เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัดโสมนัสราชวรวิหาร

ดัชนี วัดโสมนัสราชวรวิหาร

วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร หรือ วัดโสมนัสวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในอุโบสถและพระวิหารมีภาพจิตกรรฝาผนังอันงดงาม มีคลองผดุงกรุงเกษมที่รัชการที่ 4 โปรดให้ขุดขึ้นแล้วเสร็จในปี 2395 ผ่านทางด้านหน้าของพระอุโบสถ ภายในวัดมีเจดีย์ 2 องค์ เจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ (เจดีย์ทอง รูปทรงแบบลังกาสีทองเหลืองอร่าม ยอดแหลมสูงเด่นเป็นสง่า สามารถมองเห็นได้ไกลซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติแวะเวียนเข้ามาชมความงามและกราบนมัสการกันอยู่มิได้ขาด) และยังมีเจดีย์องค์เล็ก (เจดีย์มอญ) อีกองค์ที่มีลักษณะสวยงามเช่นเดียวกับปรินิพพานสถูปในอินเดีย และหาชมได้ยากเพราะเจดีย์ลักษณะนี้มีเพียง 2 องค์ในประเทศไทย คือ ที่วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร และที่วัดกันมาตุยาราม อีกองค์หนึ่ง ปัจจุบันมีการสร้างและปรับปรุงอาคารต่างๆ ภายในวัด อาทิเช่น ตึก 150 ปี โรงเรียนพระปริยัติธรรม (ตึกสาลักษณาลัย) ซึ่งเป็นตึกเก่าสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่คุณหญิง (พึ่ง) ศรีภูริปรีชา ศาลาสำนักงานภาค ศาลาสถิต ศาลามุขหน้าวัด ตึก 80 ปีสมเด็จพระวันรัต เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี โรงเรียนวัดโสมนัส กองการฌาปนกิจกรมทหารบก สุสานทหาร อยู่ภายในบริเวณวั.

สารบัญ

  1. 41 ความสัมพันธ์: พระพรหมมุนีพระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)พระพิมลธรรมพระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)พระราชาคณะชั้นธรรมพระราชาคณะเจ้าคณะรองพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากรพระสาสนโสภณพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)พระจันทรโคจรคุณ (ยิ้ม จนฺทรํสี)พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)กองทุนกรรมฐานเพื่อเผยแผ่พุทธธรรมการลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผลรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อพระธาตุเจดีย์รายชื่อวัดในจังหวัดมุกดาหารรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและสัมพันธวงศ์)วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดป่าอนาลโยศาสนาพุทธในประเทศไทยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)สมเด็จพระมหาวีรวงศ์สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)สมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีสะพานเทวกรรมรังรักษ์หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์อารมณ์ มีชัยจังหวัดยโสธรจังหวัดสงขลาธงทอง จันทรางศุขัตติยะ สวัสดิผลคลองผดุงกรุงเกษมคลองเปรมประชากรโรงเรียนพิชญศึกษาเมธี ชาติมนตรีเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระพรหมมุนี

พระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)

ระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะกลาง และอดีตเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)

พระพิมลธรรม

ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระพิมลธรรม

พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)

มหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2460) นามเดิม กมล สาลักษณ สมุหพระอาลักษณ์ เลขานุการรัฐมนตรีสภา ปลัดทูลฉลองกระทรวงเกษตราธิการ ปลัดทูลฉลองกระทรวงมุรธาธร ผู้ช่วยราชเลขาธิการ ราชเลขานุการ องคมนตรี.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)

พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

ระตำรวจเอก นายพลตรี พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี รัฐมนตรีและสมุหพระตำรวจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระราชาคณะชั้นธรรม

พระราชาคณะเจ้าคณะรอง

ระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ เดิมจึงเรียกว่ารองสมเด็จพระราชาคณ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระราชาคณะเจ้าคณะรอง

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร ที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2444) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุลลดาวัลย์ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ดำรงสมณศักดิ์สุดท้ายที่สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง เจ้าอาวาสพระองค์แรกของวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนวัดร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร

พระสาสนโสภณ

ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ

พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)

ระสาสนโสภณ นามเดิม พิจิตร ฉายา ิตวณฺโณ นามสกุล ถาวรสุวรรณ วิทยฐานะ ป..9, น.เอก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)

พระจันทรโคจรคุณ (ยิ้ม จนฺทรํสี)

ระจันทรโคจรคุณ (ยิ้ม จนฺทรํสี) เป็นพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระจันทรโคจรคุณ (ยิ้ม จนฺทรํสี)

พระธรรมโกศาจารย์

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระธรรมโกศาจารย์

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)

ระธรรมไตรโลกาจารย์ นามเดิม เดช ฉายา ฐานจาโร เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตนายกสภากรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 12, ตอน 41, 12 มกราคม ร..

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและพระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)

กองทุนกรรมฐานเพื่อเผยแผ่พุทธธรรม

กองทุนกรรมฐานเพื่อเผยแผ่พุทธธรรม จัดตั้งโดย พระธรรมวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นประโยชน์กว้างขวางต่อชุมชน โดยได้ดำเนินการเผยแผ่พุทธธรรม โดยเฉพาะการฝึกอบรมกรรมฐานทั้งในและต่างประเทศ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) โดยมีจุดมุ่งหมาย 5 ประการ คือ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและกองทุนกรรมฐานเพื่อเผยแผ่พุทธธรรม

การลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผล

มื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและการลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผล

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระธาตุเจดีย์

ระธาตุเจดีย์ชินสีห์มิ่งมงคล วัดสว่างแสงจันทร์ บ้านหนองลาด ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี หน้านี้เป็นรายชื่อพระธาตุเจดีย์ สำหรับความหมายดูที่ เจดี.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและรายชื่อพระธาตุเจดีย์

รายชื่อวัดในจังหวัดมุกดาหาร

รายชื่อวัดในจังหวัดมุกดาหาร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและรายชื่อวัดในจังหวัดมุกดาหาร

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและสัมพันธวงศ์)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงบนแผนที.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและสัมพันธวงศ์)

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดป่าอนาลโย

วัดป่าอนาลโย (อังกฤษ:Wat Pah Analayo) เป็นวัดไทยสังกัดธรรมยุติกนิกายในประเทศเยอรมนี จดทะเบียนสมาคมในประเทศเยอรมันโดยใช้ชื่อ Buddhistischer Verein NRW e.V.ตั้งขึ้นเพื่อให้พุทธศาสนิกชนในเยอรมันทั้งชาวไทยและชาติต่าง ๆ ที่สนใจในพระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมนีได้มีโอากาสเข้ามาศึกษาพระพุทธศาสน.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและวัดป่าอนาลโย

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและศาสนาพุทธในประเทศไทย

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ) เป็นพระภิกษุธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะกลางและเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ยัง ฉายา เขมาภิรโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกาย และเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)

สมเด็จพระวันรัต

มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต

สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม จับ สุนทรมาศ ฉายา ตธมฺโม เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต) และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)

สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

มเด็จพระวันรัตน์เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 123 นามเดิม ทับ ฉายา พุทฺธสิริ (6 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี

มเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี (21 ธันวาคม พ.ศ. 2377 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2395) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ กับหม่อมงิ้ว และเป็นพระราชนัดดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 3 ที่ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พระองค์ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระอัครมเหสี เมื่อวันที่ 2 มกราคม..

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี

สะพานเทวกรรมรังรักษ์

นเทวกรรมรังรักษ์ เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ในแขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กับแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่เชื่อมถนนนครสวรรค์เข้าไว้ด้วยกันและตัดกับถนนกรุงเกษมที่เชิงสะพาน โดยเป็นสี่แยก เป็นสะพานที่อยู่ใกล้กับวัดโสมนัสวิหาร, ทำเนียบรัฐบาล และย่านนางเลิ้ง ชุมชนเก่าแก่แห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร รวมถึงราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือสนามม้านางเลิ้ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดฯ ให้สร้างและทรงเปิดสะพานนี้เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและสะพานเทวกรรมรังรักษ์

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ เป็นราชบัณฑิตและอดีตพระราชาคณะชั้นธรรมเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์

อารมณ์ มีชัย

นางอารมณ์ มีชัย อดีตครูชาวนครศรีธรรมราช นักต่อสู้การเมืองภาคประชาชน และเป็นผู้เข้าร่วมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นางอารมณ์เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและอารมณ์ มีชัย

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและจังหวัดยโสธร

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและจังหวัดสงขลา

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและธงทอง จันทรางศุ

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและขัตติยะ สวัสดิผล

คลองผดุงกรุงเกษม

ลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5) คลองผดุงกรุงเกษม ในปัจจุบัน คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดเมื่อ..

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและคลองผดุงกรุงเกษม

คลองเปรมประชากร

ริ่มต้นคลองเปรมประชากรเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม คลองเปรมประชากรที่ไหลผ่านบริเวณข้างทำเนียบรัฐบาล คลองเปรมประชากร (Khlong Prem Prachakon) หรือชื่อเดิมว่า คลองสวัสดิ์เปรมประชากร เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและคลองเปรมประชากร

โรงเรียนพิชญศึกษา

รงเรียนพิชญศึกษา (Pichaya Suksa School) เป็นโรงเรียนเอกชนสหศึกษาในย่านปากเกร็ด นนทบุรี ที่มีชื่อเสียง เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 94/1 หมู่ 8 ซอยสุขาประชาสรรค์3 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทร 02 5833777 และ 0655082108 ประเทศไท.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและโรงเรียนพิชญศึกษา

เมธี ชาติมนตรี

.ต.ท.เมธี ชาติมนตรี ขณะชุมนุมร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พันตำรวจโท เมธี ชาติมนตรี หรือรู้จักในชื่อ สารวัตรจ๊าบ (14 ตุลาคม พ.ศ.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและเมธี ชาติมนตรี

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ดู วัดโสมนัสราชวรวิหารและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

หรือที่รู้จักกันในชื่อ วัดโสมนัสวิหาร