สารบัญ
73 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1998พ.ศ. 2014พระราชวังวินด์เซอร์พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษมหาศึกชิงบัลลังก์ (บันเทิงคดี)มาร์กาเรต โบฟอร์ต เคาน์เตสแห่งริชมอนด์และดาร์บีมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษยอร์กยุทธการบลอร์ฮีธยุทธการมอร์ติเมอร์ครอสยุทธการลัดฟอร์ดบริดจ์ยุทธการลูส-โคทฟิล์ดยุทธการที่บอสเวิร์ธฟิลด์ยุทธการที่บาร์เนตยุทธการที่สโตกฟิลด์ยุทธการที่ทาวตันยุทธการที่ทิวก์สบรียุทธการที่นอร์แธมป์ตัน (ค.ศ. 1460)ยุทธการที่เวกฟิลด์ยุทธการที่เอ็ดจ์โคทมัวร์ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2ยุทธการแซนด์วิช (ค.ศ. 1460)ยุทธการเฟอร์รีบริดจ์ยุทธการเฮ็กแซมยุทธการเฮ็ดจลีย์มัวร์รัชทายาทที่ได้รับสมมุติราชวงศ์ยอร์กราชวงศ์ทิวดอร์ราชวงศ์แลงคัสเตอร์รายชื่อสงครามกลางเมืองของอังกฤษริชาร์ด วูดวิลล์ เอิร์ลริเวิร์สที่ 1ริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์กริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 16 แห่งวอริกริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 5 แห่งซอลส์บรีริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3วิลเลียม เฮสติงส์ บารอนเฮสติงส์ที่ 1วิลเลียม เนวิลล์ เอิร์ลที่ 1 แห่งเคนต์วิลเลียมเดอลาโพล ดยุคแห่งซัฟโฟล์คที่ 1สงครามกลางเมืองฮัมฟรีย์ สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮมจอร์จ แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์... ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »
พ.ศ. 1998
ทธศักราช 1998 ใกล้เคียงกั.
ดู สงครามดอกกุหลาบและพ.ศ. 1998
พ.ศ. 2014
ทธศักราช 2014 ใกล้เคียงกั.
ดู สงครามดอกกุหลาบและพ.ศ. 2014
พระราชวังวินด์เซอร์
ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระราชวังวินด์เซอร์
พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Richard II of England) (6 มกราคม ค.ศ. 1367 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1400) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าริชาร์ดที่ 3 (2 ตุลาคม ค.ศ. 1452 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษตั้งแต..
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ (Edward IV of England) (28 เมษายน ค.ศ. 1442 – 9 เมษายน ค.ศ. 1483) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและลอร์ดแห่งไอร์แลนด์ในราชวงศ์ยอร์ก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ (Henry IV of England) (3 เมษายน ค.ศ. 1367 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1413) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 3 เมษายน..
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ (Henry VI of England) (6 ธันวาคม ค.ศ. 1421 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1471) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษและฝรั่งเศส สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (Henry VII of England) (28 มกราคม ค.ศ. 1457 – 21 เมษายน ค.ศ. 1509) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์ทิวดอร์ ระหว่างปี ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์
ระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์ (James IV of Scotland) ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์สกอตแลนด์ใน..
ดู สงครามดอกกุหลาบและพระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์
กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ
ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ
มหาศึกชิงบัลลังก์ (บันเทิงคดี)
มหาศึกชิงบัลลังก์ (A Song of Ice and Fire) เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีระดับสูง เขียนโดย จอร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน ผู้ประพันธ์นวนิยายและผู้เขียนบทภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เริ่มชุดในปี 2534 และจัดพิมพ์เกมล่าบัลลังก์ซึ่งเป็นเล่มแรก ในปี 2539 มาร์ตินค่อย ๆ ขยายไตรภาคที่วางโครงไว้เดิมเป็นเจ็ดเล่ม เล่มห้า A Dance with Dragons (ยังไม่มีชื่อภาษาไทย) ใช้เวลาเขียนห้าปีกระทั่งจัดพิมพ์ในปี 2554 ขณะนี้ เล่มหก ชื่อ The Winds of Winter อยู่ระหว่างการเขียน เรื่องราวของมหาศึกชิงบัลลังก์เกิดขึ้นในทวีปสมมติ เวสเทอรอสและเอ็สซอส โดยมีประวัติศาสตร์หลายพันปี บันเทิงคดีชุดนี้บอกเล่าในตัวละครมุมมองบุคคลที่สาม ซึ่งมีจำนวนมากถึง 31 ตัวละครจนถึงเล่มห้า เกี่ยวข้องกับสามเรื่องราว ได้แก่ บันทึกเหตุการณ์สงครามระหว่างราชวงศ์หลายตระกูลเพื่อชิงการควบคุมเวสเทอรอส ภัยคุกคามจากอมนุษย์เหนือธรรมชาติที่จำศีลอยู่ซึ่งอาศัยอยู่พ้นกำแพงน้ำแข็งมหึมาทางพรมแดนทิศเหนือของเวสเทอรอส และความทะเยอทะยานของเดเนอริส ทาร์แกร์เรียน พระราชธิดาที่ทรงถูกเนรเทศของพระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ในสงครามกลางเมืองไม่นานก่อนพระนางประสูติ ที่จะเสด็จกลับเวสเทอรอสพร้อมด้วยมังกรและอ้างสิทธิ์เหนือราชบัลลังก์อันชอบธรรม มาร์ตินได้รับแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ อย่างยุคสงครามดอกกุหลาบของอังกฤษ เขาแต่งขัดสัญนิยมของประเภทแฟนตาซีระดับสูง บันเทิงคดีชุดนี้ได้รับการยกย่องสำหรับความสมจริง โดยให้การยุทธ์และเล่ห์การเมืองอยู่เหนือเวทมนตร์ เล่มแรกไม่มีเวทมนตร์ในทางปฏิบัติเลย แต่เวทมนตร์เริ่มมีอยู่มากขึ้นในแต่ละเล่ม ความรุนแรง เพศสภาพและความกำกวมทางจริยธรรมมักถูกแสดงโดยตัวละครที่ออกชื่อกว่าหนึ่งพันตัวละคร ตัวละครหลักมักถูกฆ่าเพื่อที่ผู้อ่านไม่สามารถวางใจว่าผู้ที่สมเป็นวีรบุรุษอยู่รอดปลอดภัย โครงสร้างหลายมุมมองทำให้สามารถสำรวจตัวละครได้จากหลายด้าน เพื่อที่ผู้ที่สมเป็นตัวโกงจะได้ให้มุมมองของตนบ้าง ตรงกันข้ามกับการเล่าเรื่องคนเดียว โครงสร้างนี้สามารถเสนอสารสนเทศที่ชวนให้ไขว้เขวเพราะถูกการตีความเหตุการณ์ของตัวละครแต่ละตัวบิดเบือนไป แทนที่จะเป็นการนำเสนอข้อเท็จจริงอย่างแท้จริง มหาศึกชิงบัลลังก์ยังได้รับการวิจารณ์เชิงวิพากษ์จากการพรรณนาถึงหญิงและศาสนาที่หลากหลาย แม้ทีแรกจะจัดพิมพ์โดยไม่มีการโฆษณายิ่งใหญ่ ปัจจุบันหนังสือในชุดขายได้กว่า 15 ล้านเล่มทั่วโลก และได้รับการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ กว่า 20 ภาษา เล่มสี่และเล่มห้าขึ้นอันดับหนังสือขายดีเดอะนิวยอร์กไทมส์ทันทีที่วางจำหน่าย ในบรรดางานดัดแปลงจำนวนมากมีนวนิยายขนาดสั้น ซีรีส์ทางโทรทัศน์ มหาศึกชิงบัลลังก์ ทางเอชบีโอ การดัดแปลงเป็นหนังสือการ์ตูน ตลอดจนเกมไพ่ เกมกระดานและวิดีโอเกมต่าง.
ดู สงครามดอกกุหลาบและมหาศึกชิงบัลลังก์ (บันเทิงคดี)
มาร์กาเรต โบฟอร์ต เคาน์เตสแห่งริชมอนด์และดาร์บี
มาร์กาเร็ต โบฟอร์ท เคานเทสแห่งริชมอนด์และดาร์บี หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เลดี้มาร์กาเร็ต โบฟอร์ท (Margaret Beaufort Countess of Richmond and Derby; 31 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและมาร์กาเรต โบฟอร์ต เคาน์เตสแห่งริชมอนด์และดาร์บี
มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
มาร์กาเร็ตแห่งอองชู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (อังกฤษ: Margaret of Anjou) (23 มีนาคม ค.ศ. 1430 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1482) มาร์กาเร็ตแห่งอองชูประสูติเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
ยอร์ก
อร์ก (York) เป็นนครที่ยังมีกำแพงเมืองโบราณล้อมรอบที่ตั้งอยู่ในนอร์ธยอร์กเชอร์ในภูมิภาคยอร์กเชอร์และแม่น้ำฮ้มเบอร์ของอังกฤษ นครยอร์กตั้งอยู่ในบริเวณที่แม่น้ำอูสและแม่น้ำฟอสส์ ยอร์กเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และมีบทบาทมาเกือบตลอด 2,000 ปีที่ก่อตั้งมา เมืองยอร์กก่อตั้งเป็นเมืองป้อมปราการเอบอราคุม (Eboracum) ในปี..
ยุทธการบลอร์ฮีธ
ทธการบลอร์ฮีธ (Battle of Blore Heath) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1459 ที่บลอร์ฮีธในมณฑลสตาฟฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยเจมส์ ทูเชท์ บารอนแห่งออดลีย์ที่ 5 และจอห์น ซัททัน บารอนแห่งดัดลีย์ที่ 1 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 5 ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ ในด้านความเสียหายฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์มีผู้เสียชีวิตราว 2,000 คน ส่วนฝ่ายราชวงศ์ยอร์คมีผู้เสียชีวิตราว 1,000 คน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการบลอร์ฮีธ
ยุทธการมอร์ติเมอร์ครอส
ทธการมอร์ติเมอร์ครอส (Battle of Mortimer's Cross) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1461 ที่วิกมอร์ในแฮรฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยโอเว็น ทิวดอร์และแจสเปอร์ ทิวดอร์ และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ หลังจากการเสียชีวิตของริชาร์ด แพลนทาเจเน็ท ดยุคแห่งยอร์คที่ 3 ในยุทธการเวคฟิลด์ในเดือนธันวาคมปีก่อนหน้านั้นแล้วฝ่ายยอร์คก็นำโดยบุตรของริชาร์ดเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช (พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4) ผู้มีอายุเพียง 18 ปี เอ็ดเวิร์ดต้องกันจะป้องกันไม่ให้กองทัพของฝ่ายแลงคาสเตอร์ที่นำโดยโอเว็น ทิวดอร์และลูกชายแจสเปอร์ ทิวดอร์จากเวลส์ไปสมทบกับกองทัพใหญ่ของแลงคาสเตอร์ได้ เอ็ดเวิร์ดรวบรวมกองกำลังจากบริเวณชายแดนและจากกองกำลังเวลช์ที่เป็นฝ่ายยอร์คโดยเฉพาะจากวิลเลียม เฮอร์เบิร์ต เอิร์ลแห่งเพ็มโบรคที่ 1 (William Herbert, 1st Earl of Pembroke) และผู้สนับสนุน ฝ่ายยอร์คได้รับชัยชนะ แจสเปอร์ ทิวดอร์หนีไปได้แต่โอเว็น ทิวดอร์ถูกจับและถูกประหารชีวิต ทหารเวลส์จำนวนมากถูกสังหาร บ้างก็ว่าเป็นจำนวนถึง 4000 คน ชัยชนะครั้งนี้นำไปสู่การขึ้นครองราชสมบัติของเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ชเป็นสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษในปลายปีเดียวกัน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการมอร์ติเมอร์ครอส
ยุทธการลัดฟอร์ดบริดจ์
ทธการลัดฟอร์ดบริดจ์ (Battle of Ludford Bridge) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1459 ที่ลัดฟอร์ดบริดจ์ในมณฑลชร็อพเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์ค ผลของยุทธการครั้งนี้แลงคาสเตอร์เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ หลังจากที่ได้รับชัยชนะในยุทธการบลอร์ฮีธระหว่าเขตแดนชร็อพเชอร์และสตาฟฟอร์ดเชอร์แล้วฝ่ายยอร์คก็เดินทัพไปยังวูสเตอร์ แต่ก็ต้องถอยกลับมาตั้งหลักที่ลัดฟอร์ดบริดจ์ในชร็อพเชอร์หลังจากที่พบกองทัพที่มีกำลังเหนือกว่ามากของฝ่ายแลงคาสเตอร์ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการลัดฟอร์ดบริดจ์
ยุทธการลูส-โคทฟิล์ด
ทธการลูส-โคทฟิล์ด (Battle of Losecoat Field) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1470 ใกล้เอ็มพิงแงมในรัทแลนด์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยโรเบิร์ต เวลล์ส บารอนวิลเลอบีเดอเอเรสบีที่ 8 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการลูส-โคทฟิล์ด
ยุทธการที่บอสเวิร์ธฟิลด์
ทธการบอสเวิร์ธฟิลด์ (Battle of Bosworth Field) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485 ที่เมืองบริเวณมาร์เค็ตบอสเวิร์ธในมณฑลเลสเตอร์เชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยริชาร์ดที่ 3 และฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยเฮนรี ทิวดอร์ เอิร์ลแห่งริชมอนด์และจอห์นเดอเวียร์ เอิร์ลแห่งอ๊อกซฟอร์ดที่ 13 ผลของยุทธการครั้งนี้แลงคาสเตอร์ได้รับชัยชนะ ในด้านความเสียหายของทั้งสองฝ่ายไม่มีหลักฐานแน่นอนที่ระบุไว้ การสิ้นสุดของสงครามเป็นการสิ้นสุดของราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทและเป็นการเริ่มการปกครองอังกฤษของราชวงศ์ใหม่ราชวงศ์ทิวดอร์โดยมีสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 เป็นปฐมกษัตริย์ ในทางประวัติศาสตร์ยุทธการบอสเวิร์ธฟิลด์ถือว่าเป็นยุทธการสุดท้ายของสงครามดอกกุหลาบสงครามดอกกุหลาบและเป็นจุดสิ้นสุดของยุคกลางในราชอาณาจักรอังกฤษ แม้ว่าจะมียุทธการที่เกิดขึ้นหลังจากยุทธการนี้โดยผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์จากฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่ไม่สำเร็จก็ตาม ยุทธการครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบสงครามยุคกลางยุทธการสุดท้ายและพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 ทรงเป็นกษัตริย์อังกฤษองค์สุดท้ายที่เสด็จสวรรคตในสนามร.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่บอสเวิร์ธฟิลด์
ยุทธการที่บาร์เนต
ทธการบาร์เน็ต (Battle of Barnet) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1471 เหนือบาร์เน็ตเหนือลอนดอนในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่บาร์เนต
ยุทธการที่สโตกฟิลด์
ทธการสโตคฟิลด์ (Battle of Stoke Field) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1487 ที่เมืองอีสต์สโตคในมณฑลน็อตติงแฮมเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยจอห์น เดอลาโพล เอิร์ลแห่งลิงคอล์นที่ 1 ผลของยุทธการครั้งนี้แลงคาสเตอร์เป็นฝ่ายได้รับชัยชน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่สโตกฟิลด์
ยุทธการที่ทาวตัน
ทธการที่ทาวตัน (Battle of Towton) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1461 ใกล้หมู่บ้านทาวตันในเทศมณฑลยอร์กเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคัสเตอร์ที่นำโดยเฮนรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 3 กับฝ่ายราชวงศ์ยอร์กที่นำโดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์กเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด ในด้านความเสียหาย ฝ่ายราชวงศ์แลงคัสเตอร์มีผู้เสียชีวิต 8,000-20,000 คน ส่วนฝ่ายราชวงศ์ยอร์กมีผู้เสียชีวิต 8,000-20,000 คน ซึ่งทำให้เป็นยุทธการนองเลือดใหญ่ยุทธการสุดท้ายเท่าที่เคยต่อสู้กันมาในสหราชอาณาจักร เชื่อกันว่าทั้งสองฝ่ายเสียทหารรวมกันราว 28,000 นาย มีแต่เพียงยุทธการที่วอตลิงสตรีต (Battle of Watling Street) ใน..
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่ทาวตัน
ยุทธการที่ทิวก์สบรี
ทธการที่ทิวก์สบรี (Battle of Tewkesbury) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1471 ที่เมืองทิวก์สบรีในเทศมณฑลกลอสเตอร์เชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคัสเตอร์ที่นำโดยเอ็ดมันด์ โบฟอร์ต ดุ๊กที่ 4 แห่งซัมเมอร์เซต, มาร์กาเร็ตแห่งอ็องฌู และเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์ และฝ่ายราชวงศ์ยอร์กที่นำโดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 และริชาร์ด ดุ๊กแห่งยอร์ก พระอนุชา ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์กเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด ยุทธการครั้งนี้เป็นยุทธการที่ทำให้ฝ่ายราชวงศ์แลงคัสเตอร์ต้องยุติการยึดราชบัลลังก์อังกฤษเป็นการชั่วคราว จากนั้นมาก็เป็นเวลาอีกสิบสี่ปีก่อนที่เฮนรี ทิวดอร์จะสามารถยุติความขัดแย้งของราชวงศ์แลงคัสเตอร์และราชวงศ์ยอร์กเป็นการถาวรได้.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่ทิวก์สบรี
ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน (ค.ศ. 1460)
ทธการนอร์ทแธมป์ตัน (ค.ศ. 1460) (Battle of Northampton (1460)) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1460 ที่เมืองนอร์ทแธมป์ตันในนอร์ทแธมป์ตันเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยพระเจ้าเฮนรีที่ 6 และฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ด ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 1 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายยอร์คได้รับชัยชนะ ในด้านความเสียหายฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์มีผู้เสียชีวิต 300 คน ส่วนฝ่ายราชวงศ์ยอร์คไม่ทราบจำนวน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน (ค.ศ. 1460)
ยุทธการที่เวกฟิลด์
ทธการเวคฟิลด์ (Battle of Wakefield) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ค.ศ. 1460 ที่เวคฟิลด์ในมณฑลเวสต์ยอร์คเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ผู้มีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าเฮนรีที่ 6, พระราชินีมาร์กาเร็ต และพระราชโอรสเจ้าชายเอ็ดเวิร์ดที่ถูกจับตัวไป ฝ่ายนี้นำโดยเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 3, เฮนรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 3 และจอห์น คลิฟฟอร์ด บารอนเดอคลิฟฟอร์ดที่ 9 และฝ่ายตรงข้ามฝ่ายราชวงศ์ยอร์คนำโดยริชาร์ด แพลนทาเจเน็ท ดยุคแห่งยอร์คที่ 3, ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 5 และเอ็ดมันด์ เอิร์ลแห่งรัทแลนด์ ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายแลงคาสเตอร์ได้รับชัยชนะ กองทัพฝ่ายยอร์คถูกทำลายและดยุคแห่งยอร์คเสียชีวิตในสนามร.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่เวกฟิลด์
ยุทธการที่เอ็ดจ์โคทมัวร์
ทธการเอ็ดจโคทมัวร์ (Battle of Edgecote Moor) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1469 ที่เดนสมัวร์ในมณฑลนอร์ทแธมป์ตันเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยวิลเลียม เฮอร์เบิร์ต เอิร์ลแห่งเพมโบรคที่ 1 ผลของยุทธการครั้งนี้แลงคาสเตอร์เป็นฝ่ายได้รับชัยชน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่เอ็ดจ์โคทมัวร์
ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1
ทธการเซนต์อัลบันส์ครั้งที่ 1 (First Battle of St Albans) เป็นยุทธการแรกของสงครามดอกกุหลาบที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1
ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2
ทธการเซนต์อัลบันส์ครั้งที่ 2 (Second Battle of St Albans) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2
ยุทธการแซนด์วิช (ค.ศ. 1460)
ทธการแซนด์วิช (ค.ศ. 1460) (Battle of Sandwich (1460)) เป็นปะทะกันในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นในเดือนมกราคม ค.ศ. 1460 ที่หน้าเมืองเมืองแซนด์วิช เค้นท์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ทางทะเลระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการแซนด์วิช (ค.ศ. 1460)
ยุทธการเฟอร์รีบริดจ์
ทธการเฟอร์รีบริดจ์ (Battle of Ferrybridge) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1461 ที่เฟอร์รีบริดจ์ใน ยอร์คเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยจอห์น คลิฟฟอร์ด บารอนคลิฟฟอร์ดที่ 9และจอห์น เนวิลล์ บารอนเนวิลล์ เดอ เรบีที่ 1 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดย ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 ผลของยุทธการครั้งนี้ไม่มีฝ่ายใดที่ได้รับชัยชนะ ยุทธการครั้งนี้เป็นยุทธการย่อยก่อนที่จะเกิดยุทธการใหญ่ที่โทว์ทัน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการเฟอร์รีบริดจ์
ยุทธการเฮ็กแซม
ทธการเฮ็กแซม (Battle of Hexham) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1464 ที่เฮ็กแซมในมณฑลนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยเฮนรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 3 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยจอห์น เนวิลล์ มาร์ควิสแห่งมองตากิวที่ 1 ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ ยุทธการครั้งนี้เป็นการต่อต้านครั้งใหญ่ครั้งสุดท้ายของฝ่ายแลงคาสเตอร์ในระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการเฮ็กแซม
ยุทธการเฮ็ดจลีย์มัวร์
ทธการเฮ็ดจลีย์มัวร์ (Battle of Hedgeley Moor) เป็นยุทธการในสงครามดอกกุหลาบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1464 ที่เฮ็ดจลีย์มัวร์ในมณฑลนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยเฮนรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 3 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยจอห์น เนวิลล์ มาร์ควิสแห่งมองตากิวที่ 1 ผลของยุทธการครั้งนี้ยอร์คเป็นฝ่ายได้รับชัยชน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและยุทธการเฮ็ดจลีย์มัวร์
รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).
ดู สงครามดอกกุหลาบและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
ราชวงศ์ยอร์ก
อกกุหลาบขาว สัญลักษณ์ราชวงศ์ยอร์คWarsoftheroses.com, Wars of the Roses - http://www.warsoftheroses.com/york.cfmhttp://www.warsoftheroses.com/york.cfm ราชวงศ์ยอร์ค (House of York) เป็นสาขาหนึ่งของ ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท ของ อังกฤษ ราชวงศ์ยอร์คเป็นฝ่ายตรงข้ามของ ราชวงศ์แลงคาสเตอร์ ใน สงครามดอกกุหลาบ ซึ่งเป็น สงครามกลางเมือง ในการแย่ง ราชบัลลังก์อังกฤษ ซึ่งมีผลกระทบกระเทือนต่อ ราชอาณาจักรอังกฤษ และ ราชอาณาจักรเวลส์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชื่อของราชวงศ์ตั้งตามชื่อ เอ็ดมันด์ แลงลีย์ พระราชโอรสองค์ที่สี่ใน พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ผู้มีตำแหน่งเป็นดยุคแห่งยอร์ค สัญลักษณ์ของราชวงศ์แลงคาสเตอร์คือดอกกุหลาบขาวแห่งยอร์ค พระเจ้าเฮนรีที่ 7 ทรงยุติการแย่งราชบัลลังก์ใน สงครามดอกกุหลาบ ระหว่างราชวงศ์แลงคาสเตอร์กับราชวงศ์ยอร์คโดยการเสกสมรสกับ เอลิซาเบธ แห่งยอร์ค พระราชธิดาของ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 และตั้งราชวงศ์ใหม่ที่เรียกว่า “ราชวงศ์ทิวดอร์” กษัตริย์ราชวงศ์ยอร์ค ของอังกฤษ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและราชวงศ์ยอร์ก
ราชวงศ์ทิวดอร์
ราชวงศ์ทิวดอร์ (อังกฤษ: Tudor, เวลส์: Tudur) เป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเวลส์ มีกษัตริย์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและราชวงศ์ทิวดอร์
ราชวงศ์แลงคัสเตอร์
'''ราชวงศ์แลงคัสเตอร์'''Warsoftheroses.com, Wars of the Roses - House of Lancasterhttp://www.warsoftheroses.com/lancaster.cfm ราชวงศ์แลงคัสเตอร์ (House of Lancaster) เป็นสาขาหนึ่งของราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของอังกฤษ ราชวงศ์แลงคัสเตอร์เป็นฝ่ายหนึ่งในสงครามดอกกุหลาบ ซึ่งเป็นสงครามกลางเมืองในการแย่งราชบัลลังก์อังกฤษ และมีผลกระทบกระเทือนต่อราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรเวลส์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชื่อของราชวงศ์ตั้งตามชื่อจอห์นแห่งกอนท์ พระราชโอรสของ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ผู้มีตำแหน่งเป็นดยุคแห่งแลงคัสเตอร์ สัญลักษณ์ของราชวงศ์แลงคัสเตอร์คือ ดอกกุหลาบแดงแห่งแลงคัสเตอร์ ศัตรูของราชวงศ์แลงคัสเตอร์คือราชวงศ์ยอร์ค ความเป็นคู่แข่งระหว่างแลงคัสเตอร์กับยอร์ค ซึ่งกลายมาเป็นมลฑลสืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ แต่อย่างไม่เป็นทางการ เช่น การแข่งกีฬาประจำปีระหว่างสองมหาวิทยาลัยแลงคัสเตอร์ และ มหาวิทยาลัยยอร์ค ที่เรียกว่า “การแข่งขันกีฬาดอกกุหลาบ” (Roses Tournament) ราชวงศ์แลงคัสเตอร์มาสิ้นสุดลงในศึกทูคสบรี (Battle of Tewkesbury) ในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและราชวงศ์แลงคัสเตอร์
รายชื่อสงครามกลางเมืองของอังกฤษ
“ยุทธการวูสเตอร์” (3 กันยายน ค.ศ. 1651) ในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 3 สงครามกลางเมืองของอังกฤษ รวมทั้ง.
ดู สงครามดอกกุหลาบและรายชื่อสงครามกลางเมืองของอังกฤษ
ริชาร์ด วูดวิลล์ เอิร์ลริเวิร์สที่ 1
ริชาร์ด วูดวิลล์ เอิร์ลริเวอร์สที่ 1 (Richard Woodville, 1st Earl Rivers) (ค.ศ. 1405 - 12 สิงหาคม ค.ศ. 1469) ริชาร์ด วูดวิลล์เป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบของฝ่ายแลงคาสเตอร์เมื่อเริ่มแรก และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นบารอนริเวอร์สโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ต่อมาก็มาเปลี่ยนข้างไปเข้าข้างฝ่ายยอร์คเมื่อเห็นว่าฝ่ายแลงคาสเตอร์มีทีท่าว่าจะเสียเปรียบ เมื่อลูกสาวเอลิซาเบธ วูดวิลล์เสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ริชาร์ดก็ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเอิร์ลริเวอร์ส ซึ่งเป็นการสร้างความไม่พอใจให้แก่กลุ่มขุนนางเก่าโดยเฉพาะริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 เมื่อต้นปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและริชาร์ด วูดวิลล์ เอิร์ลริเวิร์สที่ 1
ริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์ก
ริชาร์ด แพลนทาเจเน็ท ดยุคแห่งยอร์คที่ 3 (Richard Plantagenet, 3rd Duke of York) (21 กันยายน ค.ศ. 1411 - 30 ธันวาคม ค.ศ. 1460) ริชาร์ด แพลนทาเจเน็ทเป็นสมาชิกในราชวงศ์ยอร์คผู้มีตำแหน่งหน้าที่ระดับสูงในฝรั่งเศสในปลายสงครามร้อยปีและในอังกฤษในระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ความขัดแย้งของดยุคแห่งยอร์คกับพระเจ้าเฮนรีเป็นสาเหตุที่ทำความปั่นป่วนทางการเมืองในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 และเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดสงครามดอกกุหลาบ แม้ว่าริชาร์ด แพลนทาเจเน็ทจะมิได้เป็นพระมหากษัตริย์แต่ก็เป็นบิดาของพระเจ้าแผ่นดินสองพระองค์ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4และพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 ริชาร์ด แพลนทาเจเน็ทปกครองอังกฤษในฐานะผู้พิทักษ์แห่งอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์ก
ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 16 แห่งวอริก
ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 และ เอิร์ลแห่งซอลสบรี (Richard Neville, 16th Earl of Warwick) (22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1428 - 14 เมษายน ค.ศ. 1471) ริชาร์ด เนวิลล์เป็นขุนนาง, นักการบริหาร และนักการทหารชาวอังกฤษ ริชาร์ด เนวิลล์เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 16 แห่งวอริก
ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 5 แห่งซอลส์บรี
ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 5 แห่งซอลส์บรี (Richard Neville, 5th Earl of Salisbury) (ค.ศ. 1400 - 31 ธันวาคม ค.ศ. 1460) ริชาร์ด เนวิลล์เป็นขุนนางชาวอังกฤษที่มีบทบาทสำคัญในฐานะแม่ทัพฝ่ายราชวงศ์ยอร์คในตอนต้นของสงครามดอกกุหลาบ ริชาร์ด เนวิลล์เกิดเมื่อปี ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 5 แห่งซอลส์บรี
ริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3
ริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3 (Richard of Conisburgh, 3rd Earl of Cambridge) (ราว ค.ศ. 1375 - 5 สิงหาคม ค.ศ. 1415) ริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์กเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในการก่อการการคบคิดเซาท์แธมป์ตัน (Southampton Plot) ในระหว่างสงครามดอกกุหลาบ ริชาร์ดเป็นบุตรคนเล็กของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1 และอินแฟนตาอิสซาเบลลาแห่งคาสตีล และเป็นหลานของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษและ and ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ และเป็นหลานตาของปีเตอร์แห่งคาสตีลและมาเรียเดอพาดิลลา ริชาร์ดเกิดที่ปราสาทโคนิสเบิร์กในยอร์คเชอร์และได้เป็นเอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ต่อจากพี่ชายในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3
วิลเลียม เฮสติงส์ บารอนเฮสติงส์ที่ 1
วิลเลียม เฮสติงส บารอนเฮสติงสที่ 1 (William Hastings, 1st Baron Hastings) (ราว ค.ศ. 1431 - 13 มิถุนายน ค.ศ. 1483) วิลเลียม เฮสติงสเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบผู้มีอำนาจสูงสุดในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เสด็จสวรรคตเฮสติงสก็หันไปสนับสนุนดยุคแห่งกลอสเตอร์ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อพระราชินีหม้ายเอลิซาเบธ วูดวิลล์และพระญาติพระวงศ์ของพระองค์ แต่เฮสติงสไม่สนับสนุนความคิดของดยุคแห่งกลอสเตอร์ที่จะชิงราชบัลลังก์จากพระราชนัดดาสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 ดยุคแห่งกลอสเตอร์จึงกำจัดเฮสติง.
ดู สงครามดอกกุหลาบและวิลเลียม เฮสติงส์ บารอนเฮสติงส์ที่ 1
วิลเลียม เนวิลล์ เอิร์ลที่ 1 แห่งเคนต์
วิลเลียม เนวิลล์ เอิร์ลแห่งเค้นท์ที่ 1 (William Neville, 1st Earl of Kent) (ราว ค.ศ. 1410 - ค.ศ. 1463) ริชาร์ด เนวิลล์เป็นขุนนางและนายทหารชาวอังกฤษที่มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบ วิลเลียม เนวิลล์เกิดเมื่อราวปี ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและวิลเลียม เนวิลล์ เอิร์ลที่ 1 แห่งเคนต์
วิลเลียมเดอลาโพล ดยุคแห่งซัฟโฟล์คที่ 1
วิลเลียมเดอลาโพล ดยุกแห่งซัฟโฟล์คที่ 1 (William de la Pole, 1st Duke of Suffolk) (16 ตุลาคม ค.ศ. 1396 - 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1450) วิลเลียมเดอลาโพลเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุกแห่งซัฟโฟล์คที่ 1, มาร์ควิสแห่งซัฟโฟล์คที่ 1 และ เอิร์ลแห่งซัฟโฟล์คที่ 4 มีชื่อเล่นว่า “Jack Napes” เดอลาโพลเป็นแม่ทัพผู้มีบทบาทสำคัญในการต่อสู้ในสงครามดอกกุหลาบ และต่อมามีหน้าที่เป็นอัครมหาเสนาบดี นอกจากนั้นก็ยังปรากฏในบทละครของวิลเลียม เชกสเปียร์เรื่อง เฮนรี่ที่ 4, ตอน 1 และ เฮนรี่ที่ 4, ตอน 2 และการฆาตกรรมของเดอลาโพลเป็นหัวเรื่องของตำนานกลอนพื้นบ้านของอังกฤษชื่อ Six Dukes Went a-Fishing (ดยุกหกคนไปตกปลา).
ดู สงครามดอกกุหลาบและวิลเลียมเดอลาโพล ดยุคแห่งซัฟโฟล์คที่ 1
สงครามกลางเมือง
งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและสงครามกลางเมือง
ฮัมฟรีย์ สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม
ัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ด ดยุกแห่งบัคคิงแฮมที่ 1 (Humphrey Stafford, 1st Duke of Buckingham) (15 สิงหาคม ค.ศ. 1402 - 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1460) ฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ดเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามร้อยปีและสงครามดอกกุหลาบ ฮัมฟรีย์เป็นบุตรของเอ็ดมันด์ สตาฟฟอร์ด เอิร์ลแห่งสตาฟฟอร์ดที่ 5 และแอนน์แห่งกลอสเตอร์และเป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ดเสียชีวิตในสนามรบในยุทธการนอร์ทแธมตันเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและฮัมฟรีย์ สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม
จอร์จ แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์
อร์จ แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์ (George Plantagenet, 1st Duke of Clarence) (21 ตุลาคม ค.ศ. 1449 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1478) จอร์จ แพลนแทเจเนต เป็นบุตรชายคนที่สามของริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์ก และซิซิลิ เนวิลล์ และเป็นพระอนุชาของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 และพระเชษฐาของพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 ดยุคแห่งแคลเรนซ์มีบทบาทสำคัญในความขัดแย้งในการอ้างสิทธิในการครองราชบัลลังก์ที่ทำให้เกิดสงครามดอกกุหลาบ และถูกประหารชีวิตในข้อหากบฏต่อแผ่นดินในการวางแผนโค่นราชบัลลังก์ของพระเชษฐาพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4.
ดู สงครามดอกกุหลาบและจอร์จ แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์
จอห์น คลิฟฟอร์ด บารอนแห่งคลิฟฟอร์ดที่ 9
อห์น คลิฟฟอร์ด บารอนแห่งคลิฟฟอร์ดที่ 9 (John Clifford, 9th Baron de Clifford) (ค.ศ. 1435 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1461) จอห์น คลิฟฟอร์ดเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบของฝ่ายแลงคาสเตอร์ จอห์นเป็นบุตรของริชาร์ด แพลนทาเจเน็ท ดยุคแห่งยอร์คที่ 3 และ ซิซิลิ เนวิลล์ ดัชเชสแห่งยอร์ค จอห์นเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและจอห์น คลิฟฟอร์ด บารอนแห่งคลิฟฟอร์ดที่ 9
จอห์น เฮาเวิร์ด ดยุคแห่งนอร์โฟล์คที่ 1
อห์น เฮาเวิร์ด ดยุกแห่งนอร์โฟล์คที่ 1 (John Howard, 1st Duke of Norfolk) (ค.ศ. 1421 - 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485) จอห์น เฮาเวิร์ด ดยุกแห่งนอร์โฟล์คที่ 1 เป็นนักการทหารและขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบ จอห์นเป็นดยุกแห่งนอร์ฟอล์กตระกูลเฮาเวิร์ดคนแรก และเป็นพระสหายสนิทและผู้สนับสนุนสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 ต่อมามาเสียชีวิตด้วยกันในยุทธการบอสเวิร์ธฟิล.
ดู สงครามดอกกุหลาบและจอห์น เฮาเวิร์ด ดยุคแห่งนอร์โฟล์คที่ 1
จอห์น เนวิลล์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งมอนทากิว
อห์น เนวิลล์ มาร์ควิสแห่งมองตากิวที่ 1 (John Neville, 1st Marquess of Montagu หรือ John Mortimer หรือ the Captain of Kent) (ราว ค.ศ. 1431 - 14 เมษายน ค.ศ. 1471) จอห์น เนวิลล์ มาร์ควิสแห่งมองตากิวที่ 1เป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้เป็นนักการทหารฝ่ายยอร์คในสงครามดอกกุหลาบ มาร์ควิสแห่งมองตากิวมีชื่อเสียงในการเป็นผู้กำจัดผู้ต่อต้านฝ่ายแลงคาสเตอร์ทางเหนือของอังกฤษในต้นรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 มาร์ควิสแห่งมองตากิวเป็นบุตรของริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 5 และแอลิซ เนวิลล์ เคานเทสแห่งซอลสบรีที่ 5 และเป็นน้องของริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 หรือ “วอริคผู้สร้างกษัตริย์”.
ดู สงครามดอกกุหลาบและจอห์น เนวิลล์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งมอนทากิว
จอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์
อห์นแห่งกอนท์ ดยุคแห่งแลงคาสเตอร์ที่ 1 (John of Gaunt, 1st Duke of Lancaster) (6 มีนาคม ค.ศ. 1340 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1399) จอห์นแห่งกอนท์เป็นสมาชิกในราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทเป็นพระโอรสองค์ที่สามของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษและพระราชินีฟิลลิปปา และเป็นพี่ชายของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1ผู้เป็นต้นราชสกุลยอร์ค ชื่อ “ก้อนท์” มาจากชื่อเมืองที่เกิด “เก้นท์” ในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน ที่เรียกว่า “กอนท์” ในภาษาอังกฤษ จอห์นแห่งกอนท์มีฐานะร่ำรวยพอที่จะสนับสนุนการปกครองโดยเสียงส่วนน้อยของหลานพระเจ้าริชาร์ดที่ 2และต่อมาเมื่อมีเหตุการณ์คับขันในอังกฤษ จอห์นแห่งกอนท์เป็นต้นราชสกุลแลงคาสเตอร์ ผู้สิบเชื้อสายจากจอห์นแห่งกอนท์รวมทั้ง.
ดู สงครามดอกกุหลาบและจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์
ทอมัส เนวิลล์
ทอมัส เนวิลล์ (Thomas Neville) (? - ค.ศ. 1471) ทอมัส เนวิลล์เป็นขุนนางชาวอังกฤษฝ่ายสนับสนุนราชตระกูลแลงคาสเตอร์ผู้มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบ ทอมัสเป็นบุตรนอกสมรสของวิลเลียม เนวิลล์ เอิร์ลแห่งเค้นท์ที่ 1 (วิลเลียมแห่งฟอคงเบิร์ก) ที่ทำให้ได้รับการขนานนามว่า “ทอมัสลูกนอกคอกแห่งฟอคงเบิร์ก” (Thomas the Bastard of Fauconberg) หรือ “ลอร์ดแห่งฟอคงเบิร์ก” หรือ “ทอมัสลูกนอกคอก” ก่อนหน้าที่จะเข้าร่วมสงครามดอกกุหลาบทอมัสเป็นนักเดินเรือผู้มีความสามารถ และได้รับเสรีภาพจากนครลอนดอนในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและทอมัส เนวิลล์
ความบาดหมางระหว่างเพอร์ซีย์และเนวิลล์
วามบาดหมางระหว่างเพอร์ซีย์และเนวิลล์ (Percy-Neville feud) เป็นการปะทะกันอย่างประปรายระหว่างตระกูลสำคัญสองตระกูลทางตอนเหนือของอังกฤษและผู้ติดตามที่มีส่วนที่ทำให้เกิดสงครามดอกกุหลาบ การปะทะกันครั้งแรกเกิดขึ้นราวคริสต์ทศวรรษ 1450 ก่อนที่สงครามดอกกุหลาบจะเกิดขึ้น ความเป็นปฏิปักษ์ต่อกันระหว่างสองตระกูลนี้นำไปสู่สงครามที่เกิดขึ้นหลายครั้งต่อมา สาเหตุของความบาดหมางกันนั้นไม่เป็นที่ทราบ ทั้งตระกูลเพอร์ซีย์และเนวิลล์ต่างก็เป็นตระกูลผู้มีอิทธิพลทางตอนเหนือของอังกฤษ เมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1450 ทั้งสองตระกูลก็มีประมุขที่มีอายุอยู่ในวัยห้าสิบกว่าๆ ที่ต่างก็มีลูกที่มีหัวรุนแรงและอารมณ์ร้อน ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 5 เป็นพี่เขยของเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2 ลูกของเฮนรี “ฮอทเสปอร์” เพอร์ซีย์ ในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและความบาดหมางระหว่างเพอร์ซีย์และเนวิลล์
ประวัติศาสตร์อังกฤษ
อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและประวัติศาสตร์อังกฤษ
ปราสาทนอรัม
ปราสาทนอรัม (Norham Castle) เดิมเป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ในเทศมณฑลนอร์ธัมเบอร์แลนด์ในสหราชอาณาจักรเหนือฝั่งแม่น้ำทวีดบนพรมแดนระหว่างอังกฤษและสกอตแลนด์ นอแรมเป็นปราสาทที่สถานที่ที่อยู่ในสนามรบระหว่างความขัดแย้งระหว่างอังกฤษ และ สกอตแลนด์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นหลายครั้ง ปราสาทนอแรมเป็นสิ่งก่อสร้างอยู่ในรายชื่อสิ่งก่อสร้างภายใต้การพิทักษ์ ระดับ 1 และ ในรายการโบราณสถานขึ้นอันดับ (Scheduled Ancient Monument) ปัจจุบันโบราณสถานแห่งนี้อยู่ภายใต้การบริหารขององค์การอนุรักษ์แห่งอังกฤษ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและปราสาทนอรัม
แจสเปอร์ ทิวดอร์ ดยุคแห่งเบดฟอร์ดที่ 1
แจสเปอร์ ทิวดอร์ ดยุคแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 หรือ แจสเปอร์ ทิวดอร์ เอิร์ลแห่งเพมโบรค (Jasper Tudor, 1st Duke of Bedford หรือ Jasper Tudor, Earl of Pembroke) (ราว ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและแจสเปอร์ ทิวดอร์ ดยุคแห่งเบดฟอร์ดที่ 1
โรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ช
รเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 4 (Roger Mortimer, 4th Earl of March) (11 เมษายน ค.ศ. 1374 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1398) โรเจอร์ มอร์ติเมอร์เป็น “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” ในพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 ระหว่างปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ช
ไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์
ลโอเนลแห่งอันท์เวิร์พ ดยุคแห่งแคลเรนซ์ที่ 1 (Lionel of Antwerp, 1st Duke of Clarence) (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1338 - 7 ตุลาคม ค.ศ. 1368) ไลโอเนลแห่งอันท์เวิร์พเป็นพระราชโอรสองค์ที่สามแต่ที่สองที่รอดมาได้จนโตในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษและพระราชินีฟิลลิปปา ไลโอเนลมีสร้อยว่าอันท์เวิร์พเพราะเป็นที่เกิด ไลโอเนลแห่งอันท์เวิร์พแต่งงานครั้งแรกกับเอลิซาเบธเดอเบิรก เคานเทสแห่งอัลสเตอร์ที่ 4 บุตรีของวิลเลียม ดอนน์เดอเบิรก เอิร์ลแห่งอัลสเตอร์ที่ 3 เมื่อปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์
เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1
อ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 หรือ เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 2 (Edmund Beaufort, 1st Duke of Somerset หรือ 2nd Duke of Somerset) (ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1
เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 4
อ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 4 (Edmund Beaufort, 4th Duke of Somerset) (ค.ศ. 1438? - 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1471) เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทเป็นขุนนางชาวอังกฤษที่มีบทบาทในฐานะนายทัพฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ในสงครามดอกกุหลาบ เอ็ดมันด์ โบฟอร์ทเป็นบุตรของเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 2 และเอเลเนอร์ โบแชมพ์บุตรีของริชาร์ด โบแชมพ์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 13 ที่ทำให้เฮนรีเป็นลูกพี่ลูกน้องของเลดี้มาร์กาเร็ต โบฟอร์ท และริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 และเป็นลุงของเฮนรี สตาฟฟอร์ด ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทเมื่อพี่ชายเฮนรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 3 ถูกประหารชีวิตในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 4
เอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก
ตราประจำตัวเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1 เอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Edmund of Langley, 1st Duke of York) (5 มิถุนายน ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก
เอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุกที่ 2 แห่งยอร์ก
อ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุคแห่งยอร์คที่ 2 (Edward of Norwich, 2nd Duke of York หรือ Edward of Norwich, 1st Duke of Aumale) (ค.ศ. 1373 - 25 ตุลาคม ค.ศ. 1415) เอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุคแห่งยอร์คที่ 2เป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในการต่อสู้กับราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสงครามร้อยปี เอ็ดเวิร์ดเสียชีวิตระหว่างการต่อสู้ในยุทธการอาแฌงคูร์ต เอ็ดเวิร์ดเป็นบุตรของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1และภรรยาคนแรกอินแฟนตาอิสซาเบลลาแห่งคาสตีล ปู่และย่าทางพ่อคือสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1และพระราชินีฟิลลิปปา ปู่และย่าทางแม่คือสมเด็จพระเจ้าเปโดรแห่งคาสตีลและมาเรียเดอปาดิลล.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุกที่ 2 แห่งยอร์ก
เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์
อ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือ เอ็ดเวิร์ดแห่งแลงคาสเตอร์ (Edward of Westminster, Prince of Wales หรือ Edward of Lancaster) (13 ตุลาคม ค.ศ.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์
เฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม
นรี สตาฟฟอร์ด ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 (Henry Stafford, 2nd Duke of Buckingham) (4 กันยายน ค.ศ. 1455 - 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1483) เฮนรี สตาฟฟอร์ดเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองและการตกอับของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 และหนึ่งในผู้ต้องสงสัยว่ามีส่วนในการหายสาบสูญ (หรือฆาตกรรม) ของเจ้าชายแห่งหอคอย ดยุคแห่งบัคคิงแฮมมีความสัมพันธ์กับพระราชวงศ์อังกฤษหลายทาง แต่โอกาสที่จะมีสิทธิในราชบัลลังก์ออกจะเป็นเรื่องที่ไกลจากความเป็นจริง แต่เมื่อฝ่ายยอร์คและแลงคาสเตอร์ผู้สืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 มีความขัดแย้งกัน โอกาสของบัคคิงแฮมก็ดูเหมือนจะเป็นไปได้ นักประวัติศาสตร์อ้างว่าบัคคิงแฮมจงใจวางแผนที่จะยึดบัลลังก์มาตั้งแต่ระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 และเกือบจะประสบความสำเร็จถ้าทุกสิ่งทุกอย่างดำเนินไปตามแผน ฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ด เอิร์ลแห่งสตาฟฟอร์ดบิดาของเฮนรีสนับสนุนฝ่ายแลงคาสเตอร์ในยุคแรกของสงครามดอกกุหลาบ และมาเสียชีวิตจากการได้รับบาดเจ็บในยุทธการเซนต์อัลบันส์ครั้งที่ 1 แต่เฮนรีสนับสนุนฝ่ายยอร.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม
เฮนรี โบฟอร์ต ดยุกที่ 3 แห่งซัมเมอร์เซต
นรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 3 (Henry Beaufort, 3rd Duke of Somerset) (26 มกราคม ค.ศ. 1436 - 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1464) เฮนรี โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทเป็นขุนนางชาวอังกฤษที่มีบทบาทสำคัญในฐานะแม่ทัพฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ในสงครามดอกกุหลาบ เฮนรี โบฟอร์ทเป็นบุตรของเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 2 และเอเลเนอร์ โบแชมพ์บุตรีของริชาร์ด โบแชมพ์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 13 ที่ทำให้เฮนรีเป็นลูกพี่ลูกน้องของเลดี้ มาร์กาเร็ต โบฟอร์ด (Lady Margaret Beaufort) และริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 และเป็นลุงของเฮนรี สตาฟฟอร์ด ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 (Henry Stafford, 2nd Duke of Buckingham) เฮนรี โบฟอร์ทถูกประหารชีวิตในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและเฮนรี โบฟอร์ต ดยุกที่ 3 แห่งซัมเมอร์เซต
เฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2
นรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2 (Henry Percy, 2nd Earl of Northumberland) (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1392 - 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1455) เฮนรี เพอร์ซีย์เป็นขุนนางชาวอังกฤษที่เป็นบุตรของเฮนรี “ฮอทเสปอร์” เพอร์ซีย์และเอลิสซาเบธ เดอ มอร์ติเมอร์ (Elizabeth de Mortimer) บุตรีของเอ็ดมันด์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 3 (Edmund Mortimer, 3rd Earl of March) และ ฟิลลิปปา แพลนทาเจเน็ท เคานเทสแห่งอัลสเตอร์ที่ 5 เฮนรี เพอร์ซีย์ได้รับการฟื้นฟูกลับมาในราชสำนักในปี..
ดู สงครามดอกกุหลาบและเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2
เฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 3
นรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 3 (Henry Percy, 3rd Earl of Northumberland) (25 กรกฎาคม ค.ศ. 1421 - 29 มีนาคม ค.ศ. 1461) เฮนรี เพอร์ซีย์เป็นขุนนางชาวอังกฤษที่เป็นบุตรของเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2และเอเลเนอร์ เพอร์ซีย์ เคานเตสแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์บุตรีของราล์ฟ เนวิลล์ เอิร์ลแห่งเวสต์มอร์แลนด์ที่ 1 (Ralph Neville, 1st Earl of Westmorland) กับภรรยาคนที่สองโจน โบฟอร์ท ผู้เป็นพี่น้องกับริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 5 และซิซิลิ เนวิลล์ผู้เป็นพระมารดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 และสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 เฮนรี เพอร์ซีย์จึงเป็นญาติสนิทกับทางฝ่ายราชวงศ์ยอร.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 3
เจมส์ บัตเลอร์ เอิร์ลแห่งออร์มอนด์ที่ 5
มส์ บัตเลอร์ เอิร์ลแห่งออร์มอนด์ที่ 5 (James Butler, 5th Earl of Ormond) (24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1420 - 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1461) เป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามดอกกุหลาบผู้สนับสนุนฝ่ายแลงคาสเตอร์ เจมส์เป็นบุตรของเจมส์ บัตเลอร์ เอิร์ลแห่งออร์มอนด์ที่ 4 และโจน บัตเลอร์ เคานเทสแห่งออร์มอนด์ เจมส์ถูกประหารชีวิตโดยการตัดคอที่นิวคาสเซิลหลังจากที่พ่ายแพ้ต่อฝ่ายยอร์คในยุทธการโทว์ทัน.
ดู สงครามดอกกุหลาบและเจมส์ บัตเลอร์ เอิร์ลแห่งออร์มอนด์ที่ 5
14 เมษายน
วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.
ดู สงครามดอกกุหลาบและ14 เมษายน
4 พฤษภาคม
วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.
ดู สงครามดอกกุหลาบและ4 พฤษภาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ War of the RosesWars of the Rosesสงครามแห่งดอกกุหลาบ