สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: ระงับวงศ์เหงือกปลาหมออังกาบอังกาบสีปูนอังกาบหนูเสลดพังพอน
ระงับ
ระงับ เป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็กในสกุลอังกาบ วงศ์ Acanthaceae แตกกิ่งน้อย กิ่งก้านมีขนอ่อนปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเรียบเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีม่วง โคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกในประเทศไทย ชอบขึ้นในป่าดิบชื้น ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.
วงศ์เหงือกปลาหมอ
วงศ์เหงือกปลาหมอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acanthaceae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้วงศ์หนึ่ง เป็นพืชดอกมีใบเลี้ยงคู่ มีประมาณ 250 สกุลและ 2500 ชน.
ดู สกุลอังกาบและวงศ์เหงือกปลาหมอ
อังกาบ
อังกาบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barleria cristata L.) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นพรรณไม้พุ่มเตี้ย มีลำต้นเป็นข้อ สูงประมาณ 3 ฟุต ใบเป็นรูปหอก โคนและปลายเรียวแหลม ขนาดกว้างประมาณ 4 ซม.
อังกาบสีปูน
อังกาบสีปูน (หรือ ไม้พุ่มคลุมดินขนาดเล็ก เป็นกิ่งทอดเลื้อย สูง 15 - 40 ซม. ใบรูปไข่ ปลายแหลม ยาว 2 - 4 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ดอกมีสีแดงอมส้ม คล้ายสีปูนแดงที่กินกับหมาก กลีบดอกกลมมน ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงามได้ทั้งในที่ร่มรำไร และกลางแจ้ง.
อังกาบหนู
อังกาบหนู เป็นพืชที่เป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เป็นพืชสมุนไพรในตำรับยาอายุรเวท น้ำคั้นจากใบใช้ป้องกันเท้าเปื่อยและแตกในฤดูมรสุม, Willliam Dymock, C.
เสลดพังพอน
ลดพังพอนตัวผู้ หรือ ชองระอา ชื่ออื่น พิมเสนต้น (ภาคกลาง) ทองระอา ช้องระอา ลิ้นงูเห่า คันชั่ง (ตาก) อังกาบ อังกาบเมือง (ไทย) ก้านชั่ง (พายัพ) เป็นไม้พุ่ม สีเขียวน้ำตาล สูงเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบมีลักษณะเรียงแคบ ผิวใบเกลี้ยง เส้นกลางใบมีสีแดง โคนก้านใบมีหนามสีม่วง ดอกช่อสีส้มเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ เสลดพังพอน เป็นพืชสมุนไพร ใบใช้พอกฝี แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ช้ำบวม ทั้งต้นใช้แก้ปวดฟัน น้ำคั้นจากใบใช้แก้อาการปวดจากเงี่ยงปลาแทง แก้ปวดฟัน เหงือกบวม ริดสีดวงทวาร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบสดกำจัดหู.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Barleria