โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ดัชนี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

MUSIC MSU วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ (อังกฤษ: College of Music) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี ดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ว่า พหูนํ ปณฺฑิโตชีเว “ผู้มีปัญญาพึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน” และหลักปรัชญาของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ที่ว่า “สร้างคน สร้างจินตนาการ สร้างงานคุณภาพ” วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นวิทยาลัยดนตรีชั้นนำของประเทศ และในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิทยาดุริยางคศิลป์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศ 5 ด้าน คือ ด้านการจัดการเรียนการด้านสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการสังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ ตลอดจนเป็นแนวทางในการดำเนินงานโดยอยู่ภายใต้ค่านิยม ของวิทยาลัยได้แก่ “MUSIC” เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี จนถึงระดับปริญญาเอก มีสาขาวิชาที่หลากหลายครอบคลุมทุกเนื้อหาทางดนตรี ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี เทียบเท่าคณะ แห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับเตรียมอุดมดนตรี.

4 ความสัมพันธ์: มหาวิทยาลัยมหาสารคามรายชื่อคณะศิลปกรรมศาสตร์ในประเทศไทยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะศิลปกรรมศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ การออกแบบ และดุริยางคศิลป.

ใหม่!!: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามและรายชื่อคณะศิลปกรรมศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

MUSIC MSU วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ (อังกฤษ: College of Music) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี ดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ว่า พหูนํ ปณฺฑิโตชีเว “ผู้มีปัญญาพึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน” และหลักปรัชญาของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ที่ว่า “สร้างคน สร้างจินตนาการ สร้างงานคุณภาพ” วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นวิทยาลัยดนตรีชั้นนำของประเทศ และในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิทยาดุริยางคศิลป์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศ 5 ด้าน คือ ด้านการจัดการเรียนการด้านสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการสังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ ตลอดจนเป็นแนวทางในการดำเนินงานโดยอยู่ภายใต้ค่านิยม ของวิทยาลัยได้แก่ “MUSIC” เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี จนถึงระดับปริญญาเอก มีสาขาวิชาที่หลากหลายครอบคลุมทุกเนื้อหาทางดนตรี ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี เทียบเท่าคณะ แห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับเตรียมอุดมดนตรี.

ใหม่!!: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามและวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) (Mahasarakham University Demonstration School (Secondary); อักษรย่อ: สธมมส.(ฝ่ายมัธยม)) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2540 ตั้งอยู่ที่ กลุ่มอาคารเรียนมัธยม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เขตพื้นที่ขามเรียง ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »