สารบัญ
24 ความสัมพันธ์: ฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์กฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวียฟุตซอลทีมชาติเซอร์เบียพีพีชา-41กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกรการก่อการกำเริบในหุบเขาเพรเชวอยูโกสลาเวียรัตโก มลาดิชสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสาธารณรัฐเซิร์บครายีนาสงครามบอสเนียสงครามสิบวันสงครามประกาศเอกราชโครเอเชียสงครามโครแอต-บอสนีแอกคณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาปืนกลเดกเตียริออฟปืนซุ่มยิงดรากูนอฟปืนเล็กยาวโมซิน-นากองท์เหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544เอฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์เอสวีที-40เอสเคเอส14 ธันวาคม
ฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์ก
ฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์ก (ชื่อเต็ม: ฟรานเซสกา แอนน์ ฟรีอินน์; Francesca Anne Freiin von Habsburg-Lothringen, ราชสกุลเดิม ทิสเซน-บอร์เนอมิสซา เดอ คาสซอน; Thyssen-Bornemisza de Kászon) เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์ก
ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย
ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย เป็นอดีตทีมฟุตบอลตัวแทนของราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1941) และสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย
ฟุตซอลทีมชาติเซอร์เบีย
ฟุตซอลทีมชาติเซอร์เบีย (Serbia national futsal team)เป็นตัวแทนของทีมชาติเซอร์เบีย ในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเซอร์เบี.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและฟุตซอลทีมชาติเซอร์เบีย
พีพีชา-41
ีพีชา-41 (pistolet-pulemyot Shpagina; Пистолет-пулемёт Шпагина; "Shpagin machine pistol");เป็นปืนกลมือของโซเวียตที่ออกแบบโดย Georgy Shpagin ที่มีราคาถูก, มีความน่าเชื่อถือและใช้งานง่ายกว่าปืนกลมือพีพีดี-40.ชื่อเล่นทั่วไปเป็น "พี-พี-ช่า"(ППШ) จากคำนำหน้าสามตัวและคำว่า "พาพาช่า"(папаша) ซึ่งหมายถึง "พ่อ หรือ บิดา" พีพีชา-41 เป็นปืนกลมือประจำกายแบบซองกระสุนที่ใช้งานแบบเปิดลูกเลื่อนและทำให้ปืนสะท้อนถอยหลัง (Blowback).ส่วนใหญ่มันทำมาจากการปั๊มเหล็กกล้.สามารถบรรจุกระสุนได้ด้วยกล่องหรือแม็กกาซีนตลับหอยโข่ง (drum magazine) และยิงด้วยกระสุน 7.62×25มม.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและพีพีชา-41
กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (กองกำลังแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ) (Vojska Srbije i Crna Gore, VSCG; Војска Србије и Црне Горе, ВСЦГ) เป็นกองกำลังทหารของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ระหว่าง..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและกองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
การก่อการกำเริบในหุบเขาเพรเชวอ
การก่อกำเริบในหุบเขาพรีสเวอ (อังกฤษ: Insurgency in the Preševo Valley) เป็นความขัดแย้งระหว่างสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียและกลุ่มแบ่งแยกดินแดนแอลเบเนียของกองทัพปลดปล่อยพีโสโว, แม็ทวิด้า และบูจูนอแวค (อังกฤษ: Liberation Army of Preševo, Medveđa and Bujanovac; อักษรย่อ: UÇPMB) มีกรณีระหว่างความขัดแย้งที่รัฐบาลยูโกสลาเวียร้องขอให้ KFOR สนับสนุนการปราบปรามการโจมตีของ UÇPMB เนื่องจากพวกเขาใช้กองกำลังติดอาวุธที่มีอาวุธเบาเป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงคองโคส ซึ่งยุติสงครามโคโซโวซึ่งสร้างเขตกันชนเพื่อให้กลุ่มยูโกสลาเวี.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและการก่อการกำเริบในหุบเขาเพรเชวอ
ยูโกสลาเวีย
ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".
ดู สงครามยูโกสลาเวียและยูโกสลาเวีย
รัตโก มลาดิช
รัตโก มลาดิช รัตโก มลาดิช (Ratko Mladić; Ратко Младић; เกิด 12 มีนาคม ค.ศ. 1942 หรือ 1943) เป็นผู้นำการทหารและผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรสงครามชาวเซิร์บ รัตโกเป็นที่รู้จักขึ้นมาระหว่างสงครามยูโกสลาเวีย เริ่มจากการเป็นนายทหารระดับสูงแห่งกองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย และเป็นเสนาธิการกองทัพเซิร์บบอสเนียระหว่างสงครามบอสเนี..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและรัตโก มลาดิช
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
สาธารณรัฐเซิร์บครายีนา
รณรัฐเซิร์บครายีนา (Република Српска Крајина, РСК; Republika Srpska Krajina, RSK) เป็นรัฐที่ไม่ได้รับการรับรองซึ่งถูกประกาศจัดตั้งขึ้นภายในพื้นที่ของโครเอเชียหลังโครเอเชียประกาศเอกราชจากยูโกสลาเวีย สาธารณรัฐเซิร์บครายีนายุติกิจกรรมในปี..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและสาธารณรัฐเซิร์บครายีนา
สงครามบอสเนีย
งครามบอสเนีย หรือ สงครามกลางเมืองบอสเนีย เป็นสงครามความขัดแย้งชาติพันธุ์ระหว่างชาวโครแอต ชาวเซิร์บ และชาวบอสเนียซึ่งเป็นชาวมุสลิม สงครามปะทุในวันที่ 1 มีนาคม..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและสงครามบอสเนีย
สงครามสิบวัน
งครามสิบวัน (desetdnevna vojna) หรือเรียกอีกชื่อว่า สงครามอิสรภาพสโลวีเนีย (slovenska osamosvojitvena vojna), เป็นสงครามอิสรภาพตามประกาศอิสรภาพของชาวสโลวีเนียในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและสงครามสิบวัน
สงครามประกาศเอกราชโครเอเชีย
งครามโครเอเชีย หรือ สงครามประกาศเอกราชโครเอเชีย เป็นสงครามที่เกิดขึ้น เมื่อสมัชชาโครเอเชีย ต้องการเอกราชโครเอเชีย โดยมูลเหตุมาจากในที่ประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียดุเดือดสุดๆ สมัชชาเซอร์เบียและสมัชชาโครเอเชียโต้เถี่ยงกันในสภาโดยสมัชชาเซอร์เบียใช้อำนาจทั้งหมดขัดขวางการขึ้นมีอำนาจของประธานาธิบดียูโกสลาเวียที่มาจากชาวโครแอท ทำให้ทางสมัชชาโครเอเชียจึงเดินออกจากสภาไป ทางสมัชชาจัดการชุมุนมเรียกร้องให้ประชาชนมาชุมนุมซึ่งผลตอบรับค่อนข้างสูงชาวโครแอทต้องการเอกราชโครเอเชีย ทำให้เกิดการปะทะกับตำรวจและผลลัพธ์จมลงด้วยสงคราม โดย นายทหารยูโกสลาเวียที่เป็นชาวโครแอทได้รวบรวมอาวุธเพื่อประกาศเอกราช ในวันที่ 31 มีนาคม 1991 กองทัพยูโกสลาเวีย ยกพลบุกโครเอเชีย แม้จะได้รับการคัดค้านจะสมัชชาบอสเนีย แต่กองพลยุโกสลาเวียก็เคลือนพล ทหาร ประชาชน ชาวโครแอทที่ถูกปราบปราม ขณะที่ชาวเซิร์บในโครเอเชียก็ไก้ประกาศตั้งประเทศ สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนาซ้อนทับโครเอเชีย ในวันที่ 5 เมษายน 1992 ยุโกสลาเวียล้มสลายเมื่อสมัชชาบอสเนียและสมัชชาเซอร์เบียขัดแย้งแตกคอกัน และจบลงด้วยสงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย กองทัพยูโกสลาเวียที่มาจากเซอร์เบียและบอสเนียจึงล่าถอยกลับประเทศ เหลือไว้กำลังชาวเซิร์บในโครเอเชียซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ซึ่งฝ่ายชาวเซิร์บอ่อนแอลงอ่อนแอลงทุกๆวัน เนื่องจากเป็นแค่กองกำลังขนาดเล็กๆ ขณะที่โครเอเชีย ขยายและพัฒนากองทัพ ในช่วงปี1995ทหารบอสเนียได้ยกพลเข้าโครเอเชียเพื่อร่วมต่อสู้กับโครเอเชียเพื่อปราบปรามกองกำลังของสาธารณรัฐเซิร์ปสกาที่มาทำสงครามในโครเอเชีย ทหารบอสเนียสามารถเอาชนะ และยึดครองจังหวัดปกครองตนเองบอสเนียตะวันตกกลับมาเป็นของบอสเนียได้อีกครั้ง รวมถึงปราบปรามกลุ่มกบฎเซิร์บบอสเนียในโครเอเชียได้ จุดจบของสงครามเกิดขึ้น ในวัน 11 พฤศจิกายน สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนา ยอมจำนน หลังจากที่นาโต้โจมตี กลุ่มประเทศชาวเซิร์บไม่ว่าจะเป็น สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนา, เซอร์เบียและมอนเตเนโกร, สาธารณรัฐเซิร์ปสก.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและสงครามประกาศเอกราชโครเอเชีย
สงครามโครแอต-บอสนีแอก
งครามโครแอต-บอสนีแอก เป็นสงครามระหว่างชาวบอสเนียกับชาวโครแอต ซึ่งเกิดทั้งในภูมิภาคบอสเนียกลาง เฮอร์เซโกวีนา และในเขตประเทศโครเอเชีย มูลเหตุสงครามมาจากในปี1991 โครเอเชียได้ประกาศเอกราชจาก ยูโกสลาเวีย แต่ก็แยกไปเฉพาะชาวโครแอตในโครเอเชีย ทำให้ชาวโครแอตในบอสเนียจึงได้ก่อตั้ง สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย เพื่อประกาศเอกราชจาก สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งกำลังทำสงครามกับกลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บอยู่ ซึ่งถ้าเปิดศึกกับชาวโครแอตก็จะกลายเป็นสงครามสองฝ่าย แต่ด้วยรัฐบาลบอสเนียไม่ยอมรับให้โครเอเชียยึดดินแดนอีกต่อไป กองทัพบอสเนียจึงเคลื่อนพลบุกฐานที่มั่นกองกำลังโครแอต ซึ่งมีทั้งชาวโครแอตบอสเนียและชาวโครเอเชียประจำอยู่ในกองกำลัง บอสเนียได้เปิดศึกกับโครเอเชียด้วย ในพรมแดนโครแอต-บอสเนีย ทั่วประเทศบอสเนีย สงครามโครแอต-บอสนีแอกยังถูกระบุว่าเป็นสงครามที่มีอาชญกรรมสงคราม โดยทหารชาวโครแอต ซึ่งได้ทำการสังหารหมู่ชาวบอสเนียในภูมิภาคบอสเนียกลาง ในช่วงเมษายน 1993 มีผู้เสียชีวิต ประมาณ 2,000 คน โดยทั้งหมดเป็นชาวมุสลิมบอสเนีย กองทัพบอสเนียได้ร้องขอให้ สหประชาชาติส่งกำลังมา ซึ่งสหประชาชาติส่งกำลังทางทหารเข้ามา สหประชาชาติได้จับกุมผู้กอ่อาชญกรรมชาวโครแอต และกำหนดให้ สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย ถูกยุบและไปรวมกับบอสเนีย ขณะเดียวกันสหประชาชาติยังได้ให้บอสเนียและโครเอเชียสงบศึกกัน และ ร่วมกันทำสงครามกับกลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บทั้งในบอสเนียและโครเอเชีย ปี1995 กองทัพบอสเนียได้เคลือนพลเข้าโครเอเชียเพื่อช่วยโครเอเชียปราบปรามกลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บ ผลลัพธ์ของสงครามเกิดอาชญกรรมสงครามากมาย และ มีการจัดตั้งสนธิสัญญาวอชินัตนระหว่างรัฐบาลบอสเนียและรัฐบาลโครเอเชีย รัฐบาลบอสเนียสถาปนาสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาขึ้นเพื่อเป็นดินแดนของชาวโครแอตและชาวมุสลิมบอสเนีย มีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและสงครามโครแอต-บอสนีแอก
คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวีย
อาคารที่ทำการของคณะตุลาการในกรุงเฮก คณะตุลาการระหว่างประเทศเพื่อดำเนินคดีผู้ต้องรับผิดชอบการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอย่างร้ายแรงซึ่งกระทำลงในดินแดนอดีตยูโกสลาเวียตั้งแต..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและคณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวีย
ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ปืนกลเดกเตียริออฟ
ปืนกลเดกเตียริออฟ (Пулемёт Дегтярёвa Пехотный. Pulemyot Degtyaryova Pekhotny "Degtyaryov's infantry machine gun") เป็นปืนกลเบาใช้กระสุนขนาด 7.62×54mmR ถูกใช้ในสหภาพโซเวียตในปี 1928 ปืนกลเดกเตียริออฟเป็นบรรพบุรุษของ RPD machine gun.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและปืนกลเดกเตียริออฟ
ปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ
ปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ หรือ SVD (Снайперская винтовка Драгунова, Snayperskaya Vintovka Dragunova (SVD) เป็นปืนซุ่มยิงระยะไกลแบบกึ่งอัตโนมัติทำงานด้วยระบบแกส ที่พัฒนาในสหภาพโซเวียต ออกแบบโดยเยฟเกนี ดรากูนอฟ และเข้าประจำการตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ
ปืนเล็กยาวโมซิน-นากองท์
ปืนไรเฟิล 3 ไลน์ เอ็ม 1891 (3-line rifle M1891, трёхлинейная винтовка образца 1891 года, tryokhlineynaya vintovka obraztsa 1891 goda) หรือที่รู้จักกันในชื่อ โมซิน-นากองท์ (Mosin–Nagant, винтовка Мосина) เป็นปืนไรเฟิลที่ถูกพัฒนาโดยกองทัพจักรวรรดิรัสเซียในปี 1882-1891 และใช้งานโดยกองทัพจักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียตและประเทศอื่น ๆ ถูกผลิตมากกว่า 37 ล้านกระบอกนับตั้งแต่เริ่มผลิตในปี 1891 และถูกนำมาใช้ในความขัดแย้งต่าง ๆ ทั่วโลกจนถึงสมัยปัจจุบัน.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและปืนเล็กยาวโมซิน-นากองท์
เหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544
หตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนี..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและเหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544
เอฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์
อฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์ เป็นขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ (SAM) นำวิถีด้วยอินฟราเรด ติดตั้งบนพาหนะภาคพื้นดิน บุคคลประทับบ่ายิง หรือบางกรณีสามารถติดตั้งกับเฮลิคอปเตอร์ได้ (AAM) พัฒนาโดยสหรัฐอเมริกาและเข้าประจำการในกองทัพบกสหรัฐในปี..
ดู สงครามยูโกสลาเวียและเอฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์
เอสวีที-40
ทหารโซเวียตกับปืนไรเฟิล เอสวีที-40 เอสวีที-40 (SVT-40,ย่อมาSamozaryadnaya Vintovka Tokareva, Obrazets 1940 godaСамозарядная винтовка Токарева, образец 1940 года.) ปืนไรเฟิลของสหภาพโซเวียตผลิตใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งใจจะเป็นปืนไรเฟิลประจำการใหม่ของกองทัพแดงโซเวียตแทนปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ แต่การผลิตได้หยุดชะงักจากการรุกรานของเยอรมนี ทำให้การผลิตช้าซึงทำให้กองทัพหันไปใช้ปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ซึ่งการผลิตได้รวดเร็วกว.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและเอสวีที-40
เอสเคเอส
อสเคเอส เป็นปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติโซเวียตลำกล้อง 7.62 × 39มม.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและเอสเคเอส
14 ธันวาคม
วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.
ดู สงครามยูโกสลาเวียและ14 ธันวาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สงครามยูโกสลาฟ