โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิโรจน์ แสงสนิท

ดัชนี วิโรจน์ แสงสนิท

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิโรจน์ แสงสนิท เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตผู้บัญชาการทหารสูง.

14 ความสัมพันธ์: ชัชชม กันหลงกลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชามงคล อัมพรพิสิฏฐ์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยวัฒนชัย วุฒิศิริวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21จังหวัดอุตรดิตถ์คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

ชัชชม กันหลง

ลเอก ชัชชม กันหลง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและชัชชม กันหลง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา

ระเกี้ยว เครื่องหมายโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี),โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒,โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ และมงกุฎขัตติยราชนารี เครื่องหมายโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา) กลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา หรือ โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา เป็นกลุ่มโรงเรียนที่ใช้นามโรงเรียนว่า "บดินทรเดชา" อันมาจากราชทินนามของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ประกอบด้วยโรงเรียนทั้งสิ้น 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี), โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒, โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี และโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เริ่มมีโครงการจัดตั้งโรงเรียนสาขาขึ้นสืบเนื่องจากความประสงค์ของนักเรียนในโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เพิ่มขึ้น คุณหญิงลักขณา แสงสนิท ผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น จึงดำริสถาปนาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ขึ้นในปี..

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและกลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อัมพรพิสิฏฐ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพไทย ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญหลังเกษียณอายุราชการ คือ อดีตประธานกรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ และอดีตประธานกรรมการธนาคารกรุงไท.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและมงคล อัมพรพิสิฏฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไท.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไท.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนชัย วุฒิศิริ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและวัฒนชัย วุฒิศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 (22 มีนาคม พ.ศ. 2539 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2543) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ มีจำนวน 260 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

ณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. (National Peace Keeping Council - NPKC) เป็นคณะนายทหารที่ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำโดย พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก, พลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ คณะ ร. ให้เหตุผลในการยึดอำนาจว.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 47 ของไทย (2 มีนาคม พ.ศ. 2534 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51

นายบรรหาร ศิลปอาชา''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 51 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 51 ของไทย (13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51 · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

รงเรียนวัดนวลนรดิศ (Wat Nuannoradit School) อักษรย่อ (น.ด.) เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เดิมเป็นประเภทนักเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณวัดนวลนรดิศ เลขที่ 137 ซอยเพชรเกษม 19 แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160.

ใหม่!!: วิโรจน์ แสงสนิทและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »