โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศุ บุญเลี้ยง

ดัชนี ศุ บุญเลี้ยง

ญเลี้ยง มีชื่อเล่นคือ จุ้ย ศิลปิน นักเขียน เจ้าของธุรกิจร้านอิ่มอุ่น ชาวเกาะสมุย เป็นที่รู้จักจากการเป็นสมาชิกวงเฉลียง กลุ่มตัวโน้ตอารมณ์ดี ที่สร้างตำนานของประเทศไทย หลังจากแยกตัวออกจากวงเฉลียงยังคงมีผลงานเพลงเดี่ยวออกมาหลายผลงาน เช่น ภูเขา-ทะเล อิ่มอุ่น และงานเขียนในชื่อตัวเองและนามปากกา สมจุ้ย เจตนาน่าสนุก ผันตนเองจากนิสิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการทำให้วงเฉลียงกลับมารวมตัวกันอีกครั้งหนึ่งโดยการเข้าไปขอบทเพลง เที่ยวละไม จาก ประภาส ชลศรานนท์ เป็นต้นกำเนิดของการรวมตัวกันของเฉลียงในยุคที่สอง ในชุด อื่นๆ อีกมากมาย โดยที่ชื่อ "ศุ บุญเลี้ยง" นั้นมาจากการที่นั่งรถเมล์ไปที่ห้าแยกลาดพร้าว แล้วพบป้ายแผ่นหนึ่งที่ติดอยู่ที่ห้างเซ็นทรัลลาดพร้าว มีคำว่า "ศุ" เห็นว่าเพราะดี เลยใช้เป็นชื่อตัวตราบจนปัจจุบัน (ป้ายแผ่นนั้น เขียนเต็ม ๆ ว่า "ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ปิด 4 ทุ่ม").

43 ความสัมพันธ์: บันทึกจาก(ลูก)ผู้ชายบุญชู 2 น้องใหม่บุญชู 5 เนื้อหอมบุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ยบุญชู 7 รักเธอคนเดียวตลอดกาลใครอย่าแตะพ.ศ. 2505พริกขี้หนูกับหมูแฮมพัดชา เอนกอายุวัฒน์พิง ลำพระเพลิงพงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยาพงษ์สิทธิ์ คำภีร์ยุทธนา บุญอ้อมรายชื่อผลงานของต่าย อรทัยรายชื่อนามปากการายนามศิษย์เก่าโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์รายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิตรางวัลแด่คนช่างฝันรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาบทละครโทรทัศน์ดีเด่นรถไฟดนตรีลูกทุ่งเอฟเอ็มสีสันอะวอร์ดส์อริสมันต์ พงศ์เรืองรองอิ่มอุ่นอื่น ๆ อีกมากมายผูกใจ (อัลบั้ม)จังหวัดสุราษฎร์ธานีทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6ขวานไทยใจหนึ่งเดียวขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติดวลวาทะ The Arena Thailandฉัตรชัย ดุริยประณีตแบ-กบาลโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนวัดนวลนรดิศเพลงเพื่อชีวิตเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์เหตุเกิด...ที่เฉลียงเอกเขนกเอ็มสแควร์เฉลียง (วงดนตรี)เฉลียงหลังบ้าน4 ตุลาคม

บันทึกจาก(ลูก)ผู้ชาย

ันทึกจากลูก(ผู้)ชาย เป็นบทประพันธ์ของ ชมัยภร แสงกระจ่าง บทโทรทัศน์ ท ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วหลายครั้ง แนว ชีวิต-คอมมาดี-ดราม่า โดยถูกนำมาสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ ในปี พ.ศ. 2537 นำแสดงโดย ปฏิภาณ ปฐวีกานต์, นารากร โลหะชาละ และต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2548 นำแสดงโดย สุวินิต ปัญจมะวัต, กาญจน์คนึง เนตรศรีทอง ออกอากาศทุกวันศุกร์ – อาทิตย์ เวลา 20.20 - 22.05 น. เริ่มตอนแรกวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2550–11 กันยายน พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและบันทึกจาก(ลูก)ผู้ชาย · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 2 น้องใหม่

ญชู 2 น้องใหม่ หรือ บุญชู ภาค 2 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2532 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ ส. อาสนจินดา สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ญาณี จงวิสุทธิ์ วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ อรุณ ภาวิไล กฤษณ์ ศุกระมงคล เกรียงไกร อมาตยกุล นฤพนธ์ ไชยยศ นัย สุขสกุล ธงชัย ประสงค์สันติ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่งสุข กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ ศศิวิมล วิริยานนท์ ส.อาสนจินดา จุรี โอศิริ ดร.เสรี วงษ์มณฑา ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ 16 ล้านบาทในสมัยนั้น.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและบุญชู 2 น้องใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 5 เนื้อหอม

ญชู 5 เนื้อหอม หรือ บุญชู ภาค 5 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2533 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ เกรียงไกร อุณหะนันท์ สมรัชนี เกษร สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ปรารถนา สัชฌุกร จุรี โอศิริ วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ เกรียงไกร อมาตยกุล อรุณ ภาวิไล กฤษณ์ ศุกระมงคล ธงชัย ประสงค์สันติ ชาญณรงค์ ขันทีท้าว ภาณุ น้อยอารีย์ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่งสุข นัท กิจดินันท์ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ ส.อาสนจินดา ชาลี อินทรวิจิตร อัญชลี ชัยศิริ โดยที่เรื่องนี้เป็นการนำบุญชู 3,บุญชู 4 และ บุญชู 5 รวมกันเป็นภาคเดียว กล่าวคือ บุญชู 3 มีชื่อตอนว่า จำจากแม่, บุญชู 4 มีชื่อตอนว่า ปีหนึ่ง และบุญชู 5 มีชื่อตอนว่า เนื้อหอม ส่วนความยาวของเนื้อหาบุญชู 3 และบุญชู 4 รวมกันไม่เกิน 12 นาที ก่อนจะเข้าสู่บุญชู 5.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและบุญชู 5 เนื้อหอม · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย

ญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย หรือ บุญชู ภาค 6 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2534 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ รัญญา ศิยานนท์ สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ปรารถนา สัชฌุกร วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ กฤษณ์ ศุกระมงคล เกรียงไกร อมาตยกุล อรุณ ภาวิไล จุรี โอศิริ สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต ชาลี อินทรวิจิตร สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่ง.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและบุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 7 รักเธอคนเดียวตลอดกาลใครอย่าแตะ

ญชู 7 รักเธอคนเดียวตลอดกาลใครอย่าแตะ หรือ บุญชู ภาค 7 เป็นภาพยนตร์ไทยออกฉายในปี..

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและบุญชู 7 รักเธอคนเดียวตลอดกาลใครอย่าแตะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พริกขี้หนูกับหมูแฮม

ริกขี้หนูกับหมูแฮม เป็นภาพยนตร์ไทยโดยไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2532 กำกับโดยสมจริง ศรีสุภาพ นำแสดงโดยขจรศักดิ์ รัตนนิสัย และจันทร์จิรา จูแจ้ง ภาพยนตร์ทำรายได้ 6 ล้านบาท"10 ปี ไท เอนเตอร์เทนเม้นท์", นิตยสารอานนท์ ฉบับธันวาคม 2536-มกราคม 2537 หน้า 152-157 ได้รับรางวัลเกียรติยศในงานมหกรรมภาพยนตร์เอเซียนแปซิฟิก ได้รับรางวัลแต่งผมและแต่งหน้ายอดเยี่ยม รางวัลพระสุรัสวดี ปี 2532 และมีเพลงประกอบภาพยนตร์คือเพลง "เติมใจให้กัน" แต่งโดย ศุ บุญเลี้ยง ทำนอง-เรียบเรียงโดย สินนภา สารสาส และขับร้องโดย มัม ลาโคนิค ภาพยนตร์ถ่ายทำที่เมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยเป็นเรื่องการใช้ชีวิตของคนไทยในสหรัฐอเมริกา สมจริงได้ร่วมเขียนบทกับชนินทรซึ่งเคยร่วมงานในภาพยนตร์ รักแรกอุ้ม โดยอาศัยการหาข้อมูลจากเรื่องสั้น นิยายและบันทึกต่าง ๆ ที่มีเรื่องราวของโรบินฮูด สมจริงได้มาถึงสหรัฐอเมริกาก่อนนาน 2 เดือนก่อนถ่ายทำ จึงได้เพิ่มเติมเนื้อหาบทเพิ่มขึ้น เช่นไปเจอเด็กผู้หญิงที่ชอบมายืนที่ทะเลแห่งหนึ่งที่ซานฟรานซิสโกเพราะเป็นมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งเชื่อมถึงประเทศไทยได้ โดยจะมาทุกครั้งที่คิดถึงประเทศไทย แต่จากการที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองในลอสแอนเจลิสย้ายที่ทำการทำให้วีซ่าของทีมงานหาย จำเป็นต้องเลื่อนกำหนดถ่ายทำไปอีกหนึ่งเดือน จากนั้นใช้เวลาถ่ายทำในซานฟรานซิสโกนานหนึ่งเดือน โดยก่อนหน้าเปิดกล้อง ยุทธนา มุกดาสนิทได้มาฝึกสอนการแสดงให้กับ จันจิรา จูแจ้ง ส่วนการใช้เสียงเล่าเหตุการณ์ที่นางเอกเขียนจดหมายไปถึงเพื่อนที่เมืองไทยอ่านนั้น ไม่ได้ใช้นักพากษ์เสียง แต่ใช้เสียงของจันจิรา เป็นสิ่งที่คนทำหนังรายอื่นไม่ทำกันในยุคนั้น เพราะกลัวพากษ์ไม่ดี และที่พิเศษคือ ได้อัดบรรยากาศเสียงกลับมาด้วย นอกจากนั้นยังถ่ายทำที่โรงถ่ายอัศวิน ซึ่งเป็นฉากภายในบ้านที่ถูกจัดแต่งขึ้นมาจากที่กำหนดไว้ว่าจะเสร็จภายใน 7 วันแต่เป็นว่าต้องถ่ายทั้งหมด 17 วัน ต่อมาสมจริง ศรีสุภาพ นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกด้วย นำแสดงโดยลลิตา ปัญโญภาส และสหรัถ สังคปรีชา ออกอากาศทาง ช่อง 3 เมื่อปี..

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและพริกขี้หนูกับหมูแฮม · ดูเพิ่มเติม »

พัดชา เอนกอายุวัฒน์

ัดชา เอนกอายุวัฒน์ (เกิด 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528) นักร้องไทยสากลหญิง นักแสดง และนักเขียนชาวไทย สังกัด ทรู แฟนเทเชีย เข้าสู่วงการบันเทิง เมื่อ พ.ศ. 2548 โดยได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากรายการ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2 มีผลงานในวงการบันเทิง เช่น ผลงานเพลง การแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ งานพรีเซนเตอร์ เป็นต้น โดยมีผลงานเพลงที่สร้างชื่อได้แก่ เพลง "เจ้าชายของฉัน", "DESTINY", "ช้าไปไหมเธอ", "ไม่เสียใ...ที่ได้รักเธอ" และ "ทนไม่พอ...รอไม่ไหว".

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและพัดชา เอนกอายุวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิง ลำพระเพลิง

ง ลำพระเพลิง คือฉายา หรือนามปากกาของ ภูพิงค์ พังสอาด นักเขียน นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้มีอารมณ์ขันแต่ชีวิตจริงของ พิง ทำมาแล้วหลายอย่าง ตั้งแต่คนนำเสียงปรบมือให้กับรายการเกมโชว์, นักแสดงละครใบ้ในฐานะปรัศนีย์ประจำรายการเกมโชว์, ฝ่ายอาร์ทในโรงงานขนม, เขียนบทภาพยนตร์-ละคร, ผู้กำกับการแสดง หรือแม้กระทั่งเป็นพนักงานล้างจานในประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและพิง ลำพระเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

งศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ชื่อเล่น: ปุ้ม) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ปุ้ม ตาวัน เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรี อดีตสมาชิกวงแมคอินทอชและวงตาวัน ในตำแหน่งมือคีย์บอร์ด และร้องนำ.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและพงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์สิทธิ์ คำภีร์

งษ์สิทธิ์ คำภีร์ ศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทย ที่ได้รับความนิยมในช่วงปี พ.ศ. 2534 และเริ่มรู้จักในวงกว้างมากขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2535 จากผลงานอัลบั้ม มาตามสัญญ.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและพงษ์สิทธิ์ คำภีร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา บุญอ้อม

ทธนา บุญอ้อม หรือเป็นที่รู้จักกันว่า ป๋าเต็ด เกิดวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2510 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เข้าศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่เรียนไม่จบเพราะมีปัญหาบางประการกับวิชาเอก ได้เข้าฝึกงานอยู่ที่แกรมมี่อยู่แผนกคอนเสิร์ต และเป็นจุดเริ่มต้นที่ได้ก้าวเข้าสู่นักจัดรายการวิทยุ หรือดีเจ เป็นนักจัดการรายการวิทยุคลื่น กรีนเวฟ และ ฮอตเวฟ เขาถือเป็นคนแรกที่คิดวิธียิงสปอตโฆษณาแบบใช้เกมสนุกๆ มาเล่นกับผู้ฟัง เป็นการโปรโมตสินค้าที่เจ้าของสปอนเซอร์นิยมชมชอบเป็นอย่างดี หลังจากนั้นออกจากค่ายแกรมมี่มาก่อตั้ง บริษัท คลิกเรดิโอ จำกัด มีคลื่นดังอย่าง แฟตเรดิโอ 104.5 นอกจากการบริหารคลื่นวิทยุ ยุทธนายังเคยทำหนังสือ DDT และเป็นหุ้นส่วนของโรงหนังเล็กๆ ชื่อ โรงภาพยนตร์เฮาส์ เคยเป็นกรรมการอำนวยการ บริษัท สนามหลวงการดนตรี จำกัด ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ปัจจุบันเป็นดีเจ คลื่น 89 chill fm ของ เอไทม์ มีเดีย และเป็นผู้บริหารบริษัท เกเร จำกัด ที่รับจัดงานแสดงดนตรี งานสำคัญของบริษัทได้แก่ บิ๊ก เมาท์เทน มิวสิก เฟสติวัล ทางด้านชีวิตส่วนตัวแต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน คือ นานา บุญอ้อม.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและยุทธนา บุญอ้อม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของต่าย อรทัย

ทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของต่าย อรทัย สำหรับบทความหลักดูที่ ต่าย อรทัย บทความนี้รวบรวมผลงานของต่าย อรทัย นักร้อง นักแสดง ชาวไทย สังกัดแกรมมี่ โกลด์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรายชื่อผลงานของต่าย อรทัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนามปากกา

นี่คือรายชื่อนามปากก.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรายชื่อนามปากกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รายพระนามและรายนามนักเรียนเก่าจากโรงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรายนามศิษย์เก่าโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิต

หน้านี้คือรายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลแด่คนช่างฝัน

้าของต้นฉบับเพลง รางวัลแด่คนช่างฝัน "รางวัลแด่คนช่างฝัน" เป็นบทเพลงที่มีความหมายให้กำลังใจ แต่งและร้องโดย จรัล มโนเพ็ชร เผยแพร่ครั้งแรกในอัลบั้ม เอื้องผึ้ง-จันผา ในนาม จรัล และ เดอะ แคนเดิล เมื่อปี พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรางวัลแด่คนช่างฝัน · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาบทละครโทรทัศน์ดีเด่น

;4 ครั้ง.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาบทละครโทรทัศน์ดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟดนตรี

รถไฟดนตรี ก่อตั้งในช่วง..

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและรถไฟดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ลูกทุ่งเอฟเอ็ม

ลูกทุ่ง เอฟ.เอ็ม. เป็นรายการวิทยุ เอฟ.เอ็ม.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและลูกทุ่งเอฟเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

สีสันอะวอร์ดส์

รางวัลสีสันอะวอร์ดส์ สีสันอะวอร์ดส์ เป็นรางวัลทางด้านดนตรีซึ่งจัดขึ้นโดยนิตยสารสีสัน ของคุณทิวา สาระจูฑะ โดยเริ่มมีการตัดสินจากผลงานเพลงไทยที่ออกในปี พ.ศ. 2531 ประกาศลงในนิตยสารสีสัน แล้วเชิญศิลปินผู้ได้รับโล่รางวัลมารับที่สำนักงานในช่วงต้นปี 2532 ถัดมาในปี 2532 เริ่มมีการจัดงานมอบรางวัลที่ห้องอาหาร Ana House ซอยสุขุมวิท 27 โดยครั้งนี้เริ่มมีสื่อมวลชนให้ความสนใจติดตามทำข่าวและสัมภาษณ์ศิลปินจำนวนหนึ่ง และในครั้งที่ 3 ได้จัดขึ้นที่ห้องอาหาร ร่องผัก ในซอยสุขุมวิท 23 สีสันอะวอร์ดส์ กลายเป็นรางวัลสาธารณะเมื่อครั้งที่ 4 ในปี พ.ศ. 2534 จัดที่โรงแรม Jade Pavillian ซอยสุขุมวิท 22 มีสื่อมวลชนหลายแขนงได้ส่งเจ้าหน้าที่มาทำข่าวเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวาง ก่อนจะย้ายสถานที่มอบรางวัลไปโรงแรมต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกับสำนักงานของนิตยสารสีสันในอีก 3-4 ครั้ง และย้ายไปที่ โรงแรมทาวน์อินทาวน์ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีหลักเกณฑ์กติกาที่ปรับปรุงให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของยุคสมัยอยู่เสมอ และพิจารณาผลงานอย่างกว้างขวาง นอกจากนั้นในงานมอบรางวัลยังเป็นการรวมศิลปินเพลงจากทุกสังกัด ทุกแนวดนตรี มาชุมนุมในที่เดียวกัน และบางครั้งจะขึ้นเวทีแสดงดนตรีร่วมกัน.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและสีสันอะวอร์ดส์ · ดูเพิ่มเติม »

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง เป็น นักร้อง, นักการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขาเคยเข้าร่วมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเป็นอดีตแกนนำ นป.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง · ดูเพิ่มเติม »

อิ่มอุ่น

"อิ่มอุ่น" เป็นบทเพลงที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของแม่ที่มีต่อลูก แต่งโดย ศุ บุญเลี้ยง และเป็นเพลงที่สร้างชื่อเสียงให้กับผู้แต่ง จนมีการขับร้องต่อโดยศิลปินนักร้องในแนวเพลงต่าง ๆ ด้วยรูปแบบต่าง.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและอิ่มอุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อื่น ๆ อีกมากมาย

อื่น ๆ อีกมากมาย เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 2 ของ เฉลียง ออกวางแผงครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 กับ ครีเอเทีย อาร์ติสต์ ซึ่งที่มาของอัลบั้มชุดนี้เกิดจากการที่ ศุ บุญเลี้ยง หนึ่งในสมาชิกของวงได้ฟังเพลง เที่ยวละไม จากอัลบั้มชุดแรก ปรากฏการณ์ฝน เกิดชอบใจจึงติดต่อ ประภาส ชลศรานนท์ ว่าขอนำเพลงนี้มาร้องในอัลบั้มเดี่ยวของตัวเอง ซึ่งประภาสก็ตกลงแต่พอทำดนตรีแล้ว ประภาสกลับเห็นว่ายังใช้ไม่ได้จึงติดต่อ เจี๊ยบ-วัชระ ปานเอี่ยม และดี้-นิติพงษ์ ห่อนาค สองสมาชิกจากเฉลียงยุคแรกให้กลับมาทำงานเพลงอีกครั้ง ต่อมาประภาสได้ชักชวนแต๋ง-ภูษิต ไล้ทอง และเกี๊ยง-เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ เข้ามาร่วมวง ทำให้วงเฉลียงยุคที่ 2 มีสมาชิกครบ 5 คน เพลงในอัมบั้มที่ทำเป็นมิวสิควีดีโอ ได้แก่ กล้วยไข่, เข้าใจ, เที่ยวละไม และ อื่น ๆ อีกมากมาย กำกับมิวสิควีดีโอโดย จิระ มะลิกุล โดยมิวสิควีดีโอเพลง เข้าใจ ถ่ายทำที่หอศิลป์เจ้าฟ้า โดยมีแต๋ง ภูษิต เป็นพระเอก เมื่ออัลบั้มนี้ได้ออกวางแผงก็ขายดิบขายดีอย่างล้นหลาม ส่งผลให้สามารถติดอันดับ 3 ของนิตยสารวัยฝัน จากการจัดอันดับ 10 อัลบั้มเพลงเด่นในปี พ.ศ. 2529 และในวันแจกโปสเตอร์อัลบั้มชุดนี้ มีแฟนเพลงมารอรับกันที่หน้าบริษัท ครีเอเทีย อาร์ติสต์ กันนับ ๆ หลายพันคน จนกระทั่งต้องปิดซอยแจกโปสเตอร์ และวงเฉลียงยังเป็นวงแรกของไทยที่จัดคอนเสิร์ตเปิด-ปิดอัลบั้ม ในชื่อ คอนเสิร์ตปิดอัลบั้ม อื่น ๆ อีกมากมาย อีกด้ว.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและอื่น ๆ อีกมากมาย · ดูเพิ่มเติม »

ผูกใจ (อัลบั้ม)

"ผูกใจ" เป็น อัลบั้มรวมเพลงที่ได้ประพันธ์โดย "ฉัตรชัย ดุริยประณีต" หรือ นก วงเฉลียง จำนวน 5 เพลง ซึ่งเพลงทั้งหมดเป็นเพลงที่ใช้แสดงใน คอนเสิร์ต "เพลงรักยุคคีตา โดย นกเฉลียง" ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย อัลบั้มนี้ได้วางจำหน่ายพิเศษ เฉพาะบริเวณหน้าคอนเสิร์ตเท่านั้น มีจำนวนจำกัดเพียง 2,000 แผ่น โดยเพลงในอัลบั้มนี้ได้รับการถ่ายทอดจากศิลปินคุณภาพระดับตำนาน ได้แก่ 3 สมาชิกจากวง"เฉลียง" "นก - ฉัตรชัย ดุริยประณีต", "เกี๊ยง - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์" และ "จุ้ย - ศุ บุญเลี้ยง" อีกทั้งได้ศิลปินคุณภาพหน้าใหม่ จากเวที "ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย" ซึ่งได้แก่ "พัดชา เอนกอายุวัฒน์ (พัดชา AF2)" และ "ณัฐ ศักดาทร (นัท AF4)" และในอัลบั้มนี้มีเพลงพิเศษเพลงหนึ่งที่ได้แต่งขึ้นมาใหม่ สำหรับคอนเสิร์ตครั้งนี้ ชื่อเพลง "ผูกใจ".

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและผูกใจ (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12

‎ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ เพื่อค้นหานักร้องนักแสดงเข้าสู่วงการบันเทิง ในชุดทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยซีซั่นนี้ทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลัก โดยปีนี้เป็นปีที่ 3 ที่กำหนดอายุผู้สมัครที่ 15-30 ปี เช่นเดียวกับซีซั่นที่ 10 และ 11 เริ่มการแข่งขันระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน - 19 กันยายน พ.ศ. 2558 ออกอากาศ 12 สัปดาห์ โดยในซีซั่นนี้ การรับสมัครนักล่าฝันได้กลับมาใช้วิธีตระเวนรับสมัครแบบ 4 ภาค 4 จังหวัด (สงขลา, ขอนแก่น, เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ) เช่นเดียวกับซีซั่นที่ 1-9 หลังจากที่ในซีซั่นที่ 10 ใช้การรับสมัครแบบทุกจังหวัดทั่วประเทศ และซีซั่นที่ 11 ที่เปิดรับสมัครที่กรุงเทพมหานครที่เดียว โดยปีนี้ไม่มีการออดิชั่นในช่องทาง Online Audition และตัวแทนสถาบัน ซึ่งปีนี้มีคอนเซ็ปต์ในการออดิชั่นว่า ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร เปลี่ยนความฝันให้กลายเป็นความจริง และในซีซั่นนี้เป็นปีที่ 2 ที่จัดคอนเสิร์ตประจำสัปดาห์ในบริเวณบ้านพักของนักล่าฝัน ณ The Whizdom Studio ส่วนคอนเสิร์ตรอบชิงชนะเลิศของซีซั่นนี้ได้ย้ายสถานที่แสดงไปยังธันเดอร์โดม เมืองทองธานี ในซีซั่นนี้ได้เพิ่มความแปลกใหม่ให้กับการประกาศผล 12 นักล่าฝันตัวจริง โดยมีการเซอร์ไพรส์ถ่ายทำเป็นฉากให้นักล่าฝันตัวจริงเหล่านั้นได้ทราบผล โดยทะยอยประกาศผลวันละ 2 คน ผ่านทาง Facebook/afupdate, Twitter/afupdate และ Truevisions แล.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 เริ่มเข้าบ้านวันที่ 29 มิถุนายน 2552 มีจำนวนนักล่าฝัน 12 คน เป็น ชาย 5 คน หญิง 7 คน จากออดิชั่นสด 10 คนและจาก ออนไลน์ 2 คน ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่นักล่าฝันเริ่มต้นมีจำนวนเท่าเดิมคือ 12 คน หลังจากในซีซั่นที่ 3, 4 และ 5 มีนักล่าฝันเริ่มต้นมากกว่า 12 คน.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ขวานไทยใจหนึ่งเดียว

วานไทยใจหนึ่งเดียว เป็นเพลงที่แต่งโดยยืนยง โอภากุล (แอ๊ด คาราบาว) ขับร้องบันทึกเสียงโดยกลุ่มศิลปินนักร้องชาวไทยกว่า 40 ชีวิต โดยเป็นซิงเกิลการกุศลในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งมีเนื้อหาปลุกจิตสำนึกให้คนไทยมีความรักสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จากความต้องการที่จะแสดงออกถึงความห่วงใยต่อสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและขวานไทยใจหนึ่งเดียว · ดูเพิ่มเติม »

ขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติ

อชื่อ สุธี สามสี่ชาติ เป็นชื่อหนังสือที่แต่งโดย "ประภาส ชลศรานนท์" ตีพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักศิษย์สะดือ ในปี พ.ศ. 2530 เป็นหนังสือประเภทอ่านเล่น สนุก ขบขัน ต่อมามีการนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดย เจดีย์ ศุภกาญจน์ เกรียงไกร อมาตยกุล เกียรติ กิจเจริญ และ วัชระ ปานเอี่ยม ออกฉายในปี พ.ศ. 2532.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ดวลวาทะ The Arena Thailand

วลวาทะ The Arena Thailand เป็นรายการแข่งขันดวลวาทะในระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ตามหัวข้อที่กำหนดในแต่ละสัปดาห์ เพื่อให้แต่ละทีมได้ไหวพริบ การเสนอประเด็น ฝึกทักษะการเปลี่ยนความคิดเป็นวาทะ และการเปลี่ยนการฟังเป็นการรับข้อมูล ผลิตรายการโดย โต๊ะกลมโทรทัศน์ ในเครือเวิร์คพอยท์ ออกอากาศที่ไทยพีบีเอส โดยออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและดวลวาทะ The Arena Thailand · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย ดุริยประณีต

ฉัตรชัย ดุริยประณีต (8 ธันวาคม พ.ศ. 2505 -) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลงอิสระสมาชิกวงเฉลียง เป็นชาวกรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนประสาทวิทยา มัธยมที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จบการศึกษาปริญญาตรีจาก คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจากจบการศึกษานกทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ และแต่งเพลงเก็บไว้ โดยแต่งกลางธนาคาร ต่อมา ประภาส ชลศรานนท์ หนึ่งในผู้ก่อตั้ง บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ชักชวนให้ฉัตรชัยเข้าวงการหลังจากได้ฟังตัวอย่างเพลง ตัวสำรอง และ อีกนาน ที่ฉัตรชัยแต่งขึ้น ทำให้ได้ทำงานในทีมแต่งเพลงของบริษัท คีตา และได้เข้ามาเป็นสมาชิกอีกคนหนึ่งของเฉลียงหลังจากดี้ - นิติพงษ์ ห่อนาค และ ศุ บุญเลี้ยง ยุติบทบาทกับเฉลียงลง ฉัตรชัยขึ้นเวทีกับเฉลียงครั้งแรกในฟรีคอนเสิร์ตที่ เซ็นทรัลลาดพร้าว และมีผลงานอัลบั้มกับเฉลียงทั้งหมดสองชุดคือ แบ-กบาล และ ตะไคร่น้ำสุดขอบฟ้.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและฉัตรชัย ดุริยประณีต · ดูเพิ่มเติม »

แบ-กบาล

แบ-กบาล เป็นอัลบั้มชุดที่ 5 ของเฉลียงที่ออกวางแผงในปีพ.ศ. 2532 โดยในอัลบั้มนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนไลน์อัพของวงใหม่ เนื่องจาก ดี้ - นิติพงษ์ ห่อนาค หัวหน้าวง และ ศุ บุญเลี้ยง ได้ขอลาออกจากวงไป เจี๊ยบ - วัชระ ปานเอี่ยม จึงได้รับตำแหน่งหัวหน้าวงแทน ส่วนประภาส ชลศรานนท์ ก็ได้ชักชวน นก - ฉัตรชัย ดุริยประณีต อดีตพนักงานธนาคารซึ่งเคยส่งเดโมเทปมาให้ประภาสฟังโดยผ่าน ผุสชา โทณะวณิก เข้ามาร่วมวงในที่สุด โดยประภาสได้แต่งเพลง "ง่ายๆ" มาให้นกได้ร้อง และเพลง "ใจเย็นน้องชาย" ที่เจี๊ยบเป็นผู้ขับร้องและกำกับมิวสิกวิดีโอเองนั้นยังได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำประเภทเพลงและมิวสิกวิดีโอดีเด่นในตำแหน่งรองชนะเลิศอีกด้ว.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและแบ-กบาล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน เดิมคือโรงเรียนราชวิทยาลัย พระราชทานกำเนิดโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ก่อนจะถูกยุบรวมเป็นวชิราวุธวิทยาลัย ในสมัยรัชกาลที่ 7 และถูกฟื้นฟูใหม่อีกครั้งโดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระมหากรุณารับโรงเรียนไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญอักษรพระปรม.ป.ร. ประกอบกับในนามโรงเรียน และเสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประกอบพิธีเปิดโรงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

รงเรียนวัดนวลนรดิศ (Wat Nuannoradit School) อักษรย่อ (น.ด.) เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เดิมเป็นประเภทนักเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณวัดนวลนรดิศ เลขที่ 137 ซอยเพชรเกษม 19 แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์

กียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ (30 มกราคม พ.ศ. 2506 -) เป็นหนึ่งในสมาชิกวงดนตรีเฉลียง ซึ่งได้เคยแสดงคอนเสิร์ตถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในการกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกองทุนเฉลียง เพื่อมอบทุนสนับสนุนกิจกรรมการศึกษาสำหรับเด็ก.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเกิด...ที่เฉลียง

หตุเก...ที่เฉลียง คือชื่อการแสดงคอนเสิร์ตของวงเฉลียง แสดงที่อิมแพค อารีนา เมืองทองธานี ในวันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน 2550 สองรอบในเวลา 13.00 น. และ 19.00 น. มีความยาวประมาณ 4 ชั่วโมง มีจุดประสงค์เพื่อหารายได้ให้กับสมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสนับสนุนด้านการศึกษาของคณะ ภายใต้นิยาม "ดนตรีบำบัด ถาปัดจัด เฉลียงโชว์".

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเหตุเกิด...ที่เฉลียง · ดูเพิ่มเติม »

เอกเขนก

อกเขนก เป็นอัลบั้มชุดที่ 3 ของวงเฉลียง ออกวางจำหน่ายในต้นปี พ.ศ. 2530 กับค่ายคีตาแผ่นเสียงและเทป (ต่อมาคือคีตา เรคคอร์ดสและคีตา เอนเตอร์เทนเมนท์) ในอัลบั้มนี้สมาชิกวงเฉลียงได้ฝากฝีมือเพลงในอัลบั้มชุดนี้กันทุกคน เช่น แต๋ง - ภูษิต ไล้ทอง ได้ประพันธ์เพลงและบรรเลงเดี่ยวใน ผึ่งพุง, ศุ บุญเลี้ยงเขียนเพลง แค่มี, เจี๊ยบ - วัชระ ปานเอี่ยม เขียนเพลง ไม่เข้าใจ, ดี้ - นิติพงษ์ ห่อนาค ได้แต่งทั้งเนื้อร้องและทำนองถึง 2 เพลงคือ พระจันทร์ และ ค่ำคืนฉันยืน นอกจากนั้นดี้ยังได้ขับร้องเพลงอัลบั้มนี้เป็นอัลบั้มแรกคือ นายไข่เจียว และสมาชิกทุกคนในวงเฉลียงรวมทั้งเกี๊ยง - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ ได้ร่วมกันแต่งเพลง เพลงที่เหลือ ไว้ในอัลบั้มนี้ร่วมกับ ประภาส ชลศรานนท์ และทรงวุฒิ จรูญเรืองฤทธิ์ด้วย เพลง เร่ขายฝัน ที่ถูกทำเป็นมิวสิกวีดีโอยาว 9 นาที โดยประภาส ชลศรานนท์ ทำหน้าที่เขียนบทและกำกับการแสดงมิวสิกวิดีโอเพลงนี้เอง และได้รับรางวัลมิวสิกวิดีโอยอดเยี่ยมจากสมาคมผู้กำกับศิลป์กรุงเทพฯ (B.A.D. Awards) ประจำปี 2530 และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประจำปี 2530 พร้อมทั้งปกอัลบั้มได้รับรางวัลจากสมาคมผู้กำกับศิลป์กรุงเทพฯเช่นเดียวกัน ซึ่งออกแบบปกโดย พิเศษ ไทยานันท์, เติมพันธุ์ มัทวพันธุ์และเต๋า อิลลัสเตรชั่นเฮ้.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเอกเขนก · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มสแควร์

อ็มสแควร์ เป็นชื่อค่ายเพลงไทยค่ายหนึ่งในอดีต ก่อตั้งขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2537 โดย ยุวดี บุญครอง, โฆษิต สุวินิจจิต แห่งบริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน) และได้ วิทยา ศุภพรโอภาส อดีตผู้บริหารค่ายนิธิทัศน์ มาร่วมบริหารงานในระยะต่อมา เพื่อขยายงานภายในบริษัทของตนเองโดยใช้สื่อเสียงเพลง อาศัยการผลิตและการโปรโมทผ่านทางสื่อต่างๆ โดยได้รับผลิตผลงานเพลงให้กับศิลปินนักร้องที่มีชื่อเสียงและแจ้งเกิดไว้หลายคน อาทิ พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, แบล็คเฮด, ดนุพล แก้วกาญจน์, ศิริพร อยู่ยอด เป็นต้น แต่ดำเนินงานได้เพียง 3 ปีเศษก็มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ โดยแบ่งเป็นค่ายเพลงต่างๆ ในเครือ และได้เปลี่ยนชื่อจากค่ายเอ็มสแควร์เป็นกลุ่ม "MMG" (Media Music Group) ขณะที่ วิทยา หนึ่งในผู้บริหารได้แยกตัวไปก่อตั้งคลื่นวิทยุเพลงลูกทุ่งระบบเอฟเอ็มแห่งแรกของไทยในนาม "ลูกทุ่งเอฟเอ็ม" กิจการของ MMG ยังคงดำเนินต่อไปจนถึงคราวยุติบทบาทลง.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเอ็มสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียง (วงดนตรี)

ฉลียง เป็นชื่อของวงดนตรีไทย ที่มีผลงานระหว่างปี..

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเฉลียง (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียงหลังบ้าน

ฉลียงหลังบ้าน เป็นอัลบั้มชุดที่ 4 ของวงเฉลียง ออกวางแผงในปลายปี พ.ศ. 2530 ในสังกัด คีตาแผ่นเสียงและเทป โดยในอัลบั้มชุดนี้เป็นการรวบรวมเพลงไม่ค่อยดังจากอัลบั้มก่อน ๆ (อัลบั้ม ปรากฏการณ์ฝน) ของวงมาใส่ไว้ในอัลบั้มนี้ มักเรียกกันเล่นๆว่า เฉลียงรวมเพลงไม่ฮิต และประภาส ชลศรานนท์ ได้แต่งเพลงใหม่เพิ่มเข้ามาในอัลบั้มนี้หลายเพลง และเป็นอัลบั้มชุดสุดท้ายของยุคคลาสสิกไลน์อัพเนื่องจากหลังจบอัลบั้มชุดนี้ ทั้งดี้ - นิติพงษ์ ห่อนาค และ ศุ บุญเลี้ยง ได้ขอลาออกจากวงอย่างเงียบๆ ท่ามกลางความกังขาของแฟนเพลง.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและเฉลียงหลังบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศุ บุญเลี้ยงและ4 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »