โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศิลปศาสตร์

ดัชนี ศิลปศาสตร์

ลปศาสตร์ทั้ง 7 – ภาพจาก Hortus deliciarum ของ Herrad von Landsberg (คริสต์ศตวรรษที่ 12) ศิลปศาสตร์ (Liberal arts) หมายถึง การศึกษาที่มุ่งจะให้ความรู้ทั่วไป และทักษาเชิงปัญญา มิใช่วิชาชีพเฉพาะด้าน หรือความทักษะเชิงช่าง เดิมนั้น คำว่า "ศิลปศาสตร์" เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต (ศิลฺป + ศาสฺตฺร) หมายถึง วิชาความรู้ทั้งปวง ในภายหลังใช้ในความหมายเดียวกับ Liberal Arts ในภาษาอังกฤษ ดังระบุคำนิยามไว้ข้างต้น ในประวัติศาสตร์การศึกษาของตะวันตกนั้น ศิลปศาสตร์ 7 อย่าง อาจจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ไตรศิลปศาสตร์ (trivium) และ จตุรศิลปศาสตร์ (quadrivium) การศึกษาในกลุ่ม ไตรศิลปศาสตร์ ประกอบด้วย 3 สาขาวิชา ได้แก่ ไวยากรณ์ ตรรกศาสตร์ และวาทศาสตร์ (rhetoric) ส่วนการศึกษากลุ่ม จตุรศิลปศาสตร์ ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา ได้แก่ เลขคณิต เรขาคณิต ดนตรี และดาราศาสตร์) ศิลปศาสตร์นั้นถือเป็นหลักสูตรแกนของมหาวิทยาลัยสมัยกลาง คำว่า liberal ในคำว่า liberal arts นั้น มาจากศัพท์ภาษาละตินว่า liberalis หมายถึง "เหมาะแก่เสรีชน" (ชนชั้นสูงด้านสังคมและการเมือง) ซึ่งตรงกันข้ามกันศิลปะการรับใช้หรือบริการ (servile arts) ในเบื้องต้นคำว่าศิลปศาสตร์ในแนวคิดของตะวันตก จึงเป็นตัวแทนของทักษะและความรู้ทั่วไป ที่จำเป็นต้องใช้ในหมู่ชนชั้นสูงในสังคม ขณะที่ศิลปะบริการนั้น เป็นตัวแทนของความรู้และทักษะของพ่อค้าผู้เชี่ยวชาญ ที่จำเป็นต้องรู้ในหมู่ผู้รับใช้ชนชั้นสูง หรือขุนนาง.

57 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2523พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระสันตะปาปาหญิงโจนภาพยนตร์ศึกษามหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิกมหาวิทยาลัยกลาสโกว์มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตตมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมหาวิทยาลัยฮาวายมหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยปาร์มามหาวิทยาลัยนอร์วิชมหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อมหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถมหาวิทยาลัยเดอโปลมนุษยศาสตร์มนตรี ตราโมทรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รายชื่อคณะมนุษยศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อตัวละครในลักกีสตาร์วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลศิลปศาสตรบัณฑิตศิลปะการอแล็งเฌียงสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์สลา คุณวุฒิสาวิกา กาญจนมาศสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อัสสมาจารย์นิยมอันดับมหาวิทยาลัยไทยอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาฮิวจ์ เฮฟเนอร์จักษ์ พันธ์ชูเพชรจตุรศิลปศาสตร์ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์คัทลียา แมคอินทอชคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต้นสมัยกลางปรัชญาดุษฎีบัณฑิตโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา...โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์โรเบิร์ต ฟลอยด์เวลาเผ่าทอง ทองเจือเจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะเดอะนิวสคูล1 ธันวาคม ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปาหญิงโจน

ระสันตะปาปาหญิงโจน พระสันตะปาปาหญิงโจน (Pope Joan) เป็นพระสันตะปาปาหญิงในตำนานผู้ซึ่งมีการอ้างว่าดำรงตำแหน่งอยู่ช่วงหนึ่งในยุคกลาง เรื่องเล่านี้ปรากฏครั้งแรกในจดหมายเหตุคริสต์ศตวรรษที่ 13 และภายหลังได้แพร่หลายและมีการเล่าต่อเติมทั่วทวีปยุโรป เรื่องนี้เป็นที่เชื่อกันอย่างกว้างขวางอยู่หลายศตวรรษ แม้นักวิชาการศาสนาสมัยใหม่มองว่าเป็นเรื่องแต่ง ซึ่งบางทีอาจกลายมาจากคติชาวบ้านที่ถูกบันทึกอย่างประวัติศาสตร์เกี่ยวข้องกับอนุสาวรีย์โรมันหรือจากการเสียดสีต่อต้านพระสันตะปาปา การกล่าวถึงพระสันตะปาปาหญิงครั้งแรกปรากฏในจดหมายเหตุของ Jean Pierier de Mailly แต่ฉบับที่ได้รับความนิยมและมีอิทธิพลสูงสุด คือ ฉบับที่แทรกเข้าไปใน Chronicon Pontificum et Imperatorum ของ Martin of Troppau ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 เรื่องเล่าส่วนใหญ่อธิบายเธอว่าเป็นหญิงมีความสามารถและมีการศึกษาที่ปลอมแปลงตนเป็นชาย ซึ่งบ่อยครั้งด้วยคำขอของคนรัก ในเรื่องที่เล่ากันมากที่สุด เนื่องจากความสามารถของเธอ เธอจึงไต่เต้าขึ้นผ่านลำดับชั้นของศาสนจักร กระทั่งได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาในท้ายที่สุด อย่างไรก็ดี ระหว่างขี่บนหลังม้า เธอได้ให้กำเนิดลูก และได้เปิดเผยเพศของเธอ ในเรื่องส่วนใหญ่เธอเสียชีวิตไม่นานหลังจากนั้น โดยอาจถูกสังหารโดยฝูงชนโกรธแค้นหรือจากสาเหตุธรรมชาติ ความทรงจำเกี่ยวกับเธอถูกบ่ายเบี่ยงไปโดยพระสันตะปาปาคนต่อ ๆ ม.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และพระสันตะปาปาหญิงโจน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ศึกษา

ห้องฉายภาพยนตร์ ที่มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ วอชิงตัน ดี.ซี. ภาพยนตร์ศึกษา เป็นสาขาวิชาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์ของภาพยนตร์ และวิธีวิพากษ์ภาพยนตร์ บางครั้งก็เป็นส่วนหนึ่งในสื่อมวลชนศึกษา (Media studies) และมักถูกเปรียบเทียบได้กับสาขาโทรทัศน์ศึกษา ภาพยนตร์ศึกษาจะไม่เกี่ยวข้องกับความเชี่ยวชาญทางด้านการผลิตภาพยนตร์มากนัก แต่เน้นทางด้านการสำรวจการเล่าเรื่อง (narrative) เชิงศิลปะ วัฒนธรรม ทางด้านเศรษฐกิจ และผลกระทบทางการเมืองต่อวงการภาพยนตร์ ในมุมมองของแสวงหาค่านิยมทางสังคมและอุดมการณ์ ภาพยนตร์ศึกษาจะใช้วิธีเชิงวิพากษ์สำหรับการวืเคราะห์การผลิต กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี บริบทและการสร้างภาพยนตร์ ในแง่นี้ภาพยนตร์ศึกษามีอยู่ในสาขาที่ผู้สอนมักไม่เป็นนักการศึกษาหรืออาจารย์หลักเสมอไป แต่จะเป็นผลงานภาพยนตร์ที่สำคัญของบุคคลจะทำหน้าที่ดังกล่าว นอกจากนี้ในการศึกษาภาพยนตร์ สายอาชีพที่เป็นไปได้ ได้แก่ นักวิจารณ์หรือทางด้านการผลิตภาพยนตร์ ทฤษฎีภาพยนตร์มักจะรวมถึงการศึกษาความขัดแย้งระหว่างสุนทรียศาสตร์ของงานฮอลลีวูดเชิงภาพและการวิเคราะห์เนื้อหาบทภาพยนตร์ โดยรวมการศึกษาในด้านภาพยนตร์กำลังเติบโตเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ วารสารวิชาการที่เผยแพร่ผลงานภาพยนตร์ศึกษา ได้แก่วารสาร Sight & Sound (สถาบันภาพยนตร์อังกฤษ), Screen (มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด), Cinema Journal (มหาวิทยาลัยเทกซัส), Film Quarterly (มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย) และ Journal of Film and Video (มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์).

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และภาพยนตร์ศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก

ลานมหาวิทยาลัย Cattolica '''มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก''' หรือ มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งมิลาน (Università Cattolica del Sacro Cuore หรือ Università Cattolica di Milano; Catholic University of the Sacred Heart หรือ Catholic University of Milan; ชื่อย่อ: Cattolica หรือ UNICATT หรือ UCSC) โดยทั่วไปถูกเรียกสั้นๆว่า Cattolica (การออกเสียง อังกฤษ: katˈtɔlika; ไทย: กัตโตลีกา) วิทยาเขตหลักตั้งอยู่ในเมืองมิลาน แคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (อังกฤษ: The University of Glasgow; ละติน: Universitatis Glasguensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451 เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในสามมหาวิทยาลัยในเมืองกลาสโกว์ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสก็อตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ถูกก่อตั้งขึ้นอาณัติจากพระสันตปาปานิโคลัสที่ห้าโดยพระประสงค์ของพระเจ้าเจมส์ที่สอง เพื่อให้สก็อตแลนด์มีมหาวิทยาลัยสองแห่งเช่นเดียวกันกับอังกฤษที่มีอ็อกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ ซึ่งทำให้กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดอันดับสี่ในสหราชอาณาจักร และยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากเป็นอันดับสี่ในบริเทนรองจากอ็อกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และเอดินเบอระ อีกด้วย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นมีสัดส่วนนักเรียนต่างชาติค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ โดยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นคนในกลาสโกว์เอง อีก 40% เป็นนักเรียนจากเมืองต่างๆภายใน UK มีเพียงประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากต่างชาติ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของ UK มาหลายศตวรรษ เช่นเดียวกับเอดินเบอระและเซนต์แอนดรูส์ กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกใน UK ที่ก่อตั้งภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยนอกเขตลอนดอนที่มีคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เมืองกลาสโกว์นั้นมีอัตราส่วนวิศวกรต่อประชากรสูงมากเป็นอันดับสามของโลก มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ได้ให้กำเนิดนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกเป็นจำนวนมาก อาทิ ลอร์ดเคลวิน – หนึ่งในผู้พัฒนากฎข้อสองของเทอร์โมไดนามิคส์ และภายหลังได้รับเกียรติให้นำชื่อไปให้เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิเคลวิน เจมส์ วัตต์ – ผู้พัฒนากลจักรไอน้ำจนก่อให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักร จอห์น โลกี แบรด – ผู้ประดิษฐ์โทรทัศน์ โจเซฟ ลิสเตอร์ – หนึ่งในผู้ริเริ่มการผ่าตัดแบบสมัยใหม่ และ โจเซฟ แบลค – นักเคมีที่มีผลงานมากมายรวมไปถึงการค้นพบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ยังมีชื่อเสียงทางด้านสังคมศาสตร์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านวิศวกรรมศาสตร์เลยแม้แต่น้อย กลาสโกว์นั้นถือได้ว่าเป็นจุดกำเนิดของยุคแสงสว่างอย่างแท้จริง ศาสตราจารย์ฟรานซิส ฮัทชิสัน แห่งมหาวิทยาลัยกลาสโกว์เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utilitarian principle) ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฎีพื้นฐานภายใต้เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics) อดัม สมิธ ศิษย์เก่าที่โด่งดังที่สุดของมหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้ผสมผสานทฤษฎีนี้ผนวกกับแนวคิดของเดวิด ฮูม (นักปรัชญาชาวเอดินเบอระ) ก่อให้เกิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ เศรษฐศาสตร์การเมือง และทฤษฎีการค้าเสรี ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอย่างมหาศาลมาจนถึงยุคปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต

ในมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต (Michigan State University, MSU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐตั้งอยู่ที่เมืองอีสต์แลนซิง ใน รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา และเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในด้านเกษตรกรรมของสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตตมีชื่อเสียงในด้านเกษตรศาสตร์และศิลปศาสตร์ ทีมกีฬาในมหาวิทยาลัยชื่อทีมว่า สปาร์ตันส์ แข่งขันในลีกของบิ๊กเทนสำหรับทุกกีฬายกเว้นฮอกกีน้ำแข็ง ทีมกีฬาที่ได้รับรางวัลได้แก่ทีมอเมริกันฟุตบอล แข่งชนะในโรสโบวลส์ ในปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ศูนย์หาดใหญ่ หรือศูนย์อรรถกระวีสุนทร (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ในปัจจุบัน) ศูนย์ทาง วิทยาเขตหาดใหญ่ เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาเฉพาะ และปัจจุบันได้สอนทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ในบางสาขาอีกด้วย และเป็นที่ตั้งกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วยหน่วยงานสำคัญ คือ สำนักงานอธิการบดี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลทันตกรรม สำนักงานวิจัยและพัฒนา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โรงเรียนม.อ.วิทยานุสรณ์ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เป็นต้น.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ม.อบ.) (Ubon Ratchathani University) "ภูมิปัญญาแห่งภูมิภาคลุ่มน้ำโขง" เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่จัดตั้งในพื้นที่ของจังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2530 โดยจัดตั้งเป็น วิทยาลัยอุบลราชธานี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น และยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2533 จากความพยายามที่จะให้มีมหาวิทยาลัยในจังหวัดอุบลราชธานีของทุกฝ่าย รวมทั้งประชาชนในจังหวัดและมีจุดมุ่งหมายที่จะให้เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งที่สองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปัจจุบันนี้มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นศูนย์กลางของการศึกษาและการค้นคว้าวิจัยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาวาย

The Royal Sala Thai John A. Burns School of Medicine UH 88 - Telescope มหาวิทยาลัยฮาวาย (University of Hawaii at Manoa) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐประจำรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1907 ทางมหาวิทยาลัยเปิดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกและปริญญาอาชีพในหลากหลายสาขา อาทิ แพทยศาสตร์, กฎหมาย, สถาปัตยกรรมศาสตร์, ศิลปศาสตร์, มานุษยวิทยา, การจัดการ, เศรษฐศาสตร์, ศึกษาศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์, รัฐศาสตร์, วรรณกรรม, ภาษาศาสตร์, วิทยาศาสตร์, การเกษตร, สังคมศาสตร์, สาธารณสุข และเภสัชศาสตร์ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฮาวาย มีนักศึกษารวมทุกวิทยาเขตประมาณ 35,000คน โดยที่วิทยาเขตมานัว (Manoa) มีนักศึกษาประมาณ 20,000 คน.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปาร์มา

มหาวิทยาลัยปาร์มา (Università degli Studi di Parma; University of Parma) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตั้งอยู่ที่เมืองปาร์มา ประเทศอิตาลี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน มหาวิทยาลัยปาร์มา ประกอบด้วย 12 คณะ ได้แก.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอร์วิช

มหาวิทยาลัยนอร์วิช (Norwich University; NU) เป็นมหาวิทยาลัยการทหารเอกชน ที่ตั้งอยู่ในเมือง นอร์ธฟิลด์ รัฐ เวอร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยนอร์วิช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ

มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ (國立政治大學; National Chengchi University, National University of Governance; อักษรย่อ: NCCU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่มณฑลเวินซาน กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน มหาวิทยาลัยนี้เป็นที่รู้จักกันดีในความเข้มข้นของหลักสูตรสังคมศาสตร์, กฎหมาย, พาณิชย์, การสื่อสาร, ศิลปศาสตร์ และบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 ในชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (Rajamangala University of Technology Lanna) เป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐ ได้รับการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขต ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยชื่อ "ราชมงคล" นั้น ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2533 พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ "พระมหาพิชัยมงกุฎ" และ "พระราชลัญจกร" ประจำพระองค์ ให้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภูมิภาคภาคเหนือของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอน 4 ระดับ คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนหรือธันวาคมเป็นประจำทุกปี.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-Ok: Chakrabongse Bhuvanarth Campus)เป็นวิทยาเขตหนึ่งที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเน้นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านบริหารธุรกิจ การบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อย่างมีคุณภาพสามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 122 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเดอโปล

มหาวิทยาลัยเดอโปล ('''DePaul University'''.) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองลินคอน ปาร์ค และเมืองชิคาโก ในรัฐอิลลินอยส์ มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยเดอโปล · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะมนุษยศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และอักษรศาสตร์ เช่น วิชาด้านภาษา ภาษาศาสตร์ วรรณกรรม วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา และจิตวิทยา เป็นต้น.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และรายชื่อคณะมนุษยศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในลักกีสตาร์

ทความนี้เป็นบทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับรายชื่อตัวละครใน มังงะ, วิดีโอเกม และ อะนิเมะ จากญี่ปุ่น เรื่อง ลักกี้☆สตาร.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และรายชื่อตัวละครในลักกีสตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นวิทยาลัยนานาชาติของมหาวิทยาลัยรัฐแห่งแรกของประเทศไทย มีผู้จบการศึกษารุ่นแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะการอแล็งเฌียง

ลวิส ศิลปะการอแล็งเฌียง (art carolingien) เป็นศิลปะที่มาจากจักรวรรดิแฟรงก์ในช่วงเวลาราว 120 ปี ราวระหว่าง ค.ศ. 780 จนถึง ค.ศ. 900 — ในรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญและทายาทที่สืบครองทันทีหลังจากพระองค์ — สมัยนี้นิยมเรียกกันว่าเป็น "สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการอแล็งเฌียง" ศิลปะการอแล็งเฌียงสร้างโดยศิลปินของราชสำนักที่สร้างงานให้กับราชสำนัก และโดยสำนักสงฆ์สำคัญ ๆ ที่อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของพระมหาจักรพรรดิ ครั้งนี้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของที่ยุโรปเหนือในการฟื้นฟูและเลียนแบบงานศิลปะคลาสสิกของเมดิเตอร์เรเนียนทั้งทางรูปแบบและลักษณะ ที่กลายมาเป็นการผสานองค์ประกอบของศิลปะคลาสสิกเข้ากับศิลปะของทางตอนเหนือของยุโรปในรูปแบบของงานที่เป็นสง่าและตระการตา (sumptuous) โดยเฉพาะอิทธิพลในการสร้างรูปลักษณ์ของมนุษย์ ที่เป็นการวางรากฐานให้แก่ศิลปะโรมาเนสก์ที่ตามมา และต่อมาศิลปะกอทิกในยุโรปตะวันตก สมัยการอแล็งเฌียงเป็นส่วนหนึ่งของสมัยประวัติศาสตร์ศิลปะของศิลปะสมัยกลางที่เรียกว่า "ศิลปะยุคก่อนโรมาเนสก์".

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และศิลปะการอแล็งเฌียง · ดูเพิ่มเติม »

สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์

มสมาคม หอประชุม สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สลา คุณวุฒิ

ลา คุณวุฒิ หรือ ครูโบ้ นักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่งอีสาน โปรดิวเซอร์เพลง และนักร้องเพลงลูกทุ่งชายไทย ในสังกัดค่าย แกรมมี่โกลด์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ปัจจุบันเป็นคณะกรรมการของรายการ ศึกวันดวลเพลง ออกอากาศทางช่องวัน 31.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และสลา คุณวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

สาวิกา กาญจนมาศ

วิกา กาญจนมาศ เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2524 เป็น นักแสดงชาวไทย สำเร็จการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ เอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันทำงานเป็น แอร์โฮสเตส โดยเริ่มจากสายการบินวันทูโก ปัจจุบันอยู่สายการบินนกแอร.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และสาวิกา กาญจนมาศ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสสมาจารย์นิยม

การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อัสสมาจารย์นิยม (Scholasticism) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยในยุโรปสมัยกลาง (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนในอารามคริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ และเทววิทยาde Ridder-Symoens 1992, pp.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และอัสสมาจารย์นิยม · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมหาวิทยาลัยไทย

อันดับมหาวิทยาลัยไทยจากมุมมองของนานาชาติหลากหลายสำนัก สามารถทำให้เห็นภาพรวมและศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทยในสังคมโลกยุคปัจจุบัน ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเพื่อให้ทัดเทียมนานาอารยประเท.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และอันดับมหาวิทยาลัยไทย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ในการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยรัฐ โดยมีมหาวิทยาลัยเข้าร่วม 50 มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยเดียวที่เข้าร่วมแต่เสนอว่าไม่ต้องการอยู่ในอันดับ และมหาวิทยาลัยเอกชนไม่ได้ร่วมด้วยเนื่องจากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยแจ้งว่ายังไม่ให้ข้อมูลในปีนั้น การจัดอันดับนี้ใช้ชื่อว่า "โครงการฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อประเมินศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทย" ได้แบ่งหัวข้อการจัดอันดับออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ ด้านการวิจัย และ ด้านการเรียนการสอน ได้จัดทำออกเป็น 2 ส่วนย่อยคือ อันดับในภาพรวมแบ่งแยกตามมหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็นกลุ่ม และอันดับแบ่งแยกย่อยในแต่ละสาขาวิชา โดยแบ่งออกเป็น 7 สาขาวิชาย่อย ได้แก่ (1) สาขาวิทยาศาสตร์ (2) สาขาเทคโนโลยี (3) สาขาชีวการแพทย์ (4) สาขามานุษยวิทยาและศิลปกรรมศาสตร์ (5) สาขาสังคมศาสตร์ (6) สาขาเกษตร (7) สาขาศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวจ์ เฮฟเนอร์

ว์ เฮฟเนอร์ ในปี พ.ศ. 2522 ฮิวจ์ มาร์ซัน เฮฟเนอร์ (Hugh Marston Hefner) เกิดเมื่อวันที่ (9 เมษายน ค.ศ. 1926)-(27 กันยายน ค.ศ. 2017) รู้จักกันดีในชื่อว่า เฮฟ เป็นผู้ก่อตั้ง บรรณาธิการสูงสุดนิตยสารเพลย์บอย และเป็นผู้พัฒนาเพลย์บอยเอนเตอร์ไพร์ (Playboy Enterprise).

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และฮิวจ์ เฮฟเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักษ์ พันธ์ชูเพชร

รองศาสตราจารย์ จักษ์ พันธ์ชูเพชร ชื่อเดิม:ประจักษ์ พันธ์ชูเพชร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการศึกษาต่อเนื่อง และรักษาการผู้อำนวยการสถานการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นอาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยากรให้กับสถาบันพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ บริษัท ทุนมนุษย์ จำกัด อดีตวิทยากรคณะกรรมการการเลือกตั้ง วิทยากรคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการการอำนวยการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับถาวร เป็นผู้ดำเนินรายการ "ชวนพี่น้องมองบ้านเมือง" และรายการ "เวทีประชาคมเพื่อชุมชุนเข้มแข็ง" ทางสถานีโทรทัศน์ NBT นักจัดรายการวิทยุ รายการ "คุยกัยอาจารย์จักษ์" ที่ FM 107.25 MHz.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และจักษ์ พันธ์ชูเพชร · ดูเพิ่มเติม »

จตุรศิลปศาสตร์

ตุรศิลปศาสตร์ (Quadrivium) ประกอบด้วยวิชาสี่วิชาหรือศิลปะที่สอนกันมหาวิทยาลัยในยุคกลางหลังจากไตรศาสตร์ (trivium) “Quadrivium” มาจากภาษาลาตินที่แปลว่า “ทางสี่แพร่ง” ซึ่งเป็นการศึกษาในสาขาศิลปศาสตร์ จตุรศิลปศาสตร์ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์, เรขาคณิต, ดนตรี และ ดาราศาสตร์ การศึกษาจตุรศิลปศาสตร์ต่อเนื่องมาจากการศึกษาไตรศาสตร์ที่ประกอบด้วยไวยากรณ์, ตรรกศาสตร์ และ วาทศาสตร์ การจบการศึกษาจตุรศิลปศาสตร์ถือว่าเป็นการวางรากฐานในการศึกษาต่อในสาขาวิชาปรัชญา และ เทววิท.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และจตุรศิลปศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (เกิดวันที่) ประธานหลักสูตรรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นศิษย์เก่าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2524-2527 (สิงห์แดง 33) หลังจากนั้นศึกษาต่อปริญญาโทในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปี 2530-2534) และปริญญาเอก สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปี 2546-2550) ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มีผลงานวิทยานิพนธ์ด้านประวัติศาสตร์การเมืองที่สำคัญคือเรื่อง รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 ซึ่งต่อมาจะจัดพิมพ์ในชื่อ 2475 และ 1 ปีหลังการปฏิวัติ อันสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการปฏิวัติ 2475 และการล้มลงของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งยังเสนอให้เห็นถึงการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ในช่วง 1 ปีหลังการปฏิวัติที่ดำเนินไปอย่างซับซ้อน และยังแสดงให้เห็นว่า การรัฐประหารครั้งแรกในการเมืองไทยภายใต้ระบอบประชาธิปไตย ก็คือ การรัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกาวันที่ 1 เมษายน 2476 โดยนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของไทย พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ผลงานวิชาการต่อๆ มา ยังคงเป็นการศึกษาการเมืองไทย ที่เน้นศึกษาผ่านผู้นำทางการเมืองไทย เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายปรีดี พนมยงค์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพลถนอม กิตติขจร ฯลฯ ซึ่งผู้นำทหารการเมืองคนท้ายสุดนี้ ได้กลายเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกในชื่อ “บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คัทลียา แมคอินทอช

ัทลียา แมคอินทอช (แหม่ม) เกิดเมื่อ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 เป็นนักแสดงและพิธีกร ชาวไทย มีคุณพ่อชาวสก็อต ชื่อคุณวิลเลียม แมคอินทอชซึ่งเมื่อครั้งยังหนุ่มเป็นนักรบสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ประจำฝ่ายบิน เมื่อหมดสงคราม จึงไปสมัครเข้าสายการบินเอ.เอ.เอสของเดนมาร์ค การบินไทยเช่าเครื่องบินจากบริษัทนี้ และยังเป็นหุ้นส่วนกันด้วย ต่อมามิสเตอร์วิลเลี่ยม แมคอินทอชจึงถูกส่งตัวมาทำงานกับการบินไทย และได้เจอกับคุณแม่ของเธอคุณยุรภรณ์ แมคอินทอชเธอมีพี่ชายเป็นนักแสดงเช่นกันคือ วิลลี่ แมคอินทอช แหม่มเข้าเรียนที่โรงเรียนเซเว่นเดย์แอสวัลติสภาคภาษาไทยจนถึงชั้นป.4 และย้ายข้ามฝั่งมาเรียนภาคภาษาอังกฤษตั้งแต่เกรด 3-12 แล้วก็สอบเทียบเอาวุฒิ ม.6 มาสอบ entrance และเข้าเรียนระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ แหม่ม เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการชักชวนของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เส้นทางในวงการบันเทิงของคุณแหม่ม คัทลียา แมคอินทอชเริ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2530 ขณะที่เธออายุได้ 15 ปีโดยเริ่มงานด้านการเป็นนางแบบจากการถ่ายแบบและขึ้นปกนิตยสารสตรีสารเป็นฉบับแรกจากนั้นจึงมีผลงานถ่ายแบบเดินแบบและโฆษณาตามมาอีกมากมายโดยมีโฆษณาในช่วงยุค 80อย่าง จอห์นสันเบบี้ออย, แชมพูไบโอเนทอี, ยาสระผมรีจอยซ์ (ในวงการบันเทิงช่วงยุค 90เธอมีผลงานโฆษณามากมายโดดเด่นมากในการเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับโฆษณาของสินค้าเอวอน) งานโฆษณาในฐานะนางแบบที่ทำให้คุณแหม่มเป็นที่รู้จักในวงกว้างและได้รับความนิยมจากผู้ชมนั้นคือโฆษณา นมเปรี้ยวไทย-เดนมาร์ก ที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2532 โดยแสดงคู่กับสาวสวยอีกท่านคือ คุณวิกกี้ กันตา ดานาว ในเรื่องราวของการหยั่งชั้นเชิงที่สองสาวมีต่อชายหนุ่มหล่อที่มีชื่อว่า ต้น ก่อนจะเป็นที่จดจำจากคำพูดในโฆษณาเรื่องนี้ " ถามต้นคืนนี้ซ...

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และคัทลียา แมคอินทอช · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแมคกิลล์สวมชุดครุยระดับปริญญาเอก กลุ่มบัณฑิตที่ได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกับอาจารย์ของพวกเขา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Philosophiae doctor, Doctor of Philosophy, อักษรย่อ ปร.ด., PhD, Ph.D. หรือ DPhil) คือปริญญาทางวิชาการสูงสุดที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยในหลายประเทศ การได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมาจากหลักสูตรที่มีความกว้างขวางของสาขาทางวิชาการ การได้มาซึ่งปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมักจะเป็นที่ต้องการสำหรับอาชีพอาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัย หรือนักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ บุคคลที่ได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตอาจใช้คำนำหน้าว่าดอกเตอร์ (Doctor) หรือนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "ดร." ("Dr") ในทางกฎหมายได้ หรือในประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษอาจใช้คำที่แตกต่างกันเช่น "Dr.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อยู่ในการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยมติของสภามหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อให้เป็นสถานที่ฝึกสอนของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดการเรียนการสอนตามแนวศิลปศาสตร์ (Liberal Arts Education) มี ผ.ดร.คงศักดิ์ พร้อมเทพ เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนสนามบิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนสนามบิน) มีพื้นที่ 66 ไร.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา (Demonstration School, University of Phayao; ย่อ: สธ.มพ./DESUP) เป็นโรงเรียนสหศึกษา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554สำนักงานสภามหาวิทยาลัยพะเยา,, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

รงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ (Benjamarachanusorn School) อักษรย่อว่า ".." เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยความสำนึกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2521 โดยในระยะแรกได้แยกตัวมาจาก โรงเรียนเบญจมราชาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนสตรีล้วน โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนเบญจมราชาลัย 2 ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 42/3 หมู่ที่ 1 ถนนประชานิเวศน์ 3 (แยกถนนสามัคคี) ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี บนเนื้อที่จำนวน 20 ไร่ 3 งาน 91 ตารางวา มีอาคาร 8 หลัง เปิดสอนในช่วงชั้นการศึกษาที่ 3 และ 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 36 ห้อง(แบ่งเป็น โครงการความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ม.ต้น และห้องเรียนทั่วไป) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 30 ห้อง แบ่งเป็นแผนการเรียนดังนี้ ห้องเรียนทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 3 ห้อง (แบ่งเป็น วิทย์-คณิต โครงการพิเศษ 1 ห้อง วิทย์-คณิตทั่วไป 2 ห้อง)ห้องเรียนศิลปศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ศิลป์-คำนวณ) 2 ห้อง, ห้องเรียนศิลปศาสตร์-ภาษาศาสตร์(ศิลป์-ภาษา) (แบ่งเป็น วิชาเอก ภาษาฝรั่งเศส 1 ห้อง, ภาษาญี่ปุ่น 1 ห้อง และภาษาจีน 2 ห้อง) และ ศิลปศาสตร์-สังคมศาสตร์ (ศิลป์-ทั่วไป 1 ห้อง) รวมทั้งสิ้น 66 ห้องเรียน (ไม่รวมห้องเรียนรวม) มีนักเรียนประมาณ 3500 คน (ข้อมูล ปีการศึกษา 2554).

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต ฟลอยด์

right โรเบิร์ต ดับเบิลยู ฟลอยด์ (Robert W Floyd) (8 มิ.ย. ค.ศ. 1936 (พ.ศ. 2479) - 25 ก.ค. ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544)) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่โดดเด่น (ชื่อกลางของเขาคือ ดับเบิลยู) ฟลอยด์เกิดที่นิวยอร์ก เขาเรียนจบมัธยมเมื่ออายุ 14 ปี จากนั้นเขาได้เรียนจบระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยชิคาโกในสาขาศิลปศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และโรเบิร์ต ฟลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลา

ำหรับนวนิยายซีไรต์ดูที่ เวลา (นวนิยาย) นาฬิกาพก เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเวลา เวลา ในมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของจักรวาล ให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ดำเนินอยู่ในนั้น ซึ่งเป็นแนวคิดของไอแซก นิวตัน อีกมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นสิ่งสมมุติเช่นเดียวกับพื้นที่ (สเปซ) และตัวเลข มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นลำดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลากับเหตุการณ์เหล่านั้นจะรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งเป็นแนวคิดของอิมมานูเอล คานต์ และกอตฟรีด ไลบ์นิซ บางที มุมมองทั้งสองเกี่ยวกับเวลาก็ยังน่าสับสนอยู่ จึงมีการนิยามโดยการปฏิบัติ ความหมายของการดำเนินงาน หรือ(operational definition) ซึ่งมักใช้การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นคาบของวัตถุเป็นตัววัดเวลา เช่น ดิถี (ข้างขึ้นข้างแรม) ของดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เวลา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศิลปศาสตร์ แต่ละสาขาก็มีมุมมองต่าง ๆ กันไป เช่น ในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจมองว่า "เวลาเป็นเงินทอง" ("Time is money.") เป็นต้น.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าทอง ทองเจือ

ผ่าทอง ทองเจือ หรือที่รู้จักในนาม อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ท่านเป็นบุตรของ นายพานทอง ทองเจือ กับ นางไพบูลย์บุญ ทองเจือ สกุลเดิม: เนติกุล อาจารย์เผ่าทองจึงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ พระยาไพชยนต์เทพ (ทองเจือ ทองเจือ) ท่านเป็นต้นสกุล "ทองเจือ" และ ท้าวอนงค์รักษา (พร้อง ทองเจือ) อาจารย์เผ่าทองเป็นนักประวัติศาสตร์ไทย นักโบราณคดี พิธีกรและวิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ไทย ท่านมีชื่อเล่นว่า "แพน" เป็นน้องชายคนละแม่กับ ภิญโญ ทองเจือ อดีตนักแสดงละครโทรทัศน์ และ ปรางค์ทิพย์ ทวีพาณิชย์ เผ่าทองจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ระดับอุดมศึกษาจากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้วยความชอบในเรื่องโบราณคดีมาแต่เด็ก ๆ ขณะที่ศึกษาอยู่นั้นถืออาจารย์เผ่าทองเป็นบุคคลคณะแรก ๆ ที่ได้เข้าไปขุดค้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ที่จังหวัดอุดรธานีด้วย ในทางวิชาการเคยเป็นอาจารย์ในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทั่งอาจารย์เผ่าทองได้เป็นคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษตามสถาบันต่าง ๆ เช่น โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนจิตรลดา เป็นต้น ก่อนอาจารย์เผ่าทองจะเกษียณตัวเองออกมาก่อนอายุครบ 60 ปี ในแวดวงบันเทิงเคยเป็นนายแบบ พิธีกรและวิทยากรที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของไทยหลายรายการ อาทิ คุณพระช่วย ทางช่อง 9,มิติลี้ลับ ทางช่อง 7 อาจารย์เผ่าทองเคยเป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง ศิลามณี ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2551 อาจารย์เผ่าทองได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ฉันผู้ชายนะยะ ในปี พ.ศ. 2530 อาจารย์เผ่าทองได้เป็นผู้ติดต่อประสานงานและเป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เรื่อง Anna and the King ที่ได้เข้าไปถ่ายทำในประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2542 และ รอยไหม ในปี พ.ศ. 2554 กับช่อง 3 ด้วย ชีวิตส่วนตัว เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องผ้าไทยและเป็นเจ้าของ ห้องเสื้อเผ่าทอง ทองเจือ หรือ Paothong's PRIVATE COLLECTION ที่จังหวัดเชียงใหม่ รวมไปถึงห้างสรรพสินค้าชั้นนำ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงความเป็นมาของกรุงเทพมหานคร ที่ถนนราชดำเนิน ปัจจุบันอาจารย์เผ่าทองท่านมีปัญหาด้านสุขภาพ คือ เป็นโรคมะเร็งและมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ ลูคิเมีย โดยท่านเป็นมาตั้งแต่อายุ 37 ปี ที่เกือบจะเอาชีวิตไม่รอดจากโรคที่เป็น.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และเผ่าทอง ทองเจือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะ

้าหญิงสึงุโกะแห่งทะกะมะโดะ (8 มีนาคม พ.ศ. 2529) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะโดะกับเจ้าหญิงฮิซะโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และเจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวสคูล

ูเนียนสแควร์ จตุรัสที่มักถือว่าเป็นใจกลางของมหาวิทยาลัย เดอะนิวสคูล (The New School) เป็นมหาวิทยาลัยในนครนิวยอร์ก อาคารเกือบทั้งหมดตั้งอยู่ในย่านชุมชน Greenwich Village ตั้งแต่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และเดอะนิวสคูล · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปศาสตร์และ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คณะศิลปศาสตร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »