เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สงครามกลางเมืองอังกฤษ

ดัชนี สงครามกลางเมืองอังกฤษ

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ.

สารบัญ

  1. 115 ความสัมพันธ์: ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัมฟิลิป สกิปพอนพระราชกฤษฎีการะดมไพร่พลพระราชวังพลาเซ็นเทียพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพลิมัทกฤษฎีการะดมทหารอาสาสมัครกองทัพตัวแบบใหม่การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษการยึดรัฐสภาของไพรด์การล้อมเมืองโคลชิสเตอร์การสงครามสมัยใหม่ตอนต้นการทำให้เป็นประชาธิปไตยการคุมกำเนิดการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ภาษีตันภาษีปอนด์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมาร์มาดิวก์ แลงเดลมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษมงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนามงกุฎทิวดอร์มงกุฎแห่งสกอตแลนด์มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดยุทธการที่มาร์สตันมัวร์ยุทธการที่ราวนด์เวย์ดาวน์ยุทธการที่วินซ์บียุทธการที่วุร์สเตอร์ยุทธการที่สะพานโพวิกยุทธการที่ฮอปตันฮีทยุทธการที่ดันบาร์ (ค.ศ. 1650)ยุทธการที่นิวบรีครั้งที่ 1ยุทธการที่นิวบรีครั้งที่ 2ยุทธการที่แบรดด็อกดาวน์ยุทธการที่แลงพอร์ตยุทธการที่แลนส์ดาวน์ยุทธการที่แอดวอลตันมัวร์ยุทธการที่เบรนต์ฟอร์ด (ค.ศ. 1642)ยุทธการที่เพรสตันยุทธการที่เกนส์บะระยุทธการที่เมดสตันยุทธการที่เอลส์บรียุทธการที่เอดจ์ฮิลล์ยุทธการที่เทอร์นัมกรีนยุทธการที่เซนต์แฟกันส์ยุทธการที่เนสบีรอเบิร์ต เดเวอรู เอิร์ลที่ 3 แห่งเอสเซกซ์รัฐสภายาว... ขยายดัชนี (65 มากกว่า) »

ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ

ันเดรดเกรตเตสต์บริทันส์ หรือ ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ (100 Greatest Britons) คือรายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศในปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ

ช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)

วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ (English Interregnum.) เป็นสมัยการปกครองแผ่นดินที่ในปัจจุบัน คือ ประเทศอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์ โดยรัฐสภาและทหารหลังจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ ช่วงว่างระหว่างรัชกาลเริ่มด้วยการปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)

ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม

ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม (Francis Willoughby, 5th Baron Willoughby of Parham; ราว ค.ศ. 1605 - 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1666) เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่เกนส์บะระในสงครามกลางเมืองอังกฤษ วิลละบีสนับสนุนฝ่ายรัฐสภาในระยะแรกของสงครามแต่ต่อมาเปลี่ยนข้างไปเป็นฝ่ายกษัตริย์นิยม และต่อมาก็เข้ารับราชการเป็นข้าหลวงของอาณานิคมอังกฤษสองครั้งในแคริบเบียน ฟรานซิส วิลละบีเกิดที่แพรัมในเทศมณฑลซัฟฟอล์ก ราว ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม

ฟิลิป สกิปพอน

ฟิลิป สกิปพอน (Philip Skippon; ราว ค.ศ. 1600 - 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1660) เป็นนายทหารฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่เทอร์นัมกรีนและยุทธการอื่น ๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและฟิลิป สกิปพอน

พระราชกฤษฎีการะดมไพร่พล

ระราชกฤษฎีการะดมไพร่พล (ภาษาอังกฤษ: Commission of Array หรือ Arrayer) เป็นพระราชเอกสารสิทธิ (Letters patent) ที่พระมหากษัตริย์อังกฤษมอบให้แก่เจ้าหน้าที่หรือผู้นำท้องถิ่นในเขตปกครองในการระดมพลจากผู้พำนักอาศัยในท้องถิ่นที่ว่า การะดมไพร่พลมีที่มาจากพันธะโบราณของผู้มีเสรีภาพในการป้องกันบ้านเมือง เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการระดม (Commissioner) มักจะเป็นนายทหารที่มีประสบการณ์ที่ได้รับแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ในการระดมพลจากท้องถิ่นต่างๆ แม้ว่ากฎหมายนี้จะเลิกใช้กันภายในคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ทรงรื้อฟื้นขึ้นใช้อีกในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและพระราชกฤษฎีการะดมไพร่พล

พระราชวังพลาเซ็นเทีย

ระราชวังพลาเซ็นเทีย (Palace of Placentia) เป็นพระราชวังของพระราชวงศ์อังกฤษที่สร้างโดยฮัมฟรีย์ ดยุคแห่งกลอสเตอร์ในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและพระราชวังพลาเซ็นเทีย

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พลิมัท

ลิมัท (Plymouth) เป็นนครและเป็นเมืองที่มีการปกครองโดยรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวที่อยู่ในมณฑลเดวอนในภาคการปกครองตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ ที่อยู่ใกลจากลอนดอนไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 310 กิโลเมตร พลิมัธตั้งอยู่ระหว่างปากแม่น้ำพลิมทางตะวันออกและแม่น้ำเทมาร์ทางตะวันตกที่มารวมกันที่พลิมัธซาวนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและพลิมัท

กฤษฎีการะดมทหารอาสาสมัคร

กฤษฎีการะดมทหารอาสาสมัคร เป็นบทบัญญัติที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภายาวของอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1642 ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ ระหว่างฝ่ายกษัตริย์นิยมและฝ่ายรัฐสภา ก่อนหน้านั้นพระมหากษัตริย์ทรงมีเอกสิทธิ์ในการแต่งตั้ง “ลอร์ดเลฟเทนแนนท์” (Lord Lieutenant) ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการเกณฑ์และดูแลทหารอาสาสมัครหรือที่เรียกกันว่า “trained bands” ทหารอาสาสมัครเหล่านี้เป็นทหารราบกลุ่มเดียวที่มีไว้ในยามสงบเพราะอังกฤษขณะนั้นไม่มีทหารประจำการ เมื่อความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์และรัฐสภาเลวลง การควบคุมกองทหารอาสาสมัครเหล่านี้จึงกลายมาเป็นข้อขัดแย้ง หลังจากที่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ทรงพยายามจับกุมสมาชิกสภาสามัญในเดือนมกราคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและกฤษฎีการะดมทหารอาสาสมัคร

กองทัพตัวแบบใหม่

หน้าปก "กฎ, กฎหมาย และระเบียบการฝึก" ของกองทัพตัวแบบใหม่ กองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและกองทัพตัวแบบใหม่

การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ

ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ผู้ฟื้นฟูราชวงศ์ขึ้นใหม่หลังจากสงครามกลางเมือง การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ หรือ ยุคฟื้นฟู (English Restoration หรือ The Restoration) เริ่มขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ

การยึดรัฐสภาของไพรด์

“การยึดรัฐสภาของไพรด์” เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1648 การยึดรัฐสภาของไพรด์ (Pride's Purge) (6 ธันวาคม ค.ศ. 1648) เป็นเหตุการณ์การยึดสภาสามัญชนที่นำโดยทอมัส ไพรด์ (Thomas Pride) เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการยึดรัฐสภาของไพรด์

การล้อมเมืองโคลชิสเตอร์

การล้อมเมืองโคลชิสเตอร์ (Siege of Colchester) เป็นการล้อมเมืองที่เกิดขึ้นในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 2 ในฤดูร้อนระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 28 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการล้อมเมืองโคลชิสเตอร์

การสงครามสมัยใหม่ตอนต้น

การสงครามสมัยใหม่ตอนต้น (Early modern warfare) สัมพันธ์กับการที่เริ่มมีการใช้ดินปืนอย่างแพร่หลายและการพัฒนาอาวุธที่เหมาะจะใช้ระเบิด ซึ่งรวมถึงปืนใหญ่และปืนที่ใช้มือถือ (handgun) เช่น ปืนไฟ และต่อมา คือ ปืนคาบศิลา ด้วยเหตุนี้ ยุคนี้จึงสรุปได้ว่าเป็นยุคแห่งการสงครามดินปืน ก่อนหน้าคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีการใช้ดินปืนน้อยมาก แต่เปลี่ยนมาใช้ทั่วไปในสมัยใหม่ตอนต้น โดยพบใช้มากที่สุดระหว่างสงครามนโปเลียน ตั้งแต..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการสงครามสมัยใหม่ตอนต้น

การทำให้เป็นประชาธิปไตย

การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการทำให้เป็นประชาธิปไตย

การคุมกำเนิด

ตัวอย่างยาเม็ดคุมกำเนิด ประสิทธิผลของวิธีคุมกำเนิดแบบต่าง ๆ การคุมกำเนิด (birth control) คือเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการป้องกันการปฏิสนธิหรือขัดขวางการตั้งครรภ์ การคุมกำเนิดถูกใช้มาแต่โบราณ ทว่าวิธีที่ปลอดภัยและได้ผลดีพึ่งมีในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การวางแผน เตรียมการ และการใช้การคุมกำเนิดถูกเรียกว่าเป็นการวางแผนครอบครัว บางวัฒนธรรมไม่สนับสนุนและจำกัดการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิดเพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งที่ไม่เป็นที่ต้องการทางศีลธรรม ศาสนา หรือการเมือง วิธีที่ซึ่งให้ประสิทธิผลสูงสุดคือการทำหมัน โดยการตัดหลอดนำอสุจิ (vasectomy)ในเพศชายและการผูกท่อรังไข่ในเพศหญิง การใส่ห่วงอนามัยคุมกำเนิด (IUD) และการใช้ยาฝังคุมกำเนิด ตามมาด้วยการใช้ฮอร์โมน เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง วงแหวนช่องคลอด และการฉีดฮอร์โมน วิธีที่ได้ผลรองลงมาได้แก่วิธีการนับระยะปลอดภัยและวิธีการที่ใช้สิ่งกีดขวาง เช่น ถุงยางอนามัย หมวกครอบปากมดลูก และฟองน้ำคุมกำเนิด วิธีที่ได้ผลน้อยที่สุดได้แก่การใช้สารฆ่าเชื้ออสุจิ (spermicide) และการหลั่งนอกช่องคลอด การทำหมันให้ประสิทธิผลสูงแต่มักเป็นการคุมกำเนิดที่ถาวร ต่างกับวิธีอื่นซึ่งเป็นการคุมแบบชั่วคราวและสามารถย้อนกลับได้เมื่อหยุดใช้ การปฏิบัติทางเพศที่ปลอดภัย เช่นการใช้ถุงยางอนามัยชายหรือหญิงยังสามารถป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ส่วนวิธีการคุมกำเนิดแบบอื่นไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เทคนิคการคุมกำเนิดฉุกเฉินสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ใช้ภายใน 72 ถึง 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน บางคนเชื่อว่าการไม่มีเพศสัมพันธ์เป็นการคุมกำเนิดแบบหนึ่ง ทว่าเพศศึกษาแบบที่สอนให้งดเว้นอย่างเดียวอาจเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหากไม่สอนควบคู่ไปกับการใช้การคุมกำเนิด เพราะการไม่ยอมทำตาม ในประเทศไทย พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการคุมกำเนิด

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ยังรู้จักกันในชื่อ การปฏิวัติปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

ภาษีตันภาษีปอนด์

ษีตันภาษีปอนด์ (ภาษาอังกฤษ: Tonnage and Poundage) เป็นภาษีอากรที่เริ่มใช้ครั้งแรกในรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 ซึ่งระบุเรียกเก็บสำหรับไวน์ทุกถัง (“tun”) ที่นำเข้าซึ่งส่วนใหญ่มาจากสเปนและ โปรตุเกส และสินค้าทุกปอนด์ที่นำออกและนำเข้า ตามธรรมเนียมแล้วภาษีตันภาษีปอนด์เป็นสิทธิที่รัฐสภาแห่งอังกฤษมอบให้พระมหากษัตริย์ชั่วพระชนม์ชีพจนกระทั่งมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ภาษีตันภาษีปอนด์ก็ถูกเปลี่ยนแปลงโดยรัฐสภาตามพระราชบัญญัติการยุบอากร(Customs Consolidation Act of 1787) ในปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและภาษีตันภาษีปอนด์

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มาร์มาดิวก์ แลงเดล

มาร์มาดิวก์ แลงเดล (Marmaduke Langdale; ค.ศ. 1598 - 5 สิงหาคม ค.ศ. 1661) เป็นผู้หนึ่งที่ปฏิเสธจ่ายภาษีเรือ แต่หลังจากได้รับประสบการณ์จากการเป็นทหารในยุโรป มาร์มาดิวก์ก็กลับมาสนับสนุนฝ่ายกษัตริย์นิยมและเข้าร่วมต่อสู้ในยุทธการที่เพรสตันในสงครามกลางสามอาณาจักร/สงครามกลางเมืองอังกฤษ เมื่อพ่ายแพ้ในยุทธการครั้งนั้น มาร์มาดิวก์ก็หลบหนีไปยุโรปเพื่อหลีกเลี่ยงการลงโทษอย่างไม่ปรานีของฝ่ายรั.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมาร์มาดิวก์ แลงเดล

มาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มาร์กาเร็ตแห่งฝรั่งเศส (Margaret of France; ค.ศ. 1279 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1318) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 พระองค์เป็นพระธิดาของพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศสกับพระราชินีมาเรียแห่งบราบงต.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา

มงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา (Crown of Mary of Modena) เป็นมงกุฎพระอัครมเหสี (Consort Crown) ที่มีความสำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์อังกฤษ สั่งทำขึ้นเพื่อสำหรับสมเด็จพระราชินีแมรี พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ตามประเพณีแห่งราชสำนักอังกฤษ เมื่อมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ พระอัครมเหสีจะต้องเสด็จเข้าในพระราชพิธีฯด้วย โดยหลังจากการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 2 เข้าพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปีค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา

มงกุฎทิวดอร์

มงกุฎทิวดอร์ (Tudor Crown) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มงกุฎพระเจ้าเฮนรีที่ 8 (Henri VIII's Crown) เป็นมงกุฎองค์หลักซึ่งใช้ทรงโดยพระมหากษัตริย์ของอังกฤษและสหราชอาณาจักรช่วงรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 8 จนถึงช่วงสงครามกลางเมืองในปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมงกุฎทิวดอร์

มงกุฎแห่งสกอตแลนด์

มงกุฎแห่งสกอตแลนด์ (The Crown of Scotland) เป็นมงกุฎที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ โดยได้ทำการจัดสร้างขึ้นใหม่เลียนแบบของเดิมที่ทรงโดยพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์เมื่อปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมงกุฎแห่งสกอตแลนด์

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรและเป็นกกุธภัณฑ์ที่สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่ง และเป็นมงกุฎที่ใช้เป็นมงกุฎราชาภิเษก (Coronation crown) อย่างเป็นทางการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ของสหราชอาณาจักร มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดมีลักษณะคล้ายกับมงกุฎองค์เดิม ซึ่งสร้างในปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

ยุทธการที่มาร์สตันมัวร์

ทธการที่มาร์สตันมัวร์ (Battle of Marston Moor) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่มาร์สตันมัวร์

ยุทธการที่ราวนด์เวย์ดาวน์

ทธการราวนด์เวย์ดาวน์ (Battle of Roundway Down) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่ราวนด์เวย์ดาวน์

ยุทธการที่วินซ์บี

ทธการที่วินซ์บี (Battle of Winceby) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1643 ที่หมู่บ้านวินซ์บีในเทศมณฑลลิงคอล์นเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายนิยมกษัตริย์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ที่นำโดยวิลเลียม วิดดริงตัน บารอนวิดดริงตันที่ 1 กับฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยเอดเวิร์ด มอนทากิว เอิร์ลที่ 2 แห่งแมนเชสเตอร์และโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ผลของสงครามครั้งนี้ฝ่ายรัฐสภาได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด ในด้านความเสียหายฝ่ายนิยมกษัตริย์มีผู้เสียชีวิตราว 200-300 คนในสนามรบและถูกจับอีก 800 คนส่วนฝ่ายรัฐสภามีผู้เสียชีวิตราว 20 คน.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่วินซ์บี

ยุทธการที่วุร์สเตอร์

ทธการที่วุร์สเตอร์ (Battle of Worcester) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ที่วุร์สเตอร์ในอังกฤษและเป็นยุทธการสุดท้ายของสงครามกลางเมืองอังกฤษ ที่ฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายนิยมกษัตริย์ (Royalist) ที่นำโดยพระเจ้าชาลส์ที่ 2 โดยทั่วไปเป็นกองกำลังสกอตแลนด์ กองกำลังเพียง 16,000 คนของกองกำลังฝ่ายนิยมกษัตริย์ไม่สามารถต่อสู้กับกองกำลังที่มีจำนวนเหนือกว่ามาก 28,000 คนของ "กองทัพตัวแบบใหม่" (New Model Army) ของครอมเวลล์ได้จนในที่สุดก็จำต้องพ่ายแพ้.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่วุร์สเตอร์

ยุทธการที่สะพานโพวิก

ทธการที่สะพานโพวิก (Battle of Powick Bridge) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่สะพานโพวิก

ยุทธการที่ฮอปตันฮีท

ทธการที่ฮอปตันฮีท (Battle of Hopton Heath) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่ฮอปตันฮีท

ยุทธการที่ดันบาร์ (ค.ศ. 1650)

ทธการที่ดันบาร์ (ค.ศ. 1650) (Battle of Dunbar (1650)) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1650 ที่ดันบาร์ในสกอตแลนด์และเป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 3 ที่ฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ได้รับชัยชนะต่อกองทัพสกอตแลนด์ที่นำโดยเดวิด เลสลี ลอร์ดนิวอาร์ก (David Leslie, Lord Newark) ที่มีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ผู้ได้รับการสถาปนาให้เป็นพระมหากษัตริย์ของสกอตแลนด์เมื่อวันที่5 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่ดันบาร์ (ค.ศ. 1650)

ยุทธการที่นิวบรีครั้งที่ 1

ทธการที่นิวบรีครั้งที่ 1 (First Battle of Newbury) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่นิวบรีครั้งที่ 1

ยุทธการที่นิวบรีครั้งที่ 2

ทธการที่นิวบรีครั้งที่ 2 (Second Battle of Newbury) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่นิวบรีครั้งที่ 2

ยุทธการที่แบรดด็อกดาวน์

ทธการที่แบรดด็อกดาวน์ (Battle of Braddock Down) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นทางตะวันตกเฉียงใต้เมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่แบรดด็อกดาวน์

ยุทธการที่แลงพอร์ต

ทธการที่แลงพอร์ต (Battle of Langport) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1645 ที่เมืองแลงพอร์ต ใกล้เมืองโยวิลในเทศมณฑลซัมเมอร์เซตของอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายนิยมกษัตริย์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ที่นำโดยจอร์จ กอริง ลอร์ดกอริง กับฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยทอมัส แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 3 แห่งแคเมอรอน ผลของสงครามครั้งนี้ฝ่ายรัฐสภาได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด ความเสียหายของการเสียชีวิตและบาดเจ็บของทั้งสองฝ่ายไม่เป็นที่ทร.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่แลงพอร์ต

ยุทธการที่แลนส์ดาวน์

ทธการที่แลนส์ดาวน์ (Battle of Lansdowne) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่แลนส์ดาวน์

ยุทธการที่แอดวอลตันมัวร์

ทธการที่แอดวอลตันมัวร์ (Battle of Adwalton Moor) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่แอดวอลตันมัวร์

ยุทธการที่เบรนต์ฟอร์ด (ค.ศ. 1642)

ทธการที่เบรนต์ฟอร์ด (ค.ศ. 1642) (Battle of Brentford (1642)) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เบรนต์ฟอร์ด (ค.ศ. 1642)

ยุทธการที่เพรสตัน

ทธการที่เพรสตัน (ค.ศ. 1648) (Battle of Preston (1648)) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 17 สิงหาคม ถึงวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เพรสตัน

ยุทธการที่เกนส์บะระ

ทธการที่เกนส์บะระ (Battle of Gainsborough) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เกนส์บะระ

ยุทธการที่เมดสตัน

ทธการที่เมดสตัน (Battle of Maidstone) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1648 ที่เมืองเมดสตันในเทศมณฑลเคนต์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายนิยมกษัตริย์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 กับกองทัพตัวแบบใหม่ของฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยลอร์ดแฟร์แฟกซ์ ผลของสงครามครั้งนี้ฝ่ายรัฐสภาได้รับชัยชนะ ในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เมดสตัน

ยุทธการที่เอลส์บรี

ทธการที่เอลส์บรี (Battle of Aylesbury) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เอลส์บรี

ยุทธการที่เอดจ์ฮิลล์

ทธการที่เอดจ์ฮิลล์ (Battle of Edgehill) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เอดจ์ฮิลล์

ยุทธการที่เทอร์นัมกรีน

ทธการที่เทอร์นัมกรีน (Battle of Turnham Green) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เทอร์นัมกรีน

ยุทธการที่เซนต์แฟกันส์

ทธการที่เซนต์แฟกันส์ (Battle of St Fagans) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เซนต์แฟกันส์

ยุทธการที่เนสบี

ทธการที่เนสบี (Battle of Naseby) ยุทธการที่เนสบีเป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและยุทธการที่เนสบี

รอเบิร์ต เดเวอรู เอิร์ลที่ 3 แห่งเอสเซกซ์

รอเบิร์ต เดเวอรู เอิร์ลที่ 3 แห่งเอสเซกซ์ (Robert Devereux, 3rd Earl of Essex; 11 มกราคม ค.ศ. 1591 - 14 กันยายน ค.ศ. 1646) เป็นแม่ทัพของฝ่ายรัฐสภาที่มีบทบาทในการต่อสู้ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ เมื่อสงครามกลางเมืองอังกฤษเริ่มในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและรอเบิร์ต เดเวอรู เอิร์ลที่ 3 แห่งเอสเซกซ์

รัฐสภายาว

การประชุมของรัฐสภายาว รัฐสภายาว (ภาษาอังกฤษ: Long Parliament) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษสมัยหนึ่งที่ถูกเรียกโดยสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและรัฐสภายาว

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและรัฐสภาสหราชอาณาจักร

รายชื่อสงครามกลางเมืองของอังกฤษ

“ยุทธการวูสเตอร์” (3 กันยายน ค.ศ. 1651) ในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 3 สงครามกลางเมืองของอังกฤษ รวมทั้ง.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและรายชื่อสงครามกลางเมืองของอังกฤษ

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและลัทธิทำลายรูปเคารพ

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและลัทธิคอมมิวนิสต์

ลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ

ลำดับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาของอังกฤษ (Timeline of the English Reformation) เหตุการณ์ข้างล่างนี้เป็นเหตุการณ์ที่มีส่วนเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษจากโรมันคาทอลิกมาเป็นนิกายเชิร์ชออฟอิงแลน.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ

วังเบลนิม

วังเบลนิม (Blenheim Palace) หรือ คฤหาสน์เบลนิม เป็นคฤหาสน์ที่สร้างอย่างวังตั้งอยู่ที่เมืองเล็กๆ ชื่อวู้ดสต็อคในมลฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ สร้างโดยซาราห์ เชอร์ชิลผู้เป็นภรรยาของจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเป็นพระสหายสนิทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและวังเบลนิม

วิลเลียม วอลเลอร์

วิลเลียม วอลเลอร์ (William Waller) (ราว ค.ศ. 1597 - 19 กันยายน ค.ศ. 1668) วิลเลียม วอลเลอร์เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการแลนสดาวน์และยุทธการอื่นๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ วอลเลอร์เกิดที่โนลในมณฑลเค้นท์ เมื่อวันที่ ราว ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและวิลเลียม วอลเลอร์

วิลเลียม คาเว็นดิช ดยุคแห่งนิวคาสเซิล-อัพพอน-ไทน์ที่ 1

วิลเลียม คาเว็นดิช ดยุคแห่งนิวคาสเซิล-อัพพอน-ไทน์ที่ 1 (William Cavendish, 1st Duke of Newcastle-upon-Tyne) (6 ธันวาคม ค.ศ. 1592 - 25 ธันวาคม ค.ศ. 1676) วิลเลียม คาเว็นดิชเป็นนายทหารฝ่ายนิยมกษัตริย์และนักการเมืองชาวอังกฤษ ผู้มีความสามารถหลายด้านที่รวมทั้งการเป็นนักประพันธ์, นักขี่ม้า, นักเขียนบทละคร, นักดาบ, สถาปนิก และนักการทูต วิลเลียม คาเว็นดิชเกิดที่แฮนสเวิร์ธ, ยอร์คเชอร์เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและวิลเลียม คาเว็นดิช ดยุคแห่งนิวคาสเซิล-อัพพอน-ไทน์ที่ 1

วิลเลียม เบเรตัน บารอนเน็ตที่ 1

วิลเลียม เบเรตัน บารอนเน็ตที่ 1 (Sir William Brereton, 1st Baronet) (13 กันยายน ค.ศ. 1604 - 7 เมษายน ค.ศ. 1661) วิลเลียม เบเรตัน บารอนเน็ตที่ 1เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการฮอพตันฮีธและยุทธการอื่นๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ วิลเลียม เบเรตันได้รับการศึกษาที่วิทยาลัยเบรสโนสในอ๊อกซฟอร์ดและที่อินน์สออฟคอร์ต และต่อมาได้รับเลือกเป็นสมาชิกรัฐสภา จากเชสเชอร์ในปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและวิลเลียม เบเรตัน บารอนเน็ตที่ 1

วุร์สเตอร์

วุร์สเตอร์ (Worcester) เป็นนครและเมืองเทศมณฑลวุร์สเตอร์เชอร์ในภาคเวสต์มิดแลนส์ของอังกฤษ เมืองวุร์สเตอร์ตั้งอยู่ราว 30 ไมล์ (48 กิโลเมตร) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองเบอร์มิงแฮม, 29 ไมล์ (47 กิโลเมตร) เหนือเมืองกลอสเตอร์ และมีประชากรประมาณ 94,300 คน วุร์สเตอร์มีแม่น้ำเซเวิร์นไหลผ่ากลางเมือง และเป็นเมืองที่ตั้งของมหาวิหารวุร์สเตอร์ที่สร้างมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 วุร์สเตอร์เป็นสนามรบของยุทธการที่วุร์สเตอร์ซึ่งเป็นยุทธการสุดท้ายของสงครามกลางเมืองอังกฤษ วุร์สเตอร์เป็นเมืองที่กองทัพตัวแบบใหม่ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ได้รับชัยชนะต่อกองทัพฝ่ายกษัตริย์นิยมของพระเจ้าชาลส์ที่ 1ซึ่งเป็นผลให้อังกฤษเข้าสู่ยุคสมัยไร้กษัตริย์ที่อังกฤษและเวลส์เปลี่ยนระบบการปกครองเป็นสาธารณรัฐ นอกจากนั้นก็ยังศูนย์กลางของโรงงานทำเครื่องพอร์ซีเลนรอยัลวุร์สเตอร์และเป็นบ้านเกิดของคีตกวีเซอร์เอ็ดเวิร์ด เอลการ์ (Edward Elgar).

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและวุร์สเตอร์

ศาลยุติธรรมชั้นสูงสำหรับพิจารณาคดีพระเจ้าชาลส์ที่ 1

มพ์แสดงการไต่ถวนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 เมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1649 จาก “บันทึกการพิจารณาคดีพระเจ้าชาลส์ที่ 1, ค.ศ. 1688” ในพิพิธภัณฑ์บริติช ศาลยุติธรรมชั้นสูง เป็นชื่อของศาลที่ก่อตั้งขึ้นโดยรัฐสภารัมพ์เพื่อใช้ในการพิจารณาคดีพระเจ้าชาลส์ที่ 1 เป็นศาลที่ก่อตั้งขึ้นเป็นพิเศษสำหรับกรณีนี้เท่านั้น แม้ว่าชื่อของศาล “ศาลยุติธรรมชั้นสูง” จะใช้กันต่อม.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและศาลยุติธรรมชั้นสูงสำหรับพิจารณาคดีพระเจ้าชาลส์ที่ 1

สมัยการปกครองส่วนพระองค์

มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ สมัยการปกครองส่วนพระองค์ หรือ สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่ (ภาษาอังกฤษ: Personal Rule หรือ Eleven Years' Tyranny) เป็นช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและสมัยการปกครองส่วนพระองค์

สมัยสจวต

มัยสจวต (Stuart period) เป็นสมัยของประวัติศาสตร์อังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1603 จนถึงปี ค.ศ. 1714 ตรงกับการครองราชย์ของกษัตริย์ราชวงศ์สจวต ซึ่งเป็นระยะเวลาระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 หรือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ และมาสิ้นสุดลงในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์เมื่อสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1แห่งราชวงศ์ฮาโนเวอร์ขึ้นครองราชย์ สมัยสจวตเป็นสมัยที่ต่อมาจากสมัยเอลิซาเบธ และตามด้วยสมัยจาโคเบียน สมัยสจวตเป็นสมัยของความขัดแย้งภายในราชอาณาจักรและศาสน.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและสมัยสจวต

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและสงครามกลางเมือง

สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 (First English Civil War) (ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1

สเปนเซอร์ คอมป์ตัน เอิร์ลที่ 2 แห่งนอร์แทมป์ตัน

ปนเซอร์ คอมป์ตัน เอิร์ลที่ 2 แห่งนอร์แทมป์ตัน (Spencer Compton, 2nd Earl of Northampton; พฤษภาคม ค.ศ. 1601 - 19 มีนาคม ค.ศ. 1643) เป็นขุนนาง, นักการทหาร และนักการเมืองชาวอังกฤษ สเปนเซอร์ คอมพ์ตันเกิดเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและสเปนเซอร์ คอมป์ตัน เอิร์ลที่ 2 แห่งนอร์แทมป์ตัน

หัวเกรียน

“ฝ่ายรัฐสภา” โดยจอห์น เพ็ตติ (John Pettie) กลุ่มหัวเกรียน หรือ ฝ่ายรัฐสภา (ภาษาอังกฤษ: Parliamentarians หรือ Roundhead) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มพิวริตันผู้สนับสนุนรัฐสภาแห่งอังกฤษระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษ และเป็นผู้สนับสนุนโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ และเป็นปฏิปักษ์ต่อสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ครอมเวลล์ได้รับความก้าวหน้าทางการเมือง, เป็นสมาชิกของสภาสามัญชนผู้มีบทบาทสำคัญ และเป็นนายทหารผู้มีความสามารถ และในที่สุดก็แต่งตั้งตนเองเป็นเจ้าผู้พิทักษ์ ในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและหัวเกรียน

ห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทน

"ไม่ควรจัดเก็บภาษีหากไม่จัดให้มีผู้แทน" หรือ "ไม่จ่ายภาษีหากไม่มีผู้แทน" (No taxation without representation) เริ่มเป็นสโลแกนซึ่งเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1750 และ 1760 ที่สรุปความเดือดร้อนของชาวอาณานิคมอังกฤษในสิบสามอาณานิคม ซึ่งได้กลายมาเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญของการปฏิวัติอเมริกา กล่าวโดยสรุป ชาวอาณานิคมจำนวนมากเชื่อว่าการขาดผู้แทนโดยตรงในรัฐสภาอังกฤษที่ห่างเหิน ถือว่าเป็นการปฏิเสธสิทธิความเป็นชาวอังกฤษของพวกเขาอย่างผิดกฎหมาย ดังนั้น กฎหมายที่บังคับให้ชาวอาณานิคมจ่ายภาษี (ซึ่งเป็นกฎหมายประเภทที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตมากที่สุด) และกฎหมายอื่น ๆ ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะในอาณานิคมเท่านั้น จึงไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ในเวลาปัจจุบัน ได้มีการใช้สโลแกนดังกล่าวในกลุ่มคนอื่น ๆ ในหลายประเทศในข้อพิพาทที่คล้ายคลึงกัน วลี No taxation without representation สามารถสืบไปได้ว่าเป็นสาเหตุของสงครามกลางเมืองอังกฤษ โดยจอห์น แฮมพ์เดน กล่าวว่า "พระมหากษัตริย์อังกฤษไม่มีสิทธิ์จะร้องขอ ประชาชนชาวอังกฤษต่างก็มีสิทธิ์ปฏิเสธได้" ในกรณีเรือเงิน.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทน

อาร์เธอร์ เฮเซลริก บารอนเน็ตที่ 2

อาร์เธอร์ เฮเซลริก บารอนเน็ตที่ 2 (Sir Arthur Haselrig, 2nd Baronet) (เสียชีวิต 7 มกราคม ค.ศ. 1661) อาร์เธอร์ เฮเซลริก บารอนเน็ตที่ 2 เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการราวนด์เวย์ดาวน์และยุทธการอื่นๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ เฮเซลริกเป็นบุตรของเซอร์ทอมัส เฮเซลริกและฟรานซ์ จอร์จสบุตรสาวของเซอร์วิลเลียม จอร์จส เฮเซลริกสมรสกับฟรานซ์และมีบุตรธิดาด้วยกันสี่คน ต่อมาก็สมรสกับโดโรธีและมีบุตรธิดาด้วยกันแปดคน อาร์เธอร์ เฮเซลริกเป็นหนึ่งในสมาชิกรัฐสภาห้าคนที่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ตั้งใจจะบุกเข้าไปจับในรัฐสภาในปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและอาร์เธอร์ เฮเซลริก บารอนเน็ตที่ 2

อาร์เทอร์ เคเพลล์ บารอนเคเพลล์ที่ 1 แห่งแฮดัม

อาร์เทอร์ เคเพลล์ บารอนเคเพลล์ที่ 1 แห่งแฮดัม (Arthur Capell, 1st Baron Capell of Hadham; 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1608 - 9 มีนาคม ค.ศ. 1649) อาร์เทอร์ เคเพลล์เป็นนายทัพฝ่ายนิยมกษัตริย์ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ อาร์เทอร์ เคเพลล์เกิดเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและอาร์เทอร์ เคเพลล์ บารอนเคเพลล์ที่ 1 แห่งแฮดัม

อาสนวิหารนักบุญเปาโล

“อาสนวิหารนักบุญเปาโลเดิม” ก่อน ค.ศ. 1561 ที่ยังมีมณฑป อาสนวิหารนักบุญเปาโล (St Paul's Cathedral) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ และเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งบิชอปแห่งลอนดอน สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่นักบุญเปาโลอัครทูต ตั้งอยู่ในนครลอนดอน ประเทศอังกฤษ อาสนวิหารที่เห็นในปัจจุบันสร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเชื่อกันว่าเป็นอาสนวิหารที่ 5 ตั้งแต่สร้างอาสนวิหารกันมา ณ ที่ตั้งนี้แต่อาจจะสูงกว่านั้นถ้านับการบูรณะเข้าไปด้ว.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและอาสนวิหารนักบุญเปาโล

จอร์จ กอริง ลอร์ดกอริง

อร์จ กอริง ลอร์ดกอริง (George Goring, Lord Goring) (14 กรกฎาคม ค.ศ. 1608 - ค.ศ. 1657) จอร์จ กอริง ลอร์ดกอริงเป็นนายทัพฝ่ายกษัตริย์นิยมในสงครามกลางเมืองอังกฤษ จอร์จ กอริงเกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจอร์จ กอริง ลอร์ดกอริง

จอร์จ วิลเลียร์ส ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม

อร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 (ภาษาอังกฤษ: George Villiers, 2nd Duke of Buckingham) (30 มกราคม ค.ศ. 1628 - (16 เมษายน ค.ศ. 1687) จอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษและเป็นบุตรของจอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 1 ผู้เป็นข้าราชสำนักคนโปรดของพระเจ้าเจมส์ที่ 1และพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 และ แคทเธอริน วิลเลียรส์ (Katherine Villiers, Duchess of Buckingham) เมื่อบิดาเสียชีวิตดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 มีอายุเพียง 4 เดือน ดยุคและฟรานซิสน้องชายจึงได้รับการเลี้ยงดูโดยพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 พร้อมกับพระราชโอรสธิดาของพระองค์เอง และได้รับการศึกษาจาก วิทยาลัยทรินิตี, มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และได้รับปริญญาโททางศิลปะในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจอร์จ วิลเลียร์ส ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม

จอห์น ลิลเบิร์น

อห์น ลิลเบิร์น (John Lilburne หรือ Freeborn John) (ราว ค.ศ. 1614 - 29 สิงหาคม ค.ศ. 1657) จอห์น ลิลเบิร์นเป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1ชาวอังกฤษ จอห์นเกิดที่บิชอปออคแลนด์, มณฑลเดอแรม เมื่อราว ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจอห์น ลิลเบิร์น

จอห์น ฮ็อทแฮม บารอนเน็ทที่ 1

อห์น ฮ็อทแฮม บารอนเน็ทที่ 1 (Sir John Hotham, 1st Baronet) (เสียชีวิต3 มกราคม ค.ศ. 1645) จอห์น ฮ็อทแฮม บารอนเน็ทที่ 1 เป็นฝ่ายรัฐสภาในสงครามกลางเมืองอังกฤษ ฮ็อทแฮมมาจากครอบครัวในยอร์คเชอร์และมีประสพการณ์ในการต่อสู้ในสงครามสามสิบปีในระยะแรก และเป็น High Sheriff ของยอร์คเชอร์ระหว่าง..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจอห์น ฮ็อทแฮม บารอนเน็ทที่ 1

จอห์น แลมเบิร์ต (นายพล)

นายพลจอห์น แลมเบิร์ต (John Lambert) (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1619 - มีนาคม ค.ศ. 1684) แลมเบิร์ตเป็นนายพลของฝ่ายรัฐสภาในสงครามกลางเมืองอังกฤษ นายพลแลมเบิร์ตเกิดในฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจอห์น แลมเบิร์ต (นายพล)

จอห์น เกลล์ บารอนเน็ตที่ 1

อห์น เกลล์ บารอนเน็ตที่ 1 (Sir John Gell, 1st Baronet) (22 มิถุนายน ค.ศ. 1593 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1671) จอห์น เกลล์เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการฮอพตันฮีธและยุทธการอื่นๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ จอห์น เกลล์เกิดที่ฮอพตันฮอลล์ในมณฑลดาร์บีเชอร์ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจอห์น เกลล์ บารอนเน็ตที่ 1

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ทอมัส แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 3 แห่งแคเมอรอน

ทอมัส แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 3 แห่งแคเมอรอน (Thomas Fairfax, 3rd Lord Fairfax of Cameron; 17 มกราคม ค.ศ. 1612 - 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1671) เป็นนายพลและผู้บังคับบัญชาทหารสูงสุดของฝ่ายรัฐสภาระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและทอมัส แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 3 แห่งแคเมอรอน

ทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1

ทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Thomas Wentworth, 1st Earl of Strafford) (13 เมษายน ค.ศ. 1593 - 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1641) ทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้มีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ก่อนหน้าที่จะนำไปสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ ทอมัส เวนท์เวิร์ธรับราชการในรัฐสภาและเป็นฝ่ายสนับสนุนพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1

ของขวัญดัตช์

“ภาพเหมือนของจาโคโป ซานนาซาโร” โดย ทิเชียน, ราว ค.ศ. 1514-ค.ศ. 1518 ของขวัญดัตช์ ของปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและของขวัญดัตช์

ความโปร่งใส

วามโปร่งใส (ทางการเมือง) (Political Transparency) หมายถึง ความสามารถของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่จะเข้าถึง และอภิปรายเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เอกสาร และข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจดำเนินนโยบายสาธารณะ การใช้อำนาจบริหารประเทศของรัฐบาลและทางราชการ ตลอดจนการแต่งตั้งบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งทางการเมือง และในระบบราชการ โดยที่มาของคำว่าความโปร่งใสนี้มาจากความหมายในทางวิทยาศาสตร์กายภาพที่นำไปใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุที่มีคุณสมบัติ “โปร่งใส” คือ วัตถุที่แสงสว่างสามารถลอดผ่านผิวของวัตถุทำให้สามารถมองทะลุพื้นผิวของวัตถุได้นั่นเอง แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายในเชิงการเมืองยังมีความหมายที่ลึกกว่าแค่เพียงการมองเห็นการทำงานของรัฐบาล และราชการ แต่ยังรวมถึงการที่ประชาชนสามารถเข้าใจ มีส่วนร่วม และควบคุมตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลได้อีกด้วย (Kurian, 2011: 1686).

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและความโปร่งใส

คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ

“คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ” หอเอกสารแห่งชาติ, ลอนดอน คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ (Petition of Right) เป็นเอกสารที่สำคัญที่สุดฉบับหนึ่งในรัฐธรรมนูญของอังกฤษที่ระบุเสรีภาพบางประการของประชาราษฎรที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงมีสิทธิที่จะแตะต้องได้ คำร้องขอนี้เป็นเอกสารที่ร่างโดยรัฐสภาแห่งอังกฤษก่อนหน้าที่จะเข้าสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ คำร้องขอได้รับการอนุมัติจากรัฐสภาเมื่อเดือนพฤษภาคม..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและคำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและงานกระจกสี

ซัมเมอร์เซต

ซัมเมอร์เซต (ภาษาอังกฤษ: Somerset) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร มณฑลภูมิศาสตร์ซัมเมอร์เซตมีเขตแดนติดกับบริสตอล และมณฑลกลอสเตอร์เชอร์ทางเหนือ, มณฑลวิลท์เชอร์ ทางตะวันออก, มณฑลดอร์เซตทางตะวันออกเฉียงใต้, และมณฑลเดวอนทางตะวันตกเฉียงใต้ ด้านเหนือและตะวันตกบางส่วนติดกับฝั่งทะเลของช่องแคบบริสตอลและปากน้ำ (estuary) ของแม่น้ำเซเวิร์น ตามธรรมเนียมทางเหนือของมณฑลเป็นแม่น้ำเอวอนแต่เขตการปกครองเลื่อนไปทางใต้เมื่อนครบริสตอลและอดีตมณฑลเอวอนและต่อมารัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวขยายเขตการปกครองทางเหนือของมณฑล ซัมเมอร์เซตเป็นมณฑลชนบทที่มีภูมิประเทศเป็นเนินสูงๆ ต่ำๆ เช่นเม็นดิพฮิลล์ส, ควานต็อคฮิลล์ส และอุทยานแห่งชาติเอ็กซ์มัวร์ และดินแดนที่กว้างไกลที่รวมทั้งซัมเมอร์เซตเลเวลส์ ซัมเมอร์เซตมีหลักฐานว่ามีผู้มาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ยุคหินใหม่และต่อมาในสมัยโรมัน และแซ็กซอน ต่อมาซัมเมอร์เซตก็มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ที่รวมทั้งการรวบรวมอำนาจของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช, สงครามกลางเมืองอังกฤษ และการปฏิวัติมอนม็อธ (Monmouth Rebellion) การเกษตรกรรมเป็นธุรกิจหลักของมณฑลที่รวมทั้งการเลี้ยงแกะและวัว ที่ใช้ในการทำขนแกะและเนยแข็ง นอกจากนั้นก็มีการตัดวิลโลว์สำหรับสานตะกร้า การทำสวนแอปเปิลครั้งหนึ่งเคยทำกันเป็นอุตสาหกรรมแต่ในปัจจุบันซัมเมอร์เซตก็ยังมีชื่อเสียงในการทำไซเดอร์ (cider) สถิติผู้ว่างงานโดยถัวเฉลี่ยน้อยกว่าระดับชาติ การรับจ้างที่สูงที่สุดอยู่ในการค้าขาย, การผลิต, การท่องเที่ยว, และการสุขภาพและการสังคมสงเคราะห์ การขยายตัวของจำนวนประชากรโดยถัวเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ ซัมเมอร์เซตแบ่งการปกครองเป็นเจ็ดแขวง: เซาท์ซัมเมอร์เซต, ทอนทันดีน, เวสต์ซัมเมอร์เซต, เซจมัวร์, เม็นดิพ, บาธและนอร์ธอีสต์ซัมเมอร์เซต, นอร์ธซัมเมอร์เซต โดยมีทอนทันเป็นเมืองหลวงของมณฑล ซัมเมอร์เซตมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 905,700 คน ในเนื้อที่ 4,171 ตารางกิโลเมตร.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและซัมเมอร์เซต

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและประชาธิปไตยเสรีนิยม

ประกาศเบรดา

ประกาศเบรดา (Declaration of Breda) ลงวันที่ 4 เมษายน..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและประกาศเบรดา

ประวัติศาสตร์สหรัฐ

วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและประวัติศาสตร์สหรัฐ

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ

ประวัติศาสตร์ของหมู่เกาะอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: History of the British Isles) เป็นประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งและความเป็นพันธมิตรระหว่างผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณต่างๆ ของบริเตนใหญ่, ไอร์แลนด์ และเกาะต่างๆ ที่รวมเป็นเกาะอังกฤษที่รวมทั้งฝรั่งเศส, เยอรมนี, เนเธอร์แลนด์, เดนมาร์ก และ สแกนดิเนเวีย ในปัจจุบันเกาะอังกฤษประกอบด้วยรัฐอิสระสองรัฐ: สาธารณรัฐไอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร นอกจากนั้นยังมีรัฐที่ขึ้นกับสหราชอาณาจักร: เกิร์นซีย์, เจอร์ซีย์ และ ไอล์ออฟแมน.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ

ปราสาทเคมบริดจ์

ปราสาทเคมบริดจ์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ Castle Mound ตั้งอยู่ที่ เคมบริดจ์ เคมบริดจ์เชอร ประเทศอังกฤษ ก่อสร้างขึ้นครั้งแรกหลังจาก การรุกรานของชาวนอร์มัน เพื่อควบคุมเส้นทางเดินทางสำคัญที่มุ่งสู่ทางเหนือของอังกฤษ และมีส่วนสำคัญในความขัดแย้งของระบอบ อนาธิปไตย ในสงครามบารอนใน ครั้งแรก และ ครั้งที่สอง หลังจากการขยายราชอาณาจักรของ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ปราสาทก็ไม่ได้ถูกใช้งานและทรุดโทรมลงอย่างรวดเร็วในปลายยุคกลาง สิ่งก่อสร้างจากหินถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างอาคารของสถาบันการศึกษาโดยรอบ ปราสาทเคมบริดจ์ได้รับการบูรณะในระหว่างสงครามกลางเมืองของอังกฤษ แต่ก็ได้ทรุดโทรมลงอีกครั้ง ทั้งยังถูกใช้เป็นที่คุมขัง ในช่วงแรก ที่คุมขังในปราสาทได้ถูกรื้อถอนในปี 1842 และได้สร้างที่คุมขังใหม่ในกำแพงชั้นนอกของปราสาท ต่อมาที่คุมขังดังกล่าวได้ถูกรื้อถอนไปในปี 1932 และแทนที่ด้วยศาลากลางมณฑลสมัยใหม่ และคงเหลือ เนินดิน และกำแพงดินบางส่วน สถานที่ดังกล่าวเปิดให้สาธารณชนเข้าชมทุกวันและยังได้ชมทัศนียภาพของอาคารทางประวัติศาสตร์ของเมือง.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและปราสาทเคมบริดจ์

ปาแล-รัวยาล

ปาแล-รัวยาล (Palais-Royal) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เดิมชื่อ “วังคาร์ดินัล” (Palais-Cardinal) ปาแล-รัวยาลและสวนอยู่หน้า “จตุรัสปาแล-รัวยาล” ตรงกันข้ามกับปีกเหนือของพระราชวังลูฟวร์ และ ลานเกียรติยศ (cour d'honneur) อันมีชื่อเสียง ด้านหน้ารายด้วยคอลัมน์ และ ตั้งแต่ปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและปาแล-รัวยาล

แกรนาเดียร์

แกรนาเดียร์ของฝรั่งเศส ค.ศ. 1812 แกรนาเดียร์ (Grenadier) เป็นทหารพิเศษที่ปรากฎอยู่ในทวีปยุโรป จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรกในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส เพื่อทำหน้าที่เป็นพลขว้างระเบิดซึ่งมีขนาดราวลูกเบสบอล หรือปฏิบัติภารกิจจู่โจม ในช่วงแรกแกรนาเดียร์จะถูกคัดเลือกจากนายทหารที่แข็งแกร่งและกำยำที่สุด อย่างไรก็ตามในศตวรรษที่ 18 ก็ไม่ปรากฎว่ามีแกรนาเดียพลขว้างระเบิดอยู่อีก แต่ก็ยังคงถูกคัดเลือกจากผู้มีร่างกายกำยำเพื่อเป็นหน่วยทะลวงทัพข้าศึกในสนามรบ ประเทศฝรั่งเศสและอาร์เจนตินาได้จัดตั้งหน่วยแกรนาเดียร์ที่เรียกว่า แกรนาเดียร์พลม้า ไม่นานต่อมาสหราชอาณาจักรก็จัดตั้งแกรนาเดียร์พลม้าเช่นเดียวกัน แนวคิดพลขว้างระเบิดนั้นปรากฎครั้งแรกในสมัยราชวงศ์หมิงของจีนซึ่งมีบันทึกว่าทหารจีนบนกำแพงเมืองจีนได้ขว้างลูกระเบิดใส่ข้าศึก สำหรับในยุโรปพบว่าพลขว้างระเบิดปรากฎครั้งแรกในสเปนและออสเตรีย และพลขว้างระเบิดก็ปรากฎอยู่ในอังกฤษเช่นกันในช่วงสงครามกลางเมืองอังกฤษ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและแกรนาเดียร์

แรล์ฟ ฮอปตัน บารอนฮอปตันที่ 1

แรล์ฟ ฮอปตัน บารอนฮอปตันที่ 1 (Ralph Hopton, 1st Baron Hopton; ค.ศ. 1598 - กันยายน ค.ศ. 1652) เป็นแม่ทัพฝ่ายกษัตริย์นิยมผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่แบรดด็อกดาวน์และยุทธการอื่นๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ แรล์ฟ ฮอปตันเกิดในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและแรล์ฟ ฮอปตัน บารอนฮอปตันที่ 1

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แควาเลียร์

แควาเลียร์ (Cavalier) เป็นคำที่ฝ่ายรัฐสภาใช้เรียกผู้นิยมกษัตริย์ที่สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษ (ระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและแควาเลียร์

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและแปลก พิบูลสงคราม

โอลิเวอร์ ครอมเวลล์

อลิเวอร์ ครอมเวลล์ (Oliver Cromwell) (25 เมษายน ค.ศ. 1599 (ปฏิทินเก่า) - 3 กันยายน ค.ศ. 1658 (ปฏิทินเก่า) เป็นผู้นำทางการทหารและทางการเมืองชาวอังกฤษที่เป็นที่รู้จักกันดีในการเกี่ยวข้องกับเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษเป็นแบบสาธารณรัฐในฐานะ “เจ้าผู้พิทักษ์” (Lord Protector) แห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ครอมเวลล์เป็นแม่ทัพคนหนึ่งของกองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ผู้ได้รับชัยชนะต่อกองทัพของ ฝ่ายกษัตริย์นิยม (Cavalier) ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ หลังจากปลงพระชนม์สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ในปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและโอลิเวอร์ ครอมเวลล์

ไอศกรีม

อศกรีมแบล็กวอลนัต ไอศกรีม (ice cream) หรือภาษาปากว่า ไอติม เป็นของหวานแช่แข็งชนิดหนึ่ง ได้จากการผสมส่วนผสม นำไปผ่านการฆ่าเชื้อ แล้วนั้นนำไปปั่นในที่เย็นจัด เพื่อเติมอากาศเข้าไปพร้อม ๆ กับการลดอุณหภูมิ โดยอาศัยเครื่องปั่นไอศกรีม ไอศกรีมตักโดยทั่วไปจะต้องผ่านขั้นตอนการแช่เยือกแข็งอีกครั้งก่อนนำมาขายหรือรับประทาน ไอศกรีม (อ่านว่า ไอ-สะ-กฺรีม) มาจากคำภาษาอังกฤษว่า ice-cream   พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานให้เขียนเป็นภาษาไทยว่า ไอศกรีม ซึ่งเป็นคำที่เขียนกันมาแต่เดิม.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและไอศกรีม

ไททัส โอตส์

ททัส โอตส์ (ภาษาอังกฤษ: Titus Oates) (15 กันยายน ค.ศ. 1649 - 12/13 กรกฎาคม ค.ศ. 1649) ไททัส โอตส์ เป็นนักบวชชาวอังกฤษผู้สร้างข่าวลือเท็จเรื่องการคบคิดพ็อพพิชที่อ้างว่าเป็นการคบคิดของฝ่ายโรมันคาทอลิกที่จะปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ข่าวลือนี้ทำให้มีผู้ถูกจับและถูกประหารชีวิตไปอย่างน้อย 15 คน และเป็นผลทำให้ประชาชนเกิดมีความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ต่อโรมันคาทอลิกอย่างรุนแรงไปทั่วราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและไททัส โอตส์

เฟอร์ดิแนนโด แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 2 แห่งแคเมอรอน

ฟอร์ดิแนนโด แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 2 แห่งแคเมอรอน (Ferdinando Fairfax, 2nd Lord Fairfax of Cameron; 29 มีนาคม ค.ศ. 1584 - 14 มีนาคม ค.ศ. 1648) เป็นแม่ทัพฝ่ายรัฐสภาในยอร์กเชอร์ผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่แอดวอลตันมัวร์และยุทธการอื่น ๆ ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์เกิดในเทศมณฑลยอร์กเชอร์เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเฟอร์ดิแนนโด แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 2 แห่งแคเมอรอน

เกาะบราวน์ซี

แผนที่เกาะบราวน์ซี เกาะบราวน์ซี (Brownsea Island) หรือ แบรงก์ซี (Branksea Island) เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในทะเลสาบพูล นอกเขตเมืองพูล จังหวัดดอร์เซต สหราชอาณาจักร ชื่อของเกาะมีที่มาจากภาษาอังกฤษยุคแองโกล-แซกซัน Brūnoces īeg หรือตามภาษาอังกฤษปัจจุบัน Brūnoc's island เกาะบราวน์ซีรู้จักกันดีในฐานะเป็นที่ตั้งค่ายลูกเสือแห่งแรกของโลกโดยโรเบิร์ต เบเดน โพเอลล์ ในปี พ.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเกาะบราวน์ซี

เรดิง (บาร์กเชอร์)

รดิง (Reading) เป็นเมืองและรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียว (unitary authority area) ในบาร์กเชอร์ ประเทศอังกฤษ บนฝั่งแม่น้ำเคนเนต ตรงจุดที่แม่น้ำเทมส์ไหลมาบรรจบ พบหลักฐานเกี่ยวกับการตั้งรกรากครั้งแรกในศตวรรษที่ 8 เรดิงเป็นเมืองสำคัญในยุคกลาง เมืองได้รับผลกระทบอย่างมากจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ ปัจจุบันเรดิงเป็นศูนย์กลางการค้าที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีข้อมูลและการประกันภัย มีมหาวิทยาลัยเรดิง (ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเรดิง (บาร์กเชอร์)

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

เอดเวิร์ด มอนทากิว เอิร์ลที่ 2 แห่งแมนเชสเตอร์

อดเวิร์ด มอนทากิว เอิร์ลที่ 2 แห่งแมนเชสเตอร์ (Edward Montagu, 2nd Earl of Manchester; ค.ศ. 1602 - 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1671) เป็นนายพลฝ่ายรัฐสภาคนสำคัญในสงครามกลางเมืองอังกฤษและมีฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ เอดเวิร์ด มอนทากิวเกิดเมื่อปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเอดเวิร์ด มอนทากิว เอิร์ลที่ 2 แห่งแมนเชสเตอร์

เฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์

นรี ริช เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์ที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Henry Rich, 1st Earl of Holland) (19 สิงหาคม ค.ศ. 1590 - 9 มีนาคม ค.ศ. 1649) เฮนรี ริชเป็นขุนนางและนักการทหารชาวอังกฤษ เฮนรี ริชเกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์

เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

เจมส์ ลิฟวิงสตัน เอิร์ลที่ 1 แห่งแคลลินดาร์

มส์ ลิฟวิงสตัน เอิร์ลที่ 1 แห่งแคลลินดาร์ (James Livingston, 1st Earl of Callendar; ราวคริสต์ทศวรรษ 1590 - ค.ศ. 1674) เป็นนายทัพฝ่ายกษัตริย์นิยมผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่เพรสตันในสงครามกลางสามอาณาจักร/สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 2 เจมส์เกิดราวคริสต์ทศวรรษ 1590 เป็นบุตรของอเล็กซานเดอร์ ลิฟวิงสตัน เอิร์ลที่ 1 แห่งลินลิทโกว์ ราวปี..

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเจมส์ ลิฟวิงสตัน เอิร์ลที่ 1 แห่งแคลลินดาร์

เจมส์ แกรม มาร์ควิสแห่งมอนท์โรสที่ 1

มส์ แกรม มาร์ควิสแห่งมอนท์โรสที่ 1 (James Graham, 1st Marquess of Montrose) (25 ตุลาคม ค.ศ. 1612 - 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1650) เจมส์ แกรม มาร์ควิสเป็นขุนนางและนักการทหารชาวสกอต เจมส์ แกรมเกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเจมส์ แกรม มาร์ควิสแห่งมอนท์โรสที่ 1

เจมส์ แฮมิลตัน ดยุกที่ 1 แห่งแฮมิลตัน

มส์ แฮมมิลตัน ดยุคแห่งแฮมมิลตันที่ 1 (James Hamilton, 1st Duke of Hamilton) (19 มิถุนายน ค.ศ. 1606 - 9 มีนาคม ค.ศ. 1649) เจมส์ แฮมมิลตันเป็นนายพลของกองทัพฝ่ายกษัตริย์นิยมชาวสกอตผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการเพรสตันในสงครามกลางสามอาณาจักร/สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 2 แต่พ่ายแพ้และถูกจับได้เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเจมส์ แฮมิลตัน ดยุกที่ 1 แห่งแฮมิลตัน

เจคอบ แอสต์ลีย์ บารอนแอสต์ลีย์ที่ 1 แห่งเรดิง

อบ แอสต์ลีย์ บารอนแอสต์ลีย์ที่ 1 แห่งเรดิง (Jacob Astley, 1st Baron Astley of Reading; ค.ศ. 1579 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1652) เป็นนายทัพฝ่ายนิยมกษัตริย์ผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษ เจคอบ แอสต์ลีย์มาจากครอบครัวที่เป็นหลักเป็นฐานในนอร์ฟอล์ก แอสต์ลีย์มีประสบการณ์ด้านการสงครามตั้งแต่อายุได้เพียง 18 ปีเมื่อเข้าร่วมในการเดินทางในการสำรวจร่วมกับรอเบิร์ต เดเวอรู เอิร์ลที่ 2 แห่งเอสเซกซ์ และเซอร์วอลเตอร์ รอลีไปยังอะโซร.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเจคอบ แอสต์ลีย์ บารอนแอสต์ลีย์ที่ 1 แห่งเรดิง

เจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์

้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ (Rupert, Count Palatine of the Rhine, Duke of Bavaria; Ruprecht Pfalzgraf bei Rhein, Herzog von Bayern หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า Prince Rupert of the Rhine; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1619 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์

เครือจักรภพแห่งอังกฤษ

รือจักรภพแห่งอังกฤษ (Commonwealth of England) คือรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองอังกฤษ รวมทั้งเวลส์ ไอร์แลนด์ และสกอตแลนด์ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและ22 สิงหาคม

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ดู สงครามกลางเมืองอังกฤษและ23 พฤศจิกายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ English Civil WarPuritan Revolutionการปฏิวัติเพียวริตัน

รัฐสภาสหราชอาณาจักรรายชื่อสงครามกลางเมืองของอังกฤษรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลลัทธิทำลายรูปเคารพลัทธิคอมมิวนิสต์ลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษวังเบลนิมวิลเลียม วอลเลอร์วิลเลียม คาเว็นดิช ดยุคแห่งนิวคาสเซิล-อัพพอน-ไทน์ที่ 1วิลเลียม เบเรตัน บารอนเน็ตที่ 1วุร์สเตอร์ศาลยุติธรรมชั้นสูงสำหรับพิจารณาคดีพระเจ้าชาลส์ที่ 1สมัยการปกครองส่วนพระองค์สมัยสจวตสงครามกลางเมืองสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1สเปนเซอร์ คอมป์ตัน เอิร์ลที่ 2 แห่งนอร์แทมป์ตันหัวเกรียนห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทนอาร์เธอร์ เฮเซลริก บารอนเน็ตที่ 2อาร์เทอร์ เคเพลล์ บารอนเคเพลล์ที่ 1 แห่งแฮดัมอาสนวิหารนักบุญเปาโลจอร์จ กอริง ลอร์ดกอริงจอร์จ วิลเลียร์ส ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮมจอห์น ลิลเบิร์นจอห์น ฮ็อทแฮม บารอนเน็ทที่ 1จอห์น แลมเบิร์ต (นายพล)จอห์น เกลล์ บารอนเน็ตที่ 1จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ทอมัส แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 3 แห่งแคเมอรอนทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1ของขวัญดัตช์ความโปร่งใสคำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐงานกระจกสีซัมเมอร์เซตประชาธิปไตยเสรีนิยมประกาศเบรดาประวัติศาสตร์สหรัฐประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษปราสาทเคมบริดจ์ปาแล-รัวยาลแกรนาเดียร์แรล์ฟ ฮอปตัน บารอนฮอปตันที่ 1แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแควาเลียร์แปลก พิบูลสงครามโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ไอศกรีมไททัส โอตส์เฟอร์ดิแนนโด แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 2 แห่งแคเมอรอนเกาะบราวน์ซีเรดิง (บาร์กเชอร์)เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เอดเวิร์ด มอนทากิว เอิร์ลที่ 2 แห่งแมนเชสเตอร์เฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษเจมส์ ลิฟวิงสตัน เอิร์ลที่ 1 แห่งแคลลินดาร์เจมส์ แกรม มาร์ควิสแห่งมอนท์โรสที่ 1เจมส์ แฮมิลตัน ดยุกที่ 1 แห่งแฮมิลตันเจคอบ แอสต์ลีย์ บารอนแอสต์ลีย์ที่ 1 แห่งเรดิงเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์เครือจักรภพแห่งอังกฤษ22 สิงหาคม23 พฤศจิกายน