนเบิร์ก (Claes Oldenburg.) ศิลปินในกลุ่มป๊อปอาร์ต (Pop Art.) ผู้ซึ่งมีแนวทางในการสร้างสรรค์งานแตกต่างไปจากศิลปินคนอื่นๆ โดยจะมีการสอดแทรกความสนุกสนาน น่าขบขันลงไปในผลงาน ในขณะเดียวกันก็ยังมีความสวยงามและความลงตัวซ่อนอยู่ภายในชิ้นงานด้วย ซึ่งผลงานที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ ประติมากรรมขนาดใหญ่ยักษ์ หรือ Large – Scale Sculptures เป็นงานที่สร้างขึ้นโดยใช้สิ่งของที่มีในชีวิตประจำวัน เช่น ไม้หนีบผ้า กรรไกร ลูกขนไก่ มาทำให้มีขนาดใหญ่ แล้วนำไปติดตั้งในที่ชุมชนทำให้ผู้คนที่เดินผ่านไปผ่านมามีโอกาสได้เสพงานศิลปะมากขึ้น ทำให้งานศิลปะไม่ถูกจำกัดพื้นที่ให้อยู่แต่เพียงใน Gallery อีกต่อไป อีกทั้งยังเป็นการเล่นกับปฏิกิริยาของคนดูที่มีต่องานศิลปะอีกด้วย นับว่าเป็นศิลปินที่สร้างกระแสศิลปะในรูปแบบใหม่ได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและแคลส์ โอลเดนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กลม

“วัดกลม” ที่บอว์มอร์ในสกอตแลนด์ วัดกลม (Round church) เป็นสถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่มีผังเป็นทรงกลมทั้งหลัง วัดกลมมักจะพบในสวีเดน และเดนมาร์ก (โดบเฉพาะบนเกาะบอร์นโฮล์ม) และเป็นทรงที่นิยมกันในสแกนดิเนียเวียระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 ตัวอย่างของวัดกลมก็ได้แก่วัดเฮดวิกเอเลโอโนราในสตอกโฮล์มในสวีเดน ในอังกฤษก็มีวัดกลมด้วยกันห้าวัดที่รวมทั้ง วัดโฮลีเซพัลเครอ, เคมบริดจ์ และ วัดเท็มเพิลในลอนดอน วัดกลมไม่ควรจะสับสนกับสิ่งก่อสร้างที่มีรูปทรงคล้ายคลึงกันเช่นวัดหอกลมที่เฉพาะหอที่ติดกับตัววัดเท่านั้นที่กลม ที่ส่วนใหญ่จะพบในบริเวณอีสต์แองเกลีย โดยเฉพาะในมณฑลนอร์โฟล์ค และ มณฑลซัฟโฟล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโบสถ์กลม · ดูเพิ่มเติม »

โมแยง

accessdate.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโมแยง · ดูเพิ่มเติม »

โรร์ (เพลง)

"โรร์" (Roar) เป็นเพลงของเคที เพร์รี นักร้องอเมริกัน จากสตูดิโออัลบั้มชุดที่สี่ ปริซึม (ค.ศ. 2013) ปล่อยทางสถานีวิทยุเป็นซิงเกิลเปิดตัวอัลบั้มในวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโรร์ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

โรโบคัพ

การแข่งขันโรโบคัพปี ค.ศ. 2004 ที่ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส โรโบคัพ (Robocup) คือการแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติระดับนานาชาติ จุดประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษาวิจัย ค้นคว้าและพัฒนาศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (หุ่นยนต์) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโรโบคัพ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1912

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 5 ประจำปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2004

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2022

ระวังสับสนกับ พาราลิมปิกฤดูหนาว 2022 กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 (XXIV Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ถึง 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 · ดูเพิ่มเติม »

โอเพท

อเพท (Opeth) เป็นวงเฮฟวีเมทัลจากสต็อกโฮล์ม สวีเดน ก่อตั้งวงในปี 1990 ขณะที่สมาชิกภายในวงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่หลายครั้ง แต่นักร้อง นักกีตาร์และทำหน้าที่แต่งเพลงอย่าง Mikael Åkerfeldt ถือเป็นตัวยืนในการขับเคลื่อนวง ตั้งแต่ก่อตั้งวง แนวเพลงหลักเป็นเดธเมทัลแบบสแกนดินาเวีย แต่โอเพทก็ยังได้รับอิทธิพลจากแนวเพลงอื่นอย่างเช่น ดนตรีโพรเกรสซีฟ, ดนตรีโฟล์ก, บลูส์ร็อก และแจ๊ส ในเพลงที่ยาว ๆ ของพวกเขา องค์ประกอบเพลงยังรวมถึง อคูสติกกีตาร์ในส่วนดนตรีบรรเลงสลับฉาก และการชิฟต์ที่เข้มแข็งและเคลื่อนไหว เช่นเดียวกับเสียงคำรามและเสียงสะอาดคู่กันไป ถึงแม้ว่าพวกเขาจะไม่ค่อยออกทัวร์ในการสนับสนุนผลงาน 4 อัลบั้มแรก แต่โอเพทก็ได้เริ่มออกทัวร์ครั้งแรกในปี 2001 หลังจากออกผลงานอัลบั้มชุด Blackwater Park โอเพทออกผลงานสตูดิโออัลบั้ม 9 ชุด, 2 อัลบั้มแสดงสด, 2 บ็อกซ์เซต และ 2 ดีวีดี วงออกผลงานอัลบั้มเปิดตัวชุด Orchid ในปี 1995 แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จในฝั่งสหรัฐอเมริกา จนเริ่มมาประสบความสำเร็จในการออกผลงานในปี 2008 กับผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 9 Watershed ที่ขึ้นชาร์ตสูงสุดอันดับที่ 23 บนชาร์ทบิลบอร์ด 200 และยังสามารถขึ้นชาร์ทฟินนิชอัลบั้มที่อันดับ 1 ในสัปดาห์แรกที่ออก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโอเพท · ดูเพิ่มเติม »

โจอาคิม คาร์ลสัน

อาคิม คาร์ลสัน (Joakim Karlsson) หรือฉายา ยูเค เกิดวันที่ 11 เมษายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโจอาคิม คาร์ลสัน · ดูเพิ่มเติม »

โทปิ เฮลิน

ทปิ เฮลิน (Topi Helin) เจ้าของฉายา ไอรอนบอล เกิดวันที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโทปิ เฮลิน · ดูเพิ่มเติม »

โซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน

ซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน (ภาษาเดนมาร์ก:Sophie Magdalene ภาษาสวีเดน:Sofia Magdalena) (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2289 - 21 สิงหาคม พ.ศ. 2356) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน โดยเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน พระนางเป็นพระราชธิดาพระองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 5 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ และเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและโซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ์ (อัลบั้มมารูนไฟฟ์)

ฟฟ์ (V) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ห้าของวงดนตรีป๊อปร็อกอเมริกัน มารูนไฟฟ์ ออกจำหน่ายโดยค่ายอินเตอร์สโคปเรเคิดส์ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไฟฟ์ (อัลบั้มมารูนไฟฟ์) · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์

มเคิล แจ็คสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ (Michael Jackson: The Immortal World Tour) เป็นครั้งแรกของทั้งสองผลิตละครที่แตกต่างกันอย่างเป็นทางการโดย บริษัท Cirque du Soleil ซึ่งใช้ดนตรี และวิสัยทัศน์ของ ไมเคิล แจ็คสัน พร้อมกับ ลายเซ็นสไตล์ท่ากายกรรที่มีประสิทธิภาพของ Cirque du Soleil เพื่อสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตที่สมจริง การแสดงที่ได้รับการเขียนบทและกำกับการแสดงโดย เจมี คิง และการผลิตในการเป็นหุ้นส่วนกับธุรกิจของไมเคิล แจ็คสัน เวทีการแสดงซึ่งจะคล้ายกับคอนเสิร์ตเพลงร็อก เริ่มต้นการแสดงทัวร์เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเมืองมอนทรีออล หลังจากนั้นได้เดินทางไปแสดงที่ทวีปอเมริกาเหนือประมาณสองปี ต่อไปด้วยทวีปยุโรป และส่วนที่เหลือของโลก บริษัท Michael Jackson Company LLC ได้ร่วมมือกับ Cirque du Soleil เพื่อที่จะสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตครั้งนี้ ในส่วนของทำสัญญามูลค่า 250 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ พร้อมกับโซนี อนุญาตให้เผยแพร่เพลงดนตรีจนถึงปี ค.ศ. 2017 โดยในชื่ออัลบั้ม อิมมอร์ทัล ถูกใช้ในการผลิตด้วย ธุรกิจเริ่มต้นเปิดการแสดง 50 สถานที่จัดงานแล้วถามแฟน ๆ ที่จะทำตามคำขอถ้าพวกเขาต้องการสำหรับการแสดงที่จะมาไปยังเมืองนั้น ๆ ความต้องการตั๋วสูงได้รับแจ้งธุรกิจที่จะเพิ่มสถานที่จัดงานหลายแห่งและหลายวันการแสดงซึ่งรวมแล้วทั้งหมด 273 รอบในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปยุโรป แสดงครั้งแรกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2011 เวลาเพียงสองเดือนหลังจากที่ถูกเปิดตัวการแสดงที่มียอดจำหน่ายกว่า 100 ล้านตั๋ว และกลายเป็นการแสดงทัวร์ชั้นนำของอเมริกาตามฟอร์บ อิมมอร์ทัล ได้สร้างจนถึงขณะนี้ 340 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และได้รับการแสดงไปกว่า 2 ล้านผู้ชมทั่วโลก ติดท็อปชาร์ตในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอวาวทูดี มายคันทรี

อฝาวทูธี มายคันทรี (I Vow to Thee, My Country แปลตามตัวอักษร ข้าขอปฏิญาณแก่เจ้า ประเทศของข้า; IPA) เป็นเพลงปลุกใจรักชาติของอังกฤษ ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1921 โดยนำโคลงของเซอร์ Cecil Spring-Rice ผูกเข้ากับดนตรี Thaxted ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเพลง Jupiter ในชุด เดอะ พลาเนตส์ ประพันธ์โดยกุสตาฟ โฮล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไอวาวทูดี มายคันทรี · ดูเพิ่มเติม »

ไอคอนาพอป

อคอนาพอป (Icona Pop) เป็นคู่ดูโอแนวอิเล็กโทรป็อป สัญชาติสวีเดน ก่อตั้งวงในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไอคอนาพอป · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัส

น์ริช กุสทัฟ แมกนัส (Heinrich Gustav Magnus; 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1802 – 4 เมษายน ค.ศ. 1870) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัสเกิดที่เมืองเบอร์ลิน ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ได้รับการเรียนการสอนจากที่บ้านก่อนจะเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน และได้ไปศึกษาดูงานที่กรุงสตอกโฮล์มและปารีส ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัส · ดูเพิ่มเติม »

ไทรโยค พุ่มพันธ์ม่วง

ทรโยค พุ่มพันธ์ม่วง เดิมเป็นที่รู้จักในชื่อ ไทรโยคน้อย ศักดิ์ชัยณรงค์ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2526 —) เป็นนักมวยไทยชาวไทย เจ้าของฉายา "ขุนศอกอำมหิต" และ "จอมศอกโกอินเตอร์" และเป็นอดีตแชมป์สนามมวยเวทีลุมพินีรุ่น 154 ปอนด์ และแชมป์รุ่น 147 ปอนด์ของประเทศไทย เขาเป็นนักชกจากค่ายมวยไทยพลาซ่า 2004 ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไทรโยค พุ่มพันธ์ม่วง · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณีย์ถล่ม

thumb ไปรษณีย์ถล่ม (mail-bomb, mailbomb, mail bomb, parcel bomb, letter bomb หรือ post bomb) คือ วัตถุระเบิดที่ส่งผ่านไปรษณียภัณฑ์ด้วยจุดประสงค์เพื่อสร้างความเสียหายหรือสังหารผู้เปิดไปรษณียภัณฑ์นั้น ไปรษณีย์ระเบิดนี้ถูกใช้มากในการก่อการร้าย บางประเทศมีหน่วยงานคอยตรวจสอบและป้องกันไปรษณีย์ถล่มโดยเฉพาะ เช่น สหรัฐอเมริกามีหน่วยพินิจไปรษณียภัณฑ์แห่งสหรัฐอเมริกา (United States Postal Inspection Service หรือ USPIS) ทั้งนี้ ใช่ว่าไปรษณีย์ถล่มจะเพิ่งถูกใช้ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศของเรานี้ แต่ตามประวัติศาสตร์แล้วพบว่ามีการใช้มานานพอ ๆ กับที่มีบริการไปรษณีย์ทีเดียว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและไปรษณีย์ถล่ม · ดูเพิ่มเติม »

เบสบอลทีมชาติคิวบา

อลทีมชาติคิวบา เป็นทีมชาติของประเทศคิวบา ซึ่งเป็นทีมที่จัดขึ้นจากนักเบสบอลสมัครเล่นของระบบเบสบอลทีมชาติคิวบาในฐานะที่ไม่มีลีกอาชีพในประเทศคิวบา ทั้งนี้ ทีมคิวบาได้รับการเปรียบเทียบว่าเสมือนเป็นโรงไฟฟ้า และได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 1 ของโลกจากสหพันธ์เบสบอลระหว่างประเท.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเบสบอลทีมชาติคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

เชอราตันโฮเทลส์แอนด์รีสอตส์

อราตัน หรือ เชอราตัน โฮเท็ล แอนด์ รีสอร์ท เป็นเครือโรงแรมระดับบน เป็นเจ้าของโดยกลุ่มบริษัทสตาร์วูด โฮเท็ล แอนด์ รีสอร์ท ซึ่งเป็นหนึ่งในแบรนด์สำคัญ และมีความเก่าแก่เป็นระดับที่สอง รองจากกลุ่มโรงแรมเวสทินโฮเทล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเชอราตันโฮเทลส์แอนด์รีสอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์จิต นิลส์สัน

อร์จิต นิลส์สัน (Birgit Nilsson) นักร้องโอเปร่าเสียงโซปราโนชาวสวีเดน นิลส์สันเกิดที่เมือง Bjärlöv แคว้นสเกน ทางตอนใต้ของสวีเดน มีชื่อตอนเกิดว่า Birgit Märta Svensson เป็นบุตรคนเดียวของครอบครัวที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีพรสวรรค์ด้านการร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก และได้รับการฝึกสอนเพิ่มเติม เริ่มแสดงอุปรากรครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเบอร์จิต นิลส์สัน · ดูเพิ่มเติม »

เบิร์ธเดย์ (เพลงเคที เพร์รี)

"เบิรธเดย์" (Birthday) เป็นเพลงแนวดิสโก้ของนักร้องอเมริกัน เคที เพร์รี จากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (ค.ศ. 2013) เพลงเขียนโดยเพร์รี บอนนี แม็กคี และโปรดิวเซอร์เพลงคือ ดร.ลู้ก แมกซ์ มาร์ติน และเซอร์คัต เหล่านักวิจารณ์เพลงรวมทั้งตัวเพร์รีเองได้เปรียบเทียบเพลงนี้กับงานเพลงของพรินซ์ และมารายห์ แครี ในเนื้อเพลง เพร์รีพูดถึงงานเลี้ยงวันเกิดเพื่อนในเรื่องทางเพศด้วยภาษาสองแง่สองง่าม ค่ายเพลงแคปิตอลส่งเพลงเบิร์ธเดย์ผ่านเมนสตรีม (mainstream) และคลื่นวิทยุในวันที่ 21 เมษายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเบิร์ธเดย์ (เพลงเคที เพร์รี) · ดูเพิ่มเติม »

เชน วอร์ด

น วอร์ด (เกิด 15 ตุลาคม ค.ศ. 1984) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวอังกฤษ ผู้ชนะเลิศจากการประกวดแสดงความสามารถ ในรายการ ดิเอกซ์แฟกเตอร์ เปิดตัวครั้งแรกในซิงเกิล "แดตส์มายโกล" ออกขายในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเชน วอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส

รื่องบินแอร์บัส เอ 310-200F เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11F เครื่องบินเอทีอาร์ 42 เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส (อังกฤษ: FedEx Express) เป็นสายการบินขนส่งสินค้าของเฟดเอกซ์ คอร์ปอเรชั่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองเมมฟิส ในรัฐเทนเนสซี สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงโอลิมปิก

ลิงโอลิมปิกในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ณ เมืองซอลต์เลกซิตี (Salt Lake City) รัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2545 เพลิงโอลิมปิก (Olympic Flame, Olympic Fire, Olympic Torch, Olympic Light, Olympic Eye, Olympic Sun) คือเพลิงที่ใช้จุดในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เป็นสัญลักษณ์และอนุสรณ์ถึงเพลิงที่เทพโพรมีเทียสขโมยจากเทพเจ้าซุสมามอบให้แก่มนุษยชาติมีไว้บริโภคเป็นครั้งแรก การจุดคบเพลิงโอลิมปิกเป็นประเพณีปฏิบัติตั้งแต่สมัยกรีกโบราณที่ต้องรักษาให้เพลิงโชติช่วงตลอดการแข่งขันกีฬาดังกล่าว สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกยุคปัจจุบัน ประเพณีการจุดเพลิงเช่นว่านี้ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม พ.ศ. 2471 สืบมาจนทุกวันนี้ ส่วนการส่งผ่านและวิ่งซึ่งคบเพลิงโอลิมปิกจากประเทศกรีซผ่านประเทศเครือข่ายต่าง ๆ ไปยังประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันนั้นมีนายคาร์ล ไดเอ็ม (Carl Diem) และนายโยเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) เป็นผู้ริเริ่มในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเบอร์ลิน พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

เกรทา การ์โบ

กรทา การ์โบ (Greta Garbo) (18 กันยายน ค.ศ. 1905 - 15 เมษายน ค.ศ. 1990) เป็นนักแสดงชาวสวีเดนในช่วงภาพยนตร์เงียบของฮอลลีวูดและเป็นส่วนหนึ่งในยุคทองของฮอลลีวูด การ์โบเคยได้รับรางวัลออสการ์ รางวัลเกียรติยศในปี 1954 จาก ผลงานการแสดงที่ไม่อาจลืมได้ และในปี 1999 ติดอยู่อันดับ 5 ในการจัดอันดับของสถาบันภาพยนตร์อเมริกันในหัวข้อนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเกรทา การ์โบ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงแฟชั่น

อสคาดาสปอร์ตที่งานสัปดาห์แฟชั่นเบอร์ลิน ฤดูใบไม้ผลิ/ฤดูร้อน 2013 เมืองหลวงแฟชั่น (Fashion capital) เป็นเมืองที่มีอิทธิพลสำคัญเกี่ยวกับแนวโน้มแฟชั่นต่างประเทศ ในการออกแบบการผลิต และการค้าปลีกของผลิตภัณฑ์แฟชั่น บวกกับงานแสดงต่าง ๆ เช่น สัปดาห์แฟชั่น งานประกาศรางวัล งานแสดงสินค้า  ที่มีผลต่อการสร้างผลผลิตทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสำคัญ ในเมืองหลวงแฟชั่นที่ถือว่าเป็นระดับโลกหรือเรียกว่า "บิ๊กโฟร์" ของศตวรรษที่ 20 คือ ปารีส มิลาน ลอนดอน และนิวยอร์ก และในขณะที่เมืองแฟชั่นอื่น ๆ ก็เริ่มเติมเติบโตขึ้นอย่างมากในศตวรรษที่ 21 เช่น โรม ตูริน ฟลอเรนซ์ เบอร์ลิน บาร์เซโลนา เวนิส โบโลญญา โตเกียว เซาเปาลู ลอสแอนเจลิส และโซล.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเมืองหลวงแฟชั่น · ดูเพิ่มเติม »

เยลมาเรน

ทะเลสาบเยลมาเรน (Hjälmaren) เป็นทะเลสาบใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศสวีเดน ตั้งอยู่ติดกับทะเลสาบมาลาเรน สามารถเชื่อมต่อกับกรุงสตอกโฮล์มผ่านทางคลองเยลมาเร ทะเลสาบมีความยาว 63 กม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเยลมาเรน · ดูเพิ่มเติม »

เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส

รอน เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส (Jöns Jacob Berzelius; 20 สิงหาคม ค.ศ. 1779 – 7 สิงหาคม ค.ศ. 1848) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดที่จังหวัดเอิสแตร์เยิตลันด์ บิดามารดาของแบร์ซีเลียสเสียชีวิตตั้งแต่เขายังเล็ก เขาจึงอยู่ในความดูแลของญาติในเมืองลินเชอปิง แบร์ซีเลียสเรียนหนังสือในเมืองนั้นก่อนจะเรียนต่อวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยอุปซอลา เขาเรียนเคมีกับอันเดอร์ส กุสตาฟ เอเกแบร์ก ผู้ค้นพบธาตุแทนทาลัม แบร์ซีเลียสเป็นผู้ช่วยเภสัชกรและแพทย์ก่อนจะเรียนจบในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส · ดูเพิ่มเติม »

เรอเน เดการ์ต

รอเน เดการ์ต (René Descartes) เป็นทั้งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ นอกจากที่เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่ เขายังเป็นผู้คิดค้นระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียนซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาด้านแคลคูลัสต่อมา เดการ์ตได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ แนวคิดของเขามีผลต่อนักคิดร่วมสมัยไปถึงนักปรัชญารุ่นต่อ ๆ มา โดยรวมเรียกว่าปรัชญากลุ่มเหตุผลนิยม (rationalism) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเรอเน เดการ์ต · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟมีไลก์ยูดู

"เลิฟมีไลก์ยูดู" (Love Me like You Do) เป็นเพลงของนักร้องชาวอังกฤษ เอลลี โกลดิง เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ ฟิฟตีเชดส์ออฟเกรย์ (2015) เพลงเขียนโดยแมกซ์ มาร์ติน ซาแวน โคเทชา อิลยา แซลแมน ซาเดห์ อาลี พายามี และทูเว ลู และผลิตโดยมาร์ติน และพายามี เพลงออกจำหน่ายวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเลิฟมีไลก์ยูดู · ดูเพิ่มเติม »

เลนนาร์ต เบอร์นาดอตต์

ลนนาร์ต เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก (His Excellency Lennart Bernadotte, Count of Wisborg.) (เดิม:เจ้าชายเลนนาร์ต ดยุกแห่งซาล์มลันด์).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเลนนาร์ต เบอร์นาดอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เวสเตโรส

วสเตโรส (Västerås) เป็นเมืองในประเทศสวีเดน ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ บนฝั่งทะเลสาบเมลาเรน บริเวณปากแม่น้ำสวาร์ต ในจังหวัดเวสมันลันด์ อยู่ห่างจากกรุงสตอกโฮล์มไปทางทิศตะวันตกราว 100 กิโลเมตร เมืองมีประชากร 110,877 คน ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเวสเตโรส · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางแชมเปียนส์ภายในประเทศยูฟ่ายูธลีก ฤดูกาล 2017–18

้นทางแชมเปียนส์ภายในประเทศของยูฟ่ายูธลีก ฤดูกาล 2017–18 จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน ถึง 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเส้นทางแชมเปียนส์ภายในประเทศยูฟ่ายูธลีก ฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม พ.ศ. 2553

ตำรวจปิดถนนดร็อตนิงกาตันหลังจากเกิดระเบิดขึ้นที่หัวมุมถนนที่ติดกับถนนบรีกการ์กาตัน เหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

เอชแอนด์เอ็ม

อช แอนด์ เอ็ม ในสตอกโฮล์ม เอช แอนด์ เอ็ม (Hennes & Mauritz AB: H&M) เป็นบริษัทเครื่องแต่งกายของประเทศสวีเดน มีสาขาจำนวนกว่า 4,351 สาขา ใน 64 ประเทศ มีพนักงานกว่า 161,000 คน เอช แอนด์ เอ็ม ออกเสียงเป็นภาษาสวีเดนว่า "โฮเอ็ม" แต่ในบางประเทศ เช่นอังกฤษ หรือ สหรัฐอเมริกาจะออกเสียงว่า "เอช แอนด์ เอ็ม".

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเอชแอนด์เอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เอลซา ฮอสค์

อลซา อันนา โซฟี ฮอสค์ (Elsa Anna Sofie Hosk; เกิด 7 พฤศจิกายน 1996) นางแบบชาวสวีเดน ปัจจุบันเธอเป็นหนึ่งในนางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต และเธอยังได้ร่วมงานกับแบรนด์ชั้นนำอย่างคริสตีย็อง ดียอร์, โดลเช่ แอนด์ กาบบานา, ฟรีพีเพิล, เอชแอนด์เอ็ม, แอนนา ซุย, และเกสส์ เธอปรากฏตัวบนวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปี 2011, 2012 2013 2014 2015 และ 2016 เธอยังเล่นบาสเกตบอลในสวีเดนเป็นอาชีพอีกด้ว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเอลซา ฮอสค์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสวีที-40

ทหารโซเวียตกับปืนไรเฟิล เอสวีที-40 เอสวีที-40 (SVT-40,ย่อมาSamozaryadnaya Vintovka Tokareva, Obrazets 1940 godaСамозарядная винтовка Токарева, образец 1940 года.) ปืนไรเฟิลของสหภาพโซเวียตผลิตใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งใจจะเป็นปืนไรเฟิลประจำการใหม่ของกองทัพแดงโซเวียตแทนปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ แต่การผลิตได้หยุดชะงักจากการรุกรานของเยอรมนี ทำให้การผลิตช้าซึงทำให้กองทัพหันไปใช้ปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ซึ่งการผลิตได้รวดเร็วกว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเอสวีที-40 · ดูเพิ่มเติม »

เอสเคเอส

อสเคเอส เป็นปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติโซเวียตลำกล้อง 7.62 × 39มม.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเอสเคเอส · ดูเพิ่มเติม »

เอทีพี เวิลด์ ทัวร์ ไฟนอล

อะ บาร์เคลย์ส เอทีพี เวิลด์ ทัวร์ ไฟนอล เป็นการแข่งขันเทนนิสของนักเทนนิสประเภทชายเดี่ยวและชายคู่ อันดับ 1-8 จากการจัดอันดับของสมาคมนักเทนนิสอาชีพ โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มแข่งแบบพบกันหมด แล้วนำนักเทนนิสที่มีคะแนนดีที่สุดกลุ่มละสองคนมาไขว้สายแข่งรอบรองชนะเลิศ เพื่อหาผู้ชนะเข้าแข่งในรอบชิงชนะเลิศต่อไป.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเอทีพี เวิลด์ ทัวร์ ไฟนอล · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์

อ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์ (MTV Europe Music Awards) เป็นงานแจกรางวัลทางด้านดนตรีให้มิวสิกวิดีโอทางฝั่งยุโรป เริ่มจัดครั้งแรกในปี 1994 มีลักษณะรูปแบบคล้ายกับงานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส ไม่เหมือนทางฝั่งอเมริกาตรงที่พิจารณารางวัลจากมิวสิกวิดีโอที่ดีที่สุด ไม่เหมือนทางฝั่งอเมริกาที่มาจากการโหวด สำหรับผู้ชนะรางวัลมากที่สุดของรายการนี้ คือ เอ็มมิเน็ม ชนะ ทั้งหมด 6 รางวัล ตามมาด้วย จัสติน ทิมเบอร์เลค(5), บริทนีย์ สเปียร์ส (5), The Prodigy (5), แบ็คสตรีท บอยส์ (4), มาดอนน่า (4), ร็อบบี้ วิลเลียมส์‎ (4), Red Hot Chili Peppers (4), Spice Girls (3), โคลด์เพลย์ (3), อลิเชีย คียส์ (3), ลินคิน พาร์ค‎ (3), เจนนิเฟอร์ โลเปซ (3) และ Oasis (3).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเอ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์รี่ แม็คไกวร์ เทพบุตรรักติดดิน

อร์รี่ แม็คไกวร์ เทพบุตรรักติดดิน (Jerry Maguire) เป็นภาพยนตร์ดรามา-ตลก ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจอร์รี่ แม็คไกวร์ เทพบุตรรักติดดิน · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้ง เจี๋ย

้ง เจี๋ย (Zheng Jie นามสกุลคือ Zheng; จีนย่อ: 郑洁; จีนตัวเต็ม: 鄭潔; พินอิน: Zhèng Jié) เป็นนักเทนนิสหญิงชาวจีน เกิดวันที่ 5 กรกฎาคม..1983 ในเมืองเฉินตู มณฑลเสฉวน มีอันดับโลกสูงสุดอันดับที่ 15 ของโลกโดยเป็นนักเทนนิสจีนคนแรกที่มีอันดับโลกสูงที่สุด ใน วิมเบิลดัน 2008 เจิ้ง เจี๋ย ทำสถิติเป็นนักเทนนิสจีนคนแรกที่สามารถเข้าถึงรอบรองชนะเลิศในรายการแกรนด์สแลม เธอและ แทมมารีน ธนสุกาญจน์ นับเป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์เทนนิสที่มีนักเทนนิสเอเชียอยู่ในรอบก่อนรองชนะเลิศของรายการแกรนด์แสลม รวมถึงการเอาชนะมือ 1 ของโลก ณ ขณะนั้นอย่าง อนา อิวาโนวิช โดยเงินรางวัลที่เธอได้รับมาจากการแข่งขันวิมเบิลดันคราวนั้น เธอได้บริจากเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติแผ่นดินไหวมณฑลเสฉวนคราวนั้น เจิ้ง เจี๋ย ชนะเลิศการแข่งขัน WTA 3 รายการ ที่ Hobart ในปี 2005, Estoril และ Stockholm ในปี 2006 รวมทั้งการคว้าแชมป์ประเภทคู่ 11 กับคู่หู่ของเธอ Zi Yan ประกอบด้วยประเภทแกรนด์สแลม 2 รายการที่ ออสเตรเลียน โอเพ่น และที่ วิมเบิลดัน ในปี 2006 ในการแข่งขันโอลิมปิก ปี 2008 ที่กรุงปักกิ่ง เธอจับคู่กับ Zi Yan คว้าเหรียญทองแดง ในประเภทหญิงคู่ นับว่าเป็นครั้งที่สองที่จีนมีเหรียญในกีฬาเทนน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจิ้ง เจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน

ันโท เจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน (22 เมษายน พ.ศ. 2449 — 26 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน กับเจ้าหญิงมาร์กาเรธา มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน และเป็นพระราชชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายยูจีน ดยุกแห่งนาร์ก

้าชายยูจีน ดยุกแห่งนาร์เก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายยูจีน ดยุกแห่งนาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายออกุส ดยุกแห่งดัลลันด์

้าชายออกุส ดยุกแห่งดัลลัน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายออกุส ดยุกแห่งดัลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายออสการ์ ดยุกแห่งสกอเน

้าชายออสการ์ คาร์ล โอลอฟ ดยุกแห่งสกอเน (Prins Oscar Carl Olof, Hertig av Skåne; ประสูติ: 2 มีนาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระราชโอรสในเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน กับเจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์ และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ กับสมเด็จพระราชินีซิลเวีย พระองค์อยู่ในลำดับที่สามแห่งการสืบราชบัลลังก์สวีเดนต่อจากพระชนนี และเจ้าหญิงเอสแตล ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์ พระภคินี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายออสการ์ ดยุกแห่งสกอเน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก

้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอเล็กซันเดอร์ ดยุกแห่งเซอเดร์มันลันด์

้าชายอเล็กซันเดอร์ อีริก ฮูเบร์ตุส เบร์ติล ดยุกแห่งเซอเดร์มันลันด์ (Prins Alexander Erik Hubertus Bertil, Hertig av Södermanland; ประสูติ: 19 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์ กับเจ้าหญิงโซเฟีย ดัชเชสแห่งแวร์มลันด์ และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ กับสมเด็จพระราชินีซิลเวีย พระองค์อยู่ในลำดับที่ห้าแห่งการสืบราชบัลลังก์สวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายอเล็กซันเดอร์ ดยุกแห่งเซอเดร์มันลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์

้าฟ้าชายคาร์ล ฟิลิปแห่งสวีเดน หรือ คาร์ล ฟิลิป เอ็ดมุนด์ เบอร์ติล เป็นดยุกแห่งวาร์มลานด์ ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 ณ พระราชวังหลวง กรุงสต็อกโฮล์ม เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองและพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และ สมเด็จพระราชินีซิลเวีย แรกประสูติพระองค์ทรงเป็นมกุฎราชกุมารแห่งสวีเดนและคงดำรงพระอิสริยยศนี้และรัชทายาทลำดับที่ 1 ในลำดับการสืบราชบัลลังก์เป็นเวลา 7 เดือนจนกระทั่งวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2523 ซึ่งได้ทรงถูกถอดถอนทั้งสองตำแหน่งจากการเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติการสืบราชสมบัติเพื่อให้ทายาทของกษัตริย์สืบสันตติวงศ์ได้ไม่ว่าจะเป็นเพศใด นับแต่นั้นเจ้าชายทรงอยู่ลำดับที่ 2 ของลำดับการสืบราชบัลลังก์สวีเดน ต่อจากเจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน พระเชษฐภคินี แต่อย่างไรก็ดี เจ้าชายก็ทรงอยู่ลำดับก่อนหน้าในสายการสืบราชบัลลังก์อังกฤษเนื่องจากประเทศอังกฤษยังให้สิทธิบุรุษสืบราชสมบัติก่อนหน้าสตรีอยู่ เจ้าชายคาร์ล ฟิลิปทรงเข้ารับศีลจุ่มเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2522 ณ โบสถ์หลวง (Storkyrkan) กรุงสต็อกโฮล์ม โดยทรงมีพ่อและแม่ทูนหัวดังนี้คือ เจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ เจ้าชายเลโอโพลด์แห่งบาวาเรีย สมเด็จพระบรมราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงบีร์กิตตาแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายนีโคลัส ดยุกแห่งโอเงร์มันลันด์

้าชายนีโคลัส พอล กุสตาฟ ดยุกแห่งโอเงร์มันลันด์ (Prins Nicolas Paul Gustaf, Hertig av Ångermanland; ประสูติ: 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558) พระโอรสในเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ กับคริสโตเฟอร์ โอนีล และอยู่ในลำดับที่เก้าแห่งการสืบราชบัลลังก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายนีโคลัส ดยุกแห่งโอเงร์มันลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์

ลเรือเอก เจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ (Prins Bertil, Hertig av Halland; 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 — 5 มกราคม พ.ศ. 2540) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน ประสูติแต่เจ้าหญิงมาร์กาเรธา มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (พระนามเดิม: เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต) พระชายาพระองค์แรก เจ้าชายเบร์ติล มีพระเชษฐาคือ เจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน พระราชบิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และมีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงอิงกริด พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ เจ้าชายเบร์ติล เสกสมรสกับเจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ (พระนามเดิม: ลิลเลียน เมย์ เดวีส์) นางแบบจากสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระชายาและพระญาติชั้นที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เมื่อสมัยที่ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมาร เนื่องจากพระชนกและพระชนนีของทั้งสองพระองค์เป็นพี่น้องกัน และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาอยู่ทางฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เจ้าหญิงประสูติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ และ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาทางฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระชนนี ส่วนเจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดน พระขนิษฐาองค์เล็กทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ในขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์

้าหญิงมาเดอลีนแห่งสวีเดน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ (พระนามเต็ม เมดเดลีน เธแรส อาเมลี โจเซฟีน);() 10 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ณ พระราชวังดร็อตนิงโฮล์ม กรุงสต็อกโฮล์ม) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองและพระองค์เล็กสุดในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนและสมเด็จพระราชินีซิลเวีย พระนามที่สี่ "โจเซฟีน" ของพระองค์มาจากบรรพสตรีนามว่า โยเซฟีนแห่งลอยช์เต็นแบร์ก (ภายหลังเป็นสมเด็จพระราชินีโยเซฟินาแห่งสวีเดนและนอร์เวย์) ธิดาของเออแชน เดอ โบนาปาร์ต พระโอรสในจักรพรรดินีโยเซฟีน พระชายาองค์แรกของนโปเลียน โบนาปาร์ต เจ้าหญิงทรงเข้ารับบัพติศมาเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2525 ณ โบสถ์ของพระราชวังหลวง กรุงสต็อกโฮล์ม โดยมีพระบิดาและพระมารดาทูนหัวคือ เจ้าชายอันเดรียสแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา วอลเตอร์ ซอมเมอร์ลาธ เจ้าหญิงเบเนดิคเตแห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน ภริยาแห่งมังนุสสัน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงยูเชนีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์

้าหญิงยูเชนีแห่งสวีเดนและนอร์เว.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงยูเชนีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์

้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ (Prinsessan Lilian, Hertiginna av Halland; ประสูติ: 30 สิงหาคม ค.ศ. 1915 — สิ้นพระชนม์: 10 มีนาคม ค.ศ. 2013) มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ลิลเลียน เมย์ เดวีส์ (Lillian May Davies) เป็นพระชายาในเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ พระองค์เป็นพระปิตุลานี (อาสะใภ้) ในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และเป็นพระมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงลิเลียนถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์สวีเดนที่มีพระชันษายืนที่สุดในรัชกาล พระองค์สิ้นพระชนม์ลงในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 —) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 7 ของราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแง

้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแง (9 มีนาคม พ.ศ. 2561) เป็นพระบุตรพระองค์ที่สามในเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ กับคริสโตเฟอร์ โอนีล และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ และสมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน ทรงอยู่ในลำดับที่สิบของการสืบราชสันตติวงศ์สวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน

้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน (Prinsessan Christina, fru Magnuson) เป็นพระขนิษฐภคินีพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน พระองค์เป็นพระราชธิดาของเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อต.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา หรือ ซิบิลลา คัลมา มารี อลิซ บาธิลดิส ฟีโอดอรา (ภายหลังทรงเป็น เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งสวีเดน ดัชเชสแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น; 18 มกราคม พ.ศ. 2451 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515) เป็นพระชายาในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งบาวาเรีย

ระองค์เสกสมรสกับ เจ้าชายแม็ก ดยุกในบาวาเรีย เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2510 โดยได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งบาวาเรีย โดยมีพระธิดาร่วมกันดังนี้.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเอสเตลล์ ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์

้าหญิงเอสเตลล์ ซิลเวีย อีวา มารี ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์ (23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555) พระราชธิดาพระองค์แรกในมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน กับเจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์ ถือเป็นพระราชนัดดาพระองค์แรกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ กับสมเด็จพระราชินีซิลเวี.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเจ้าหญิงเอสเตลล์ ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เทกกิงแชนเซส (Taking Chances Tour) คือคอนเสิร์ตทัวร์ปัจจุบันของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา เพื่อสนับสนุนอัลบั้มภาษาอังกฤษ เทกกิงแชนเซส ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 คอนเสิร์ตทัวร์นี้ใช้เวลากว่า 1 ปีในการเยือน 5 ทวีป, 24 ประเทศ, 84 เมือง รวมการแสดงกว่า 123 ครั้ง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทคมีโฮม (อัลบั้มวันไดเรกชัน)

ทคมีโฮม (Take Me Home) เป็นสตูดิโออัลบั้ม ที่ 2 ของวันไดเรกชัน วงบอยแบนด์ชาวอังกฤษ-ไอริช วางจำหน่ายเมื่อ 9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเทคมีโฮม (อัลบั้มวันไดเรกชัน) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ รัคคอนเทอร์ส

อะ รัคคอนเทอร์ส (The Raconteurs) คือวงร็อกวงใหม่ของศิลปินที่มีงานดนตรีอินดี้ร็อก ออกกันมาหลายชุดแล้ว ประกอบไปด้วย Jack White (ร้องนำ / กีตาร์) จากวง The White Stripes, ศิลปินเดี่ยว Brendan Benson ทั้งคู่มาจากเมืองดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน, Jack Lawrence (เบส) จากวง The Greenhornes และ Patrick Keeler (กลอง) จาก The Greenhornes เช่นกัน.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะ รัคคอนเทอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์

อะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์ (The Beyoncé Experience) คือคอนเสิร์ตทัวร์ครั้งที่2ของนักร้องชาวอเมริกัน บียอนเซ่ โนวส์ เพื่อสนับสนุนอัลบั้มเดี่ยวชุดที่2ของเธอ บี'เดย์ คอนเสิร์ตทัวร์ของเธอในครั้งนี้ได้มีกำหนดการมาที่ประเทศไทยในวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ที่ อิมแพคอารีน่า เมืองทองธานี โดยผู้จัดคือ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

อะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ (The Prismatic World Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สามของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี เพื่อส่งเสริมอัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (2013) ทัวร์เริ่มวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์

อะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ (Moonshine Jungle Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน บรูโน มาร์ส โดยจัดทั้งหมด 154 รอบ โดยเกี่ยวโยงกับอัลบั้มที่เกี่ยวข้อง อันออร์โธดอกซ์จูกบอกซ์ (2012) หลังจากที่มีการประกาศไว้วันที่ 10 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะฮูซิเออร์ส

อะฮูซิเออร์ส (The Hoosiers) เป็นวงอินดี้ร็อกจากประเทศอังกฤษ ประกอบด้วยสมาชิกคือ Irwin Sparkes (ร้องนำ กีตาร์), Martin Skarendahl (เบส) และ Alfonso Sharland (กลอง) สมาชิกในวงมาจากเอ็กซิเตอร์, เรดิง จากอังกฤษ และ สตอกโฮล์ม จากประเทศสวีเดน อัลฟองโซ (มือกลอง) และ เออร์วิน (นักร้องนำ) เจอกันเมื่อตอนที่เรียนหนังสือในอเมริกา และได้แรงเชียร์จากอาจารย์วิชาเคมีให้พวกเขาตั้งวงดนตรี ซึ่งตอนนั้นทั้งคู่เป็นนักฟุตบอลนักเรียนทุนของมหาวิทยาลัยแห่งอินเดียนาโปลิส และหลังจากที่รวบรวมผลงานที่แต่งไว้มากพอที่จะรวมเป็นอัลบั้มได้ ทั้งคู่ก็เดินทางกับมาลอนดอน และได้พบกับมาร์ติน (มือเบส) อดีตนักดับเพลิงที่หันมาเอาดีในการเป็นซาวน์ดเอนจิเนียร์ ทั้งสามคนได้เซ็นสัญญากับ RCA แนวเพลงของพวกเขาได้รับอิทธิพลมาจาก เดอะเคียวร์ (The Cure), เจฟฟ์ บั๊กลีย์ (Jeff Buckley), The Flaming Lips และ XTC พวกเขามีซิงเกิลแรก "Worried About Ray" สามารถขึ้นถึงอันดับ 5 ใน UK Singles Chart เมื่อเดือนกรกฎาคมปี 2007 ซิงเกิลที่ 2 "Goodbye Mr A" อยู่ในอันดับ 4 เมื่อเดือนตุลาคม จากนั้นก็วางขายอัลบั้ม The Trick To Life เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม และขึ้นสูงถึงอันดับ 1 ใน UK Albums Chart อัลบั้มชุดนี้โปรดิวซ์โดย Toby Grafty-Smith อดีตสมาชิกวงจามิโรไคว (Jamirouquai).

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะฮูซิเออร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะไพเรตเบย์

ลโกเว็บไซต์ เดอะไพเรตเบย์ (The Pirate Bay - TPB) เป็นเว็บไซต์สัญชาติสวีเดนที่ให้บริการบิตทอร์เรนต์ ซึ่งเปิดให้บริการมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะไพเรตเบย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟซ (สหราชอาณาจักร)

อะเฟซ เป็นรายการเรียลลิตีทางโทรทัศน์ของสหราชอาณาจักร ซึ่งมีชื่อเดียวกันกับของสหรัฐอเมริกา รายการได้เริ่มออกอากาศวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะเฟซ (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟซเมนไทยแลนด์ ซีซัน 1

อะเฟซเมนไทยแลนด์ ซีซัน 1 (The Face Thailand) รายการเรียลลิตีเพื่อค้นหาสุดยอดนายแบบ เทรนเนอร์ ได้แก่ เมทินี กิ่งโพยม, พีช พชร และหมู อาซาว่า ในวันที่ 29 มิถุนายน 2560 ได้มีการแถลงข่าวเปิดตัวรายการอย่างเป็นทางการพร้อมกับการเปิดตัวผู้เข้าแข่งขันจากรอบออดิชั่นทั้ง 41 คน ณ ควอเทียร์ วอเตอร์ การ์เดน ศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์ เมทินี กิ่งโพยม, พลพัฒน์ อัศวะประภา และ พชร จิราธิวัฒน์ ได้รับหน้าทีเป็นเมนเทอร์ในรายการนี้ ส่วน อจิรภา ไมซิงเกอร์ ผู้ชนะ เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 1 รับหน้าที่เป็นพิธีกรประจำรายการ.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดอะเฟซเมนไทยแลนด์ ซีซัน 1 · ดูเพิ่มเติม »

เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส (Dangerous World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน สนับสนุนโดย เป๊ปซี่ โคล่า โดยจัดทั้งหมด 70 รอบ ซึ่งผลกำไรทั้งหมดจะถูกบริจาคให้กับองค์กรการกุศลต่าง ๆ รวมทั้งแจ็คสันของตัวเอง มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์ โดยเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1992 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1993 แจ็คสันสิ้นสุดทัวร์ลง เนื่องจากในขณะที่เขาประกาศความเจ็บป่วยที่ต้องรักษาในโรงพยาบาล นักแสดงกลายเป็นพึ่งพายาแก้ปวด,มีความทุกข์ทรมานจากการขาดน้ำ,ไมเกรน และบาดเจ็บ เดิมที่คอนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส ควรจะทำงานต่อไปจนกว่าถึงวันคริสต์มาส ค.ศ. 1993.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เควิน ดีรมรัมย์

วิน ดีรมรัมย์ (Kevin Deeromram; เกิด 11 กันยายน 2540) นักฟุตบอลอาชีพชาวไทยเชื้อสายสวีเดนปัจจุบันลงเล่นให้กับ การท่าเรือ เอฟซี ในศึก T1 และ ทีมชาติไทย ในตำแหน่งกองหลัง.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเควิน ดีรมรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เซอเดอร์เตลเย

ซอเดอร์เตลเย (Södertälje) เป็นเมืองในเทศบาลเซอเดอร์เตลเย สตอกโฮล์มเคาน์ตี ประเทศสวีเดน มีประชากร 64,619 คน ในปี..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและเซอเดอร์เตลเย · ดูเพิ่มเติม »

Superior colliculus

optic tectum หรือเรียกสั้น ๆ ได้ว่า tectum เป็นโครงสร้างคู่ที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในสมองส่วนกลางของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โครงสร้างนี้มักจะเรียกกันว่า superior colliculus (ตัวย่อ SC) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นชั้น ๆ แม้ว่าจำนวนชั้นจะแตกต่างกันไปในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ ชั้นนอก ๆ มีหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัส และรับข้อมูลมาจากทั้งตาและระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ ส่วนชั้นที่ลึก ๆ ลงไปมีหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการ (motor) มีความสามารถในการเริ่มการเคลื่อนไหวของตาและเริ่มการตอบสนองในระบบอื่น ๆ ส่วนชั้นในระหว่างกลางมีนิวรอนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสหลายทาง และเกี่ยวกับการสั่งการด้วย หน้าที่ทั่ว ๆ ไปของเทคตัมก็คือ ชี้ทางการตอบสนองทางพฤติกรรมไปยังตำแหน่งต่าง ๆ โดยมีกายเป็นศูนย์กลาง ชั้นแต่ละชั้นของเทตตัมมีแผนที่ภูมิลักษณ์ของโลกรอบตัวที่ใช้พิกัดแบบ retinotopy และการทำงานของนิวรอนจุดหนึ่งในแผนที่ทำให้เกิดการตอบสนองทางพฤติกรรมตรงตำแหน่งในปริภูมิที่สัมพันธ์กับจุดในแผนที่นั้น ในไพรเมต งานศึกษาเรื่องของ SC โดยมากเป็นไปเกี่ยวกับการควบคุมการทอดสายต.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและSuperior colliculus · ดูเพิ่มเติม »

X ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน)

X ทัวร์ (x Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตรอบโลกที่ 2 ของศิลปินนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ โดย เอ็ด ชีแรน จากอัลบั้มที่ 2 ของเขา × โดยเริ่มต้นที่โอซะกะ,ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและX ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน) · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สต็อกโฮล์มและ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Stockholmกรุงสตอกโฮล์มกรุงสต๊อกโฮล์มกรุงสต็อกโฮล์มสตอกโฮล์มสต๊อกโฮล์มสต็อคโฮล์ม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »