โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศักดิ์เกษม หุตาคม

ดัชนี ศักดิ์เกษม หุตาคม

ักดิ์เกษม หุตาคม (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักเขียนนวนิยายรัก โศกนาฏกรรม และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง เจ้าของนามปากกา อิงอร ได้รับฉายาว่า นักเขียนปลายปากกาจุ่มน้ำผึ้ง ศักดิ์เกษม หุตาคม เกิดที่จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับมารดาและยาย เพราะกำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา แล้วเข้ามาหางานทำที่กรุงเทพ พร้อมกับเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบอนุปริญญาเมื่อ..

16 ความสัมพันธ์: มงคล อมาตยกุลรัตนาภรณ์ อินทรกำแหงรายชื่อนวนิยายไทยรายชื่อนักเขียนนวนิยายไทยรายนามนักเขียนเรื่องสั้นรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500สมชาย อาสนจินดาสุรพล โทณะวณิกหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์นพพร บุณยฤทธิ์โรงเรียนมหาวชิราวุธโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลาโจ๋ย บางจากเบญจมินทร์เกียรติศักดิ์ทหารเสือเปลื้อง ณ นคร

มงคล อมาตยกุล

มงคล อมาตยกุล (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461 - 20 กันยายน พ.ศ. 2532) นักดนตรี นักแต่งเพลง ผู้ก่อตั้งวงดนตรีมงคล อมาตยกุล และวงดนตรีจุฬารัตน์ มงคล อมาตยกุล เกิดที่อำเภอพระนคร เป็นบุตรของอำมาตย์เอก พระยาวินิตวิทยาการ (กร อมาตยกุล) กับหม่อมหลวงผาด เสนีวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนหอวัง โรงเรียนปทุมคงคา และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (พ.ศ. 2479 รุ่นเดียวกับพลเอกเปรม ติณสูลานนท์) เข้าศึกษาต่อที่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงชั้นปีที่ 4 จึงหยุดเรียน เพราะมหาวิทยาลัยหยุดการเรียนการสอน เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้หันไปเล่นดนตรีสากล ตั้งคณะละครวิทยุ และแต่งบทละคร เล่นออกอากาศทางสถานีวิทยุ และได้เป็นนักแต่งเพลง เรียบเรียงเสียงประสาน และเป็นหัวหน้าวงดนตรีของเทศบาลนครกรุงเทพ ในปี..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและมงคล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง (25 กันยายน พ.ศ. 2475 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ชื่อเล่น แดง ชื่อจริง รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ณ ราชสีมา นักแสดงอาวุโส อดีตนางเอกยอดนิยมในช่วงปี..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและรัตนาภรณ์ อินทรกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนวนิยายไทย

รายชื่อนวนิยายไท.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและรายชื่อนวนิยายไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักเขียนนวนิยายไทย

ทความนี้รวบรวมรายชื่อนักเขียนนวนิยายไท.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและรายชื่อนักเขียนนวนิยายไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักเขียนเรื่องสั้น

รายชื่อนักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย;ก.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและรายนามนักเขียนเรื่องสั้น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500

การประกวดภาพยนตร์ ชิงรางวัลตุ๊กตาทอง และสำเภาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล โทณะวณิก

รพล โทณะวณิก (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 -) นักแต่งเพลงไทย นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและสุรพล โทณะวณิก · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์

หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 -) เป็น ศิลปินแห่งชาติ นักแสดง นักร้อง นักเขียน และนักจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการแนะนำและจัดระดับความอร่อยของร้านอาหาร ในชื่อ "เชลล์ชวนชิม" สัญลักษณ์ชามลายผักกาด ทางหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

นพพร บุณยฤทธิ์

นพพร บุณยฤทธิ์ (8 เมษายน พ.ศ. 2469 -) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ อดีตบรรณาธิการนิตยสาร ชาวกรุง และสยามรัฐ เคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสมาชิกวุฒิสภา ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและนพพร บุณยฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมหาวชิราวุธ

รงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ชื่อภาษาอังกฤษ: Mahavajiravudh Songkhla School) (อักษรย่อ: ม.ว., M.V.) (สุภาษิตประจำโรงเรียน: รฺกขาม อตฺตโน สาธุ (รัก - ขา - มะ - อัด - ตะ - โน - สา - ทุง) แปลว่า " พึงรักษาความดีของตนไว้ (ประดุจเกลือรักษาความเค็ม) ") เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 03900101(เดิม), 1003900101 (ใหม่) มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 99.9 ตารางวา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา มีประวัติความเป็นมาและชื่อเสียงเกียรติยศที่สั่งสมมายาวนานจนถึงปัจจุบันกว่า 118 ปี เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรกในภาคใต้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา โดยมีกุลบุตร - กุลธิดา ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง มาศึกษาเล่าเรียนกันเป็นจำนวนมาก ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนคือ มหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ขณะท่านมีบรรดาศักดิ์เป็น " พระยาสุขุมนัยวินิต " ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยในเดือนมกราคม พุทธศักราช 2439 ในวาระโอกาสวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เจ้าพระยายมราชได้ขอพระราชทานพระนามของพระองค์ในขณะนั้นมาเป็นนามของโรงเรียน ว่าโรงเรียน "มหาวชิราวุธ" ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกมหาวชิราวุธทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตราวชิราวุธ อันเป็นลัญจกรประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์อันเป็นมิ่งมงคลยิ่งของสถาบัน.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและโรงเรียนมหาวชิราวุธ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา

รงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ชื่อภาษาอังกฤษ: Mahavajiravudh Songkhla School) (อักษรย่อ: ม.ว., M.V.) (สุภาษิตประจำโรงเรียน: รฺกขาม อตฺตโน สาธุง (รัก - ขา - มะ - อัด - ตะ - โน - สา - ทุง) แปลว่า " พึงรักษาความดีของตนไว้ (ประดุจเกลือรักษาความเค็ม) ") เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 03900101(เดิม), 1003900101 (ใหม่) มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 99.9 ตารางวา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา มีประวัติความเป็นมาและชื่อเสียงเกียรติยศที่สั่งสมมายาวนานจนถึงปัจจุบันกว่า 121 ปี เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรกในภาคใต้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา โดยมีกุลบุตร - กุลธิดา ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง มาศึกษาเล่าเรียนกันเป็นจำนวนมาก ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนคือ มหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ขณะท่านมีบรรดาศักดิ์เป็น " พระยาสุขุมนัยวินิต " ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยในเดือนมกราคม พุทธศักราช 2439 ในวาระโอกาสวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เจ้าพระยายมราชได้ขอพระราชทานพระนามของพระองค์ในขณะนั้นมาเป็นนามของโรงเรียน ว่าโรงเรียน "มหาวชิราวุธ" ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกมหาวชิราวุธทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตราวชิราวุธ อันเป็นลัญจกรประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์อันเป็นมิ่งมงคลยิ่งของสถาบัน.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

โจ๋ย บางจาก

๋ย บางจาก หรือชื่อจริง สันติธร หุตาคม เป็นนักเดินทาง นักข่าว ผู้ผลิตภาพยนตร์สารคดี รายการส่องโลก ออกอากาศทางโทรทัศน์ ช่อง 5 ตั้งแต..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและโจ๋ย บางจาก · ดูเพิ่มเติม »

เบญจมินทร์

ญจมินทร์ เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงรุ่นเก่าชื่อดังที่ได้รับฉายาว่า "ราชาเพลงรำวง" ในยุคที่วงการลูกทุ่งเพิ่งจะบุกเบิก นอกจากนั้นก็เคยสร้างและกำกับภาพยนตร์ เขียนบทละครและภาพยนตร์หลายเรื่อง รวมทั้งร่วมในการแสดงภาพยนตร์ด้วย ในวงการเพลง เบญจมินทร์ เป็นที่รู้จักอย่างมากจากเพลงรำวง อย่าง "เมขลาล่อแก้ว","รำวงแจกหมวก", "แมมโบ้จัมโบ้", "อึกทึก", "มะโนราห์ 1-2", "สาลิกาน้อย", "รำวงฮาวาย", "รำเต้ย", "อายจัง" และอีกมากมาย ส่วนเพลงลูกทุ่ง เขาโด่งดังจากเพลงแนวเกาหลีหลายเพลง ต้นฉบับแนวเสียงของ สุรพล สมบัติเจริญเจ้าของฉายา ราชาเพลงลูกทุ่ง และเป็นคนเปิดศักราชของลูกทุ่งอีสานและชาวอีสานในวงการเพลงลูกทุ่งของเมืองไทย ช่วงที่ำกำลังรุ่งโรจน์ ระหว่าง..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและเบญจมินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ทหารเสือ

แขนมอบถวายทรงธรรม์ เทอดหล้า (ภาพประกอบจาก ดุสิตสมิต) เกียรติศักดิ์ทหารเสือ เป็นเพลงประกอบละครเวทีเรื่อง "เกียรติศักดิ์ทหารเสือ" ของ ศักดิ์เกษม หุตาคม หรือ "อิงอร" เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและเกียรติศักดิ์ทหารเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เปลื้อง ณ นคร

ปลื้อง ณ นคร (4 กันยายน พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2541) นักวิชาการด้านภาษาไทย เป็นผู้แต่งปทานุกรมนักเรียน และพจนานุกรม เปลื้อง ณ นคร เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2452 ที่จังหวัดสงขลา เป็นบุตรชายคนโตของขุนเทพภักดี (เล็ก) และนางยกฮิ่น ณ นคร มีน้องร่วมบิดามารดา 5 คน ได้แก.

ใหม่!!: ศักดิ์เกษม หุตาคมและเปลื้อง ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อิงอร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »