โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วาลคิรี

ดัชนี วาลคิรี

วาด "Valkyrie's Vigil" ในตำนานนอร์ส วาลคิรี (อังกฤษ: valkyrie, นอร์ส: valkyrja) เป็นเทพธิดาที่รับใช้ โอดินโดยมีหน้าที่นำนักรบที่ตายในสงครามไปที่ วัลฮัลลา (Valhalla) เพื่อพบกับโอดิน และมาเป็น Einherjar สู้ศึกในสงครามแร็กนาร็อก สงครามสิ้นโลกระหว่างเทพเจ้าและปีศาจ ในทางศิลปะ วาลคิรีมักจะถูกกล่าวถึงในสัญลักษณ์ของความสวยงาม โดยจะมีลักษณะนางฟ้าหญิง สวมหมวกนักรบถือหอกและขี่บนหลังม้าที่มีปีก วาลคิรีนั้นสามารถแปลงร่างเป็นหงส์ได้ วาลคิรีนั้นสามารถแต่งงานกับมนุษย์ได้ แต่นั่นจะทำให้เสียอำนาจวิเศษของเทพธิดาไป.

9 ความสัมพันธ์: พิภพนิรันดรการ์เดียนครอสปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกนปฏิบัติการวาลคิรีแรกนะร็อกแคลชออฟแคลนส์ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ไลท์นิงเอจออฟมีโธโลจี

พิภพนิรันดร

นิรันดร เป็นชุดหนังสือที่เขียน.

ใหม่!!: วาลคิรีและพิภพนิรันดร · ดูเพิ่มเติม »

การ์เดียนครอส

การ์เดียนครอส (Guardian Cross) เป็นเกมสำหรับเครื่องไอโฟน/ไอแพด ผลิตโดยบริษัทสแควร์-เอนิกซ์โดยมีด้วยกันสองรุ่นคือรุ่นภาษาญี่ปุ่น เปิดตัว 21 มิถุนายน 2555 และรุ่นภาษาอังกฤษ เปิดตัวในวันที่ 13 สิงหาคม 2555 ลักษณะเกมประกอบไปด้วยการใช้เทรดดิงการ์ดจำลอง การล่าศัตรู และการแข่งขันระหว่างผู้เล่น เดอะการ์เดียนได้จัดอันดับเกมและขึ้นเป็นเกมยอดนิยม 20 อันดับแรก ของเกมมือถือประจำสัปดาห์ นอกจากนี้เกมยังได้ขึ้นอันดับ 100 เกมยอดฮิตที่ทำเงินได้ของแอปสตอร์ และติดอันดับเกมดาวน์โหลดฟรียอดฮิต 150 อันดับอีกด้วย ในเดือนธันวาคม 2555 เกมนี้ได้มีการดาวน์โหลดรวมทั้งสิ้นมากกว่า 1,000,000 ครั้ง ทำให้เป็นเกมที่มียอดดาวน์โหลดสูงสุดของเกมจากสแควร์เอนิกซ์ของระบบปฏิบัติการไอโอเอ.

ใหม่!!: วาลคิรีและการ์เดียนครอส · ดูเพิ่มเติม »

ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน

ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน (Der Ring des Nibelungen; The Ring of the Nibelung) เป็นปกรณัมชุดของริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวีชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต..

ใหม่!!: วาลคิรีและปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการวาลคิรี

ปฏิบัติการวาลคิรี (Unternehmen Walküre) เป็นแผนปฏิบัติการความต่อเนื่องของรัฐบาลในวาระฉุกเฉิน ปฏิบัติการนี้ถูกคิดขึ้นโดยกองกำลังรักษาดินแดนเยอรมัน (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กองกำลังสำรอง) ปฏิบัติการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศในกรณีที่เกิดเหตุที่อาจทำให้ระบบรัฐบาลฮิตเลอร์เกิดภาวะสุญญากาศ แผนฉุกเฉินนี้ได้รับการรับรองจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งฮิตเลอร์ตั้งใจเตรียมพร้อมไว้เพื่อนำมาใช้สถานการณ์ที่เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง ที่อาจเกิดขึ้นจากการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร หรือการลุกฮือขึ้นก่อจลาจลของผู้ใช้แรงงานจากประเทศที่ถูกยึดครองที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในเยอรมนี อย่างไรก็ดี นายทหารจากกองทัพบกเยอรมัน คือนายพลฟรีดริช ออลบริชท์ และพลตรีเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ ได้นำแผนการดังกล่าวมาปรับปรุงและดัดแปลงใหม่ เพื่อที่จะใช้ก่อการรัฐประหารยึดอำนาจควบคุมเยอรมนีทั้งหมด ปลดอาวุธหน่วยเอ็สเอ็ส และจับกุมคณะผู้นำรัฐบาลนาซี โดยตั้งเป้าว่าจะใช้แผนวาลคิรีฉบับใหม่นี้หลังจากที่ฮิตเลอร์ถูกลอบสังหารในแผนลับ 20 กรกฎาคมแล้ว ความตายของฮิตเลอร์เป็นสิ่งจำเป็นที่จะทำให้การรัฐประหารนี้ประสบความสำเร็จ เพราะความตายของฮิตเลอร์ (มิใช่เพียงถูกจับกุม) ถือเป็นการปลดปล่อยทหารเยอรมันออกจากพันธะภายใต้คำปฏิญาณตนว่าจะจงรักภักดีต่อฮิตเลอร์ และหันมาภักดีต่อคณะรัฐประหารแทน แผนการดังกล่าวได้มีการลงมือในช่วงบ่ายของวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: วาลคิรีและปฏิบัติการวาลคิรี · ดูเพิ่มเติม »

แรกนะร็อก

ประตูทิศเหนือของโบสถ์ไม้แห่งอูร์เนสที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้รับการตีความว่าการที่มีรายละเอียดของงูและมังกรนั้น เป็นตัวแทนของแรกนะร็อกFazio, Moffet, Wodehouse (2003:201). ในเทพปกรณัมนอร์สธอร์ แรกนะร็อก (Ragnarok,, หรือ) เป็นชุดเหตุการณ์ในอนาคต ประกอบด้วย การยุทธครั้งใหญ่ตามคำทำนายซึ่งนำไปสู่การสิ้นชีพของเหล่าเทพที่สำคัญ (ประกอบด้วย เทพโอดิน, ทอร์, เทียร์, เฟรย์, เฮมดาลล์, และโลกิ) ในท้ายที่สุด, การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ และการที่แผ่นดินจมลงใต้สมุทรตามลำดับ ต่อจากนั้น แผ่นดินจะผุดขึ้นจากทะเลอีกครั้ง และกลับมาอุดมสมบูรณ์ เทพที่รอดชีวิตและเทพผู้กลับมาจากความตายจะมาพบกัน โลกจะกลับมามีพลเมืองด้วยมนุษย์สองคนที่เหลือรอด แรกนะร็อกเป็นเหตุการณ์สำคัญในทางความเชื่อและศาสนาของนอร์ส และเป็นหัวข้อของวจนิพนธ์ทางวิชาการและทฤษฎี ตามที่มีหลักฐานยืนยัน เหตุการณ์นี้ได้รับการบันทึกครั้งแรกใน บทกวีเอ็ดดา ซึ่งแปลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากบันทึกโบราณ และบทร้อยแก้วเอ็ดดาที่เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอร์รี สเทอร์ลิวซัน ใน มหากาพย์เอ็ดดา และกลอนบทหนึ่งใน บทกวีเอ็ดดา เหตุการณ์นี้เรียกว่า Ragnarök หรือ Ragnarøkkr (ภาษานอร์สโบราณ แปลว่า "ชะตากรรมของเหล่าทวยเทพ" หรือ "สนธยาของเหล่าทวยเทพ" ตามลำดับ) การนำไปใช้งานที่มีชื่อเสียงกระทำโดยนักแต่งเพลงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ริชาร์ด วากเนอร์ ใช้เป็นหัวเรื่องดนตรีอุปรากร ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน องค์สุดท้ายของเขา เกิทเทอร์เดมเมอร์รุง (ค.ศ. 1876).

ใหม่!!: วาลคิรีและแรกนะร็อก · ดูเพิ่มเติม »

แคลชออฟแคลนส์

ในเกมแคลชออฟแคลน ผู้เล่นกำลังโจมตีหมู่บ้านของผู้เล่นอีกคน จำนวนทรัพยากรทั้งหมดที่ครอบครองได้อยู่ที่มุมซ้ายบน กองทหารที่ใช้ในการออกรบอยู่ตามด้านล่างของจอภาพ แคลชออฟแคลนส์ (Clash of Clans) คือ วิดีโอเกมวางแผนต่อสู้ฟรีเมียมใน..

ใหม่!!: วาลคิรีและแคลชออฟแคลนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์

Ride of the Valkyries ภาพประกอบโดย อาร์เทอร์ แรกแฮม ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ (Ride of the Valkyries; Walkürenritt หรือ Ritt der Walküren) เป็นชิ้นงานดนตรีจากช่วงต้นขององก์ที่สาม จากอุปรากรเรื่อง Die Walküre (The Valkyrie) อุปรากรเรื่องที่สองในชุด ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน ปกรณัมชุดของริชาร์ด วากเนอร์ วากเนอร์เริ่มแต่งทำนองท่อนนี้ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: วาลคิรีและไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลท์นิง

ลท์นิง เป็นตัวละครในเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี สร้างโดยสแควร์เอนิกซ์ ปรากฏตัวครั้งแรกในฐานะตัวละครหลักของวิดีโอเกมเล่นตามบทบาทชื่อ ไฟนอลแฟนตาซี XIII โดยรับบทเป็นประชาชนในคูคูน (Cocoon) ซึ่งเป็นโลกจำลองที่ลอยอยู่เหนือดาวเคราะห์ชื่อแกรนพัลซ์ (Gran Pulse) หลังจากที่เซราห์น้องสาวของเธอถูกตราหน้าว่าเป็นศัตรูกับคูคูนแล้ว ไลท์นิงพยายามที่จะช่วยเหลือเธอ โดยภายหลังเธอได้รับภารกิจจากฟาลซี (fal'Cie) หรือชนเผ่าครึ่งมนุษย์ครึ่งเทพที่ปกครองทั้งโลกคูคูนและแกรนพัลซ์ ให้ทำลายคูคูนทิ้ง ไลท์นิงปรากฏตัวอีกครั้งกับบทตัวละครรองใน ไฟนอลแฟนตาซี XIII-2 ด้วยภารกิจปกป้องเทพธิดาเอโทร (Etro) ต่อมาเธอรับบทตัวละครหลักอีกครั้งกับ ไลท์นิงรีเทิร์น ที่เธอได้รับมอบหมายให้กอบกู้โลกที่กำลังจะถึงกาลอวสานในอีก 13 วัน นอกจากเกมไฟนอลแฟนตาซี XIII แล้ว เธอยังปรากฏตัวในเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ภาคอื่น รวมถึงวีดีโอเกมนอกเกมชุดนี้เช่นกัน ไลท์นิงเป็นตัวละครที่สร้างโดย โมโทมุ โทริยามะ ผู้ผลิตเกมและนักเขียนบทของ ไฟนอลแฟนตาซี XIII และเขียนแบบโดย เท็ตสึยะ โนมูระ นักออกแบบตัวละครประจำให้กับเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี เดิมทีความคิดแรกในการพัฒนาไลท์นิงนั้นคือจะให้เธอเป็นผู้หญิงที่เชี่ยวชาญในการต่อสู้และมีนิสัยเด็ดขาดดั่งผู้ชายเมื่อเปรียบเทียบกับตัวละครหญิงจาก ไฟนอลแฟนตาซี ภาคก่อน ๆ แต่ภายหลังมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและบุคลิกของเธอให้เข้ากับเรื่องราวมากขึ้น เช่น ในภาคเสริมของภาค XIII นั้น โดยเฉพาะในภาค ไลท์นิงรีเทิร์น ไลท์นิงได้รับการพัฒนาเพื่อให้ผู้เล่นรู้สึกว่าตัวเธอก็มีบุคลิกราวกับคนธรรมดาที่สามารถเติบโตไปตามวัยได้เช่นกัน ชื่อเต็มของเธอในภาษาญี่ปุ่นคือ เอแคลร์ ฟาร์รอน (Éclair Farron) แต่ภายหลังในฉบับภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงชื่อเป็น แคลร์ ฟาร์รอน (Claire Farron) เนื่องจากชื่อเดิมมีความหมายคล้ายคลึงกับขนมประเภทหนึ่ง ไลท์นิงได้รับการวิจารณ์และการชื่นชมอยู่เป็นระยะ ๆ แต่โดยส่วนมากแล้วจะมีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันคือเกี่ยวกับบุคลิกที่เย็นชาของเธอซึ่งดูคล้ายกับ คลาวด์ สไตรฟ์ ตัวละครจาก ไฟนอลแฟนตาซี VII เธอถูกวิจารณ์ว่าไม่มีบทบาทมากพอในภาค XIII-2 ส่วนบทบาทของเธอในภาค ไลท์นิงรีเทิร์น ก็ได้เสียงตอบรับที่ค่อนข้างเป็นกลาง นักวิจารณ์บางคนมองว่าเธอมีบุคลิกที่เย็นชาเกินไป ซึ่งอาจเป็นเหตุทำให้ผู้เล่นรู้สึกเกลียดชังและไม่เป็นมิตรกับเธอ แต่ในขณะเดียวกัน นักวิจารณ์บางคนก็แย้งว่าเมื่อเรื่องราวได้ดำเนินผ่านไป เธอถึงจะค่อย ๆ นำเสนอพัฒนาการของเธอออกมา ภายหลังไลท์นิงปรากฏตัวบนการจัดอันดับตัวละครเกมโดยบริษัทผลิตวีดีโอเกมต่าง ๆ ที่คัดเลือกว่าตัวละครไหนโดดเด่นและเป็นที่นิยมมากที่สุดในซีรีส์ ไฟนอลแฟนตาซี ซึ่งเสียงตอบรับของเธอจัดว่าอยู่ในเชิงบวก.

ใหม่!!: วาลคิรีและไลท์นิง · ดูเพิ่มเติม »

เอจออฟมีโธโลจี

อจออฟมีโธโลจี (Age of Mythology) หรือมักย่อเป็น AoM เป็นเกมคอมพิวเตอร์แนววางแผนเรียลไทม์ ซึ่งมีเนื้อหาของปรัมปราวิทยา พัฒนาโดย เอนเซมเบิลสตูดิโอส์ และจัดจำหน่ายโดยไมโครซอฟท์เกมสตูดิโอส์ ออกวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วาลคิรีและเอจออฟมีโธโลจี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Valkyrieวัลคีรี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »