เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

ดัชนี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 115 ความสัมพันธ์: บ. บุญค้ำชัย มุกตพันธุ์บาท (สกุลเงิน)บุญเท่ง ทองสวัสดิ์พ.ศ. 2444พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระพรหมมุนีพระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ)พระพุทธชินราชพระพุทธชินราช (จำลอง)พระพุทธชินราช (แก้ความกำกวม)พระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคลพระพุทธวรญาณพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)พระฝาง (พระพุทธรูป)พระฝางจำลอง (พระพุทธรูป)พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธีพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542พระราชาคณะชั้นธรรมพระราชาคณะเจ้าคณะรองพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพพระสุเมธมังคลาจารย์ (อมร อมรปญฺโญ)พระอารามหลวงพระอาจารย์อาจ พนรัตนพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)พระธรรมวโรดมพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน)พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมไตรโลกาจารย์พระครูโศภณธรรมาภรณ์ (จูม โชติโก)พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีพระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)พุ่มเทียนพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาพจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทยกฐินกรมศิลปากรกระบวนการดาแกโรไทป์กรุงเทพมหานครการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี... ขยายดัชนี (65 มากกว่า) »

บ. บุญค้ำ

ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและบ. บุญค้ำ

ชัย มุกตพันธุ์

ตราจารย์ ชัย มุกตพันธุ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) เป็นนักวิชาการชาวไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาปฐพีกลศาสตร์แห่งประเทศไทย ในอดีตเป็นเลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน อธิบดีกรมอาชีวศึกษา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสำคัญชิ้นหนึ่งคือ ร่วมเป็นผู้แทนของประเทศไทยในการก่อตั้ง บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร.ป.อ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและชัย มุกตพันธุ์

บาท (สกุลเงิน)

งินบาท (ตัวละติน: Baht; สัญลักษณ์: ฿; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 15,000 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 15,000 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน เหรียญไทยนั้นผลิตออกมาโดยสำนักกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค้ำประกัน เพราะโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญกปาษณ์นั้นมีค่าในตัวเองอยู่แล้ว ส่วนธนบัตรนั้นผลิตและควบคุมการหมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนำออกใช้จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพ ตามข้อมูลของสมาคมโทรคมนาคมทางการเงินระหว่างธนาคารทั่วโลก (SWIFT) สกุลเงินบาทได้รับการอันดับเป็นสกุลเงินอันดับที่ 10 ของโลกที่ใช้ในการชำระเงินระหว่างประเทศ (most frequently used currencies in World Payments).

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและบาท (สกุลเงิน)

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและบุญเท่ง ทองสวัสดิ์

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพ.ศ. 2444

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพรหมมุนี

พระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ)

ระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ) น..เอก ป..7 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนใต้ และเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ)

พระพุทธชินราช

ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพุทธชินราช

พระพุทธชินราช (จำลอง)

พระพุทธชินราช พระพุทธชินราช เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย นั่งสมาธิราบ จำลองแบบจากพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร พระพุทธชินราช มีขนาดหน้าตัก 5 ศอก คืบ 5 นิ้ว มีเศษน้ำหนักทองที่ใช้หล่อ 3,940 ชั่ง ตามตำนานเล่าว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสถาปนาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พุทธศักราช 2442 โปรดให้ออกแบบพระอุโบสถตกแต่งไว้ด้วยหินอ่อนงดงามวิจิตร จำเป็นต้องแสวงหาพระประธานที่มีความทัดเทียมกัน และทรงระลึกได้ว่า เมื่อ พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพุทธชินราช (จำลอง)

พระพุทธชินราช (แก้ความกำกวม)

ระพุทธชินราช อาจหมายถึง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพุทธชินราช (แก้ความกำกวม)

พระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล

ระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล (พระหยกเชียงราย) เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพุทธลักษณะแบบเชียงแสน แกะสลักจากหินหยกชนิดที่ดีที่สุดของประเทศแคนาดา ปางสมาธิ ฐานเขียง พระโมลีเป็นต่อมกลม ขนาดหน้าตักกว้าง 49.7 เซนติเมตร สูง 65.9 เซนติเมตร ฐานแกะสลักด้วยหินหยกสีเขียวเป็นรูปบัวสูงประมาณ 1 ศอก เป็นฐานบัวศิลปะเชียงแสน เครื่องทรงสร้างด้วยอัญมณีและทองคำ แบบเครื่องทรงแบบเชียงแสน ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เจริญพระชนมายุครบ 90 พรรษา เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล

พระพุทธวรญาณ

ระพุทธวรญาณ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย เริ่มพระราชทานครั้งแรกในปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพุทธวรญาณ

พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)

ระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) (2 มกราคม พ.ศ. 2462 - 29 มกราคม พ.ศ. 2557) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)

พระฝาง (พระพุทธรูป)

ระฝาง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทรงเครื่องอย่างจักรพรรดิราช ศิลปะสมัยอยุธยาวัสดุสัมฤทธิ์ลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 1 ศอก 1 คืบเศษ (31 นิ้ว) พระพุทธรูปองค์นี้สันนิษฐานว่าสร้างโดยเจ้าพระฝาง ในสมัยที่เป็นสังฆราชาเมืองฝาง และเคยเป็นพระประธานในอุโบสถวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ จนในปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระฝาง (พระพุทธรูป)

พระฝางจำลอง (พระพุทธรูป)

ระฝางจำลอง เป็นพระพุทธรูปสร้างใหม่ ประดิษฐานที่อุโบสถวัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ พระพุทธรูปองค์นี้จำลองมาจาก พระพุทธรูปพระฝาง ที่ประดิษฐาน ณ วัดเบญจมบพิตร ทั้งองค์จำลองและองค์จริงมีพุทธลักษณะปางมารวิชัย ทรงเครื่องอย่างจักรพรรดิราช ศิลปะสมัยอยุธยาวัสดุโลหะลงรักปิดทอง (องค์จริงโลหะสัมฤทธิ์ปิดทอง) หน้าตักกว้าง 1 ศอก 1 คืบเศษ (31 นิ้ว) พระพุทธรูปองค์นี้ คณะนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 41 และหลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 11, จังหวัดอุตรดิตถ์, กรมศิลปากร และพุทธศาสนิกชน ร่วมใจกันจัดสร้างขึ้นแล้วเสร็จในปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระฝางจำลอง (พระพุทธรูป)

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

ระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือชื่อเมื่อแรกเกิดว่า วุฒิชัย บุญถึง หรือรู้จักกันดีในนามปากกา ว.วชิรเมธี (29 มกราคม พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (20 มิถุนายน พ.ศ. 2422 - 20 กันยายน พ.ศ. 2487) อธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกและคนสุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ผู้เป็นต้นสกุล "ณ ป้อมเพชร์".

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมายุครบ 72 พรรษา หรือ 6 รอบ จัดขึ้นในสมัยรัฐบาลไทย ชวน หลีกภัยได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานพระราชพิธีเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งประกอบด้วยพระราชพิธีและรัฐพิธีต่างๆ ดังนี้.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระราชาคณะชั้นธรรม

พระราชาคณะเจ้าคณะรอง

ระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ เดิมจึงเรียกว่ารองสมเด็จพระราชาคณ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระราชาคณะเจ้าคณะรอง

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร; ประสูติ: 31 พฤษภาคม..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ

พระสุเมธมังคลาจารย์ (อมร อมรปญฺโญ)

ระสุเมธมังคลาจารย์ นามเดิม อมร ฉายา อมรปญฺโญ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระสุเมธมังคลาจารย์ (อมร อมรปญฺโญ)

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระอารามหลวง

พระอาจารย์อาจ พนรัตน

ระอาจารย์อาจ พนรัตน เป็นพระภิกษุชาวไทย เคยดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระพนรัตน ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร แต่ภายหลังถูกถอดจากสมณศักดิ์เนื่องจากมีพฤติกรรมรักร่วม.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระอาจารย์อาจ พนรัตน

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นามเดิม ฟู บรรเลง ฉายา อตฺตสิโว เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะ ฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่ และวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าคณะตรวจการภาค 4 และ 5 พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ได้ขึ้นไปจัดการศึกษาพระปริยัตรธรรมที่จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่าง..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคำ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)

พระธรรมวโรดม

ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระธรรมวโรดม

พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าคณะภาค 6 และอดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน)

พระธรรมโกศาจารย์

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระธรรมโกศาจารย์

พระธรรมไตรโลกาจารย์

ระธรรมไตรโลกาจารย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีพัดยศประจำตำแหน่งเป็นพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ มี 5 แฉก พื้นแพรต่วนสีแดง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระธรรมไตรโลกาจารย์

พระครูโศภณธรรมาภรณ์ (จูม โชติโก)

"พระครูโศภนธรรมาภรณ์ (จูม โชติโก)" (2441-2530) อดีตเจ้าอาวาสวัดเวฬุวันและรองเจ้าคณะอำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี สานุศิษย์ผู้เคารพศรัทธานิยมเรียกนามท่านว่า “หลวงปู่จูมหรือพ่อท่าน” นับเป็นเถระผู้นำภารธุระทั้งด้านคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ควบคู่กันอย่างเข้มข้นเต็มความสามารถโดยเฉพาะการพัฒนาการศึกษาสงฆ์และพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็นการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ทั้งสติปัญญา ร่างกาย และจิตใจ ตลอดจนการบ่าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างใหญ่หลวง เป็นแบบอย่างของพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ และทรงไว้ซึ่ง ภูมิธรรม ภูมิปัญญา อย่างแท้จริง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระครูโศภณธรรมาภรณ์ (จูม โชติโก)

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรฯ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2337 - 27 เมษายน พ.ศ. 2399) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1156 ตรงกับวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

พระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)

ระเทพคุณาธาร​ (อภัย​อภโย) (นามเดิม: อภัย วงศ์บุปผา) (15 ตุลาคม พ.ศ. 2465 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) อดีตเจ้าคณะจังหวัดระยอง และอดีตเจ้าอาวาสวัดป่าประดู่ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)

ัณฑสถานแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน นับตั้งแต่ครั้งสมัยรัชกาลที่ 4 ปัจจุบัน มีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั่วทุกภาค และกระจายในหลายจังหวัด ดังนี้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแบ่งตาม.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)

พุ่มเทียน

พุ่มเทียน พุ่มเทียน พุ่มเทียน พุ่มเทียน คือเครื่องสักการะอย่างหนึ่งในเทศกาลเข้าพรรษา สำหรับถวายเป็นพุทธบูชา หรือถวายพระภิกษุสงฆ์ พุ่มเทียนทำด้วยขี้ผึ้ง กดเป็นรูปคล้ายเมล็ดข้าวโพดเรียงแถวกัน หรือเป็นรูปกลีบดอกไม้เล็ก ๆ ติดเรียงกันบนกระดาษปั้นเป็นทรงพุ่มอย่างละเอียดประณีต ต่อยอดแหลมทำจากขี้ผึ้งหุ้มแกนไม้ มีกระดาษอังกฤษสีเงินทองจักฝอยประดับบนปลายให้ดูระยิบระยับ วางบนฐานลักษณะคล้ายพานปั้นด้วยดิน ทาสี สำหรับสีของพุ่มนั้นมีทั้งสีเหลืองล้วน หรือย้อมขี้ผึ้งเป็นสีสันต่างๆ และประดิษฐ์เป็นลวดลายต่างๆ ตามแต่จะคิดสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ของการถวายพุ่มเทียน นอกจากเพื่อความสวยงามเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังเป็นการถวายขี้ผึ้งสำรองแด่พระภิกษุสงฆ์ ในกรณีน้ำมันตะเกียง หรือเทียนหมด ก็จะสามารถนำขี้ผึ้งจากพุ่มเทียนมาฟั่นเป็นเทียนใช้ได้ในระหว่างเข้าพรรษา ถือเป็นราชประเพณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะถวายพุ่มเทียนแด่พระพุทธรูป และพระสงฆ์ ในพระราชกุศลเข้าพรรษา เป็นประจำทุกปี ตามพระอารามสำคัญต่างๆ เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดบวรนิเวศวิหาร วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาจึงยังพอมีพุ่มเทียนตั้งถวายเป็นพุทธบูชาที่หน้าพระประธาน ให้พอได้เห็นได้ศึกษากันอยู่บ้างในปัจจุบัน ปัจจุบัน มีผู้รู้จักเครื่องสักการะชนิดนี้น้อยลงทุกวัน แม้ยังพอมีจำหน่ายอยู่บ้างตามร้านสังฆภัณฑ์ แต่ก็ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักหรือเป็นที่นิยม กล่าวกันว่ามีแหล่งผลิตเพียงเจ้าเดียวในปัจจุบัน ต่างจากสมัยก่อนที่มีผู้ผลิตและผู้จำหน่ายพุ่มเทียนนับร้อยเจ้า แม้ทุกวันนี้ร้านสังฆภัณฑ์หลายร้านยังไม่รู้จักเสียด้วยซ้ำว่าพุ่มเทียนคืออะไร นับวันเครื่องสักการะชนิดนี้จึงสูญหายไปจากแท่นบูชาตามบ้านและวัดต่างๆ จนจะใกล้สูญสิ้นไปจากเมืองไทย "คำกล่าวถวายเทียนจำนำพรรษา" ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง ภันเต เอตัง ปะทีปะยุคัง สะปะริวารัง เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ อิมัสสะหมิง อุโปสะถาคาเร นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ ปะทีปะยุคัสสะ ทานัสสะ อานิสังโส อัมหากัญเจวะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ปิยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ หมวดหมู่:พิธีกรรมในศาสนาพุทธ หมวดหมู่:ศิลปะ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพุ่มเทียน

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

พจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย

นานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย เป็นพจนานุกรมศัพท์ทางพระพุทธศาสนามหายานเล่มแรกของไทย ที่รวบรวมคำศัพท์ทางพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎกจีน รวมถึงอรรถกถา และปกรณ์คัมภีร์ต่างๆ ภายในเล่มบรรจุคำศัพท์ทั้งภาษาจีน สันสกฤต บาลี มีคำแปลความหมายเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย เนื้อหาครอบคลุมทั้งพระพุทธศาสนามหายาน เถรวาท และลัทธิปรัชญาทั้งในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น ตลอดจนขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมทางศาสนาของเอเชียตะวันออก จัดพิมพ์เผยแพร่โดยคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เมื่อ..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและพจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย

กฐิน

กฐินเป็นประเพณีที่อยู่คู่กับพุทธศาสนิกชนไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์ไทยนั้นจัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญมาตั้งแต่โบราณ กฐิน (บาลี: กน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐิน หรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ และอนุเคราะห์ภิกษุผู้ทรงคุณที่มีจีวรชำรุด ดังนั้นกฐินจึงจัดเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังฆกรรมของพระสงฆ์โดยจำเพาะ ซึ่งนอกจากในพระวินัยฝ่ายเถรวาทแล้ว กฐินยังมีในฝ่ายมหายานบางนิกายอีกด้วย แต่จะมีข้อกำหนดแตกต่างจากพระวินัยเถรวาท การได้มาของผ้าไตรจีวรอันจะนำมากรานกฐินตามพระวินัยบัญญัติของเถรวาทนี้ พระพุทธองค์ไม่ทรงห้ามการรับผ้าจากผู้ศรัทธาเพื่อนำมากรานกฐิน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้เกิดทานพิธีการถวายผ้ากฐิน หรือการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนขึ้น และด้วยการที่การถวายผ้ากฐินนั้น จัดเป็นสังฆทาน คือถวายแก่คณะสงฆ์โดยไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เพื่อให้คณะสงฆ์นำผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งตามที่คณะสงฆ์ลงมติ (ญัตติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน ที่มีกำหนดเขตเวลาถวายแน่นอน คณะสงฆ์วัดหนึ่ง ๆ สามารถรับได้ครั้งเดียวในรอบปี จึงทำให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นบุญประเพณีนิยมที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ประเพณีการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนไทยมีมาช้านาน โดยมีทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์จัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญประจำปี ในปัจจุบันถวายผ้ากฐินในแง่การสนับสนุนผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในสังฆกรรมสำคัญของคณะสงฆ์ได้ถูกลดความสำคัญลงไป แต่กลับให้ความสำคัญกับบริวารของกฐินทานแทน เช่น เงิน หรือวัตถุสิ่งของ เพื่อนำสิ่งเหล่านี้มาพัฒนาถาวรวัตถุและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งจัดเป็นสังฆทานอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน กฐินมีกำหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผ้าชนิดอื่นมิได้ ระยะเวลานั้นมีเพียง 1 เดือน คือตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรียกว่า กฐินกาล คือระยะเวลา ทอดกฐิน หรือ เทศกาลทอดกฐิน.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและกฐิน

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและกรมศิลปากร

กระบวนการดาแกโรไทป์

หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (ค.ศ. 1787 - 1851) ดาแกโรไทพ์ (Daguerreotype) ถูกคิดค้นโดย หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (พ.ศ. 2330 - 2394) โดยดาแกร์ได้ทดลองเกี่ยวกับวัสดุไวแสง เพื่อใช้บันทึกภาพจากกล้องออบสคูร่าโดยตั้งชื่อว่ากระบวนการ ไดออรามา (Diorama) และในขณะเดียวกัน โจเซฟ นีเซฟอร์ เนียฟ ก็ได้คิดค้นกระบวนการเฮลิโอกราฟฟี (Heliograghy) อยู่เช่นกัน แต่ทั้งสองเก็บเป็นความลับเรื่อยมาจนกระทั่งได้รู้จักกันโดยการชักนำของสองพี่น้องช่างทำแว่นตาและต่อมาทั้งสองได้ทำสัญญาเป็นหุ้นส่วนกัน แต่เมื่อทำสัญญาได้เพียง 4 ปี เนียฟกลับถึงแก่กรรมไปเสียก่อน และดาแกร์ ได้นำกระบวนการเฮลิโอกราฟฟี่ (Heliograghy) ของ เนียฟ และกระบวนการไดออรามาของ ดาแกร์ เองมารวมกันแล้วทดลองถ่ายภาพปรากฏว่าเป็นผลสำเร็จเขาจึงตั้งชื่อกระบวนการใหม่นี้ว่า ดาแกโรไทพ์ (Daguerreotype) ภาพแรกที่ดาแกร์ทำสำเร็จจนทำให้เขาได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งการถ่ายภาพสมัยใหม่ มีชื่อว่าห้องภาพจิตรกร (The Artist’s studio) โดยเป็นการถ่ายภาพหุ่นนิ่งหรือภาพ(still Life) วัตถุที่ใช้เป็นแบบได้แก่ภาพวาด รูปแกะสลักที่เป็นฝีมือของเขาเอง เมื่อข่าวความสำเร็จแพร่ขยายออกไปทำให้ผู้คนสนใจเป็นอันมากโดยเฉพาะ ฟรังซัว อารากอล (Francois Aragol) นักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งกรุงปารีส ได้มาขอศึกษาความรู้จาก ดาแกร์และนำไปเผยแพร่สาธิตต่อ และเขายังได้เสนอรัฐบาลฝรั่งเศสซื้อลิขสิทธิ์จากดาแกร์ เมื่อรัฐบาลเห็นชอบได้ซื้อลิขสิทธิ์และได้โอนให้สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งกรุงปรารีสพัฒนา และต่อมารัฐบาลฝรั่งเศส ก็ได้ประกาศให้กระบวนการ ดาแกร์โรไทพ์ (Daguerreotype) เป็นของสาธารณะ ผู้ใดจะนำไปใช้ก็ได้โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ เมื่อดาแกร์เห็นว่ามีคนสนใจกระบวนการของเขาเป็นอันมากเขาจึงได้เขียนหนังสือเพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาขึ้นมาเล่มหนึ่งชื่อว่า (The History and Description of the Process Named the Daguerreotype) มีจำนวน 79 หน้าและได้พิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศสถึง 29 ครั้งและเป็นภาษาอื่นแพร่หลายไปทั่วซีกโลกตะวันตก แต่มีคนติว่าดาแกร์ใช้คำยากเกินไปและมีศัพท์วิทยาศาสตร์อยู่มาก ทำให้ผู้อ่านไม่เข้าใจ รัฐบาลจึงสั่งให้ดาแกร์สาธิตกระบวนการให้สาธารณชนได้ดู เพื่อให้สาธารณชนได้เข้าใจแจ่มแจ้ง และทุกครั้งที่มีการสาธิตเมื่อจบการสาธิตผู้คนต่างพากันแย่งซื้ออุปกรณ์ในการทำกระบวนการนี้เป็นเสมือนหนึ่งว่าเป็นของฝากจากกรุงปารีส จนทำให้เกิดร้านขายอุปกรณ์เหล่านี้อยู่มากมากทั่วกรุงปรารีส เพียง 1 ปีหลังจากคิดค้นได้สำเร็จกระบวนการนี้ได้กระจายอยู่ทั่วไปในซีกโลกตะวันตก และเพียง 6 ปีจากนั้นดาแกร์โรไทพ์ก็ได้มาถึงประเทศไทยพร้อมเรือสินค้าของพวกฝรั่งในปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและกระบวนการดาแกโรไทป์

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและกรุงเทพมหานคร

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีสิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและการสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ (มิสึโอะ ชิบะฮะชิ) หรือ อดีตพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นอดีตพระภิกษุชาวญี่ปุ่น บวชในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท).

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและมิตซูโอะ ชิบาฮาชิ

มนัสนิตย์ วณิกกุล

ท่านผู้หญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล (สกุลเดิม: ศรีวิสารวาจา; 27 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 เมษายน พ.ศ. 2558) อดีตราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และอดีตเลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ โดยได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานานกว่า 60 ปี.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและมนัสนิตย์ วณิกกุล

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีม่วงอ่อนบนแผนที.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)

รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

นี่คือรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ

วัดพระฝาง หรือชื่อเต็มว่า วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ตามทะเบียนวัดระบุว่า ประมาณปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เป็นวัดอารามใน ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ตรงข้ามกับสถานีรถไฟลพบุรี สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่มีการปรับปรุงซ่อมแซมหลายครั้งทั้งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระราเมศวร และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ องค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุยังปรากฎบนผลงานภาพจิตรกรรมฯ 8 จอมเจดีย์แห่งสยาม ณ วัดเบญจมบพิตร อีกด้ว.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

วัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)

วัดพระสิงห์ (50px) เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่ ถนนท่าหลวง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 52 ตารางวา ทิศเหนือติดถนนสิงหไคล ทิศใต้ติดถนนพระสิงห์ ทิศตะวันออกติดถนนท่าหลวง ทิศตะวันตกติดถนนภักดีณรงค์ สันนิษฐานกันว่าน่าจะสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้ามหาพรหม ซึ่งเป็นพระอนุชาของพญากือนา ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ ราวปีพ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและวัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)

วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)

วัดท่าถนน เดิมชื่อ วัดวังเตาหม้อ อยู่ตรงข้ามสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ ประดิษฐานหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ 1 หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ทั้งองค์ ในบริเวณวัดมีอาคารศิลปะแบบตะวันตก สร้างเมื่อ พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและวัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)

วัดไทยพุทธคยา

วัดไทยพุทธคยา เป็นวัดไทยแห่งแรกในประเทศอินเดีย เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 มีเนื้อที่ราว 12 ไร่ (5 เอเคอร์) ตั้งอยู่บริเวณพุทธคยา อยู่ห่างจากองค์เจดีย์พุทธคยาประมาณ 500 เมตร เป็นวัดที่อยู่ในความดูแลและอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย ปัจจุบันมีพระเทพโพธิวิเทศ (วีรยุทธ์ วีรยุทฺโธ) เป็นเจ้าอาวาส พระอุโบสถของวัดไทยพุทธคยาจำลองแบบมาจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมของสมัยรัตนโกสินทร์ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งการจำลองแบบจนดูเหมือนนี้ไม่ใช่เฉพาะภายนอก แต่ยังมีภายในที่เหมือนกันด้วย เช่น องค์พระประธานที่เป็นพระพุทธชินราช แกลประตู แกลหน้าต่าง เป็นต้น.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและวัดไทยพุทธคยา

ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ประชากรของประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่อดีตเคยมีพระพุทธศาสนาแบบมหายานเข้ามาประดิษฐานอยู่ พระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองมาก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีโบราณสถานที่สำคัญ 2 แห่งอยู่ในอินโดนีเซียคือ บรมพุทโธ (โบโรบุดูร์) ตั้งอยู่ที่ราบเกฑุ (kedu) ในภาคกลางของชวา ห่างจากเมืองยอกจาการ์ตา (Jogjagata) ในปัจจุบันทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร และพระวิหารเมนดุต (Mendut) ซึ่งอยู่ห่างจาก โบโรบุดูร์ไปทางทิศตะวันออก 3 กิโลเมตร ต่อมาเมื่ออิสลามได้ขยายอำนาจครอบงำอินโดนีเซียในปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและศาสนาพุทธในประเทศไทย

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมัคร สุนทรเวช

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์

มเด็จพระพุทธชินวงศ์ เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นสมเด็จพระราชาคณะ เริ่มพระราชทานครั้งแรกในปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธชินวงศ์

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)

มเด็จพระพุทธชินวงศ์ นามเดิม สุวรรณ เขื่อนเพ็ชร ฉายา สุวณฺณโชโต อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์

สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)

มเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ นามเดิม ช่วง สุดประเสริฐ ฉายา วรปุญฺโญ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (พระอารามหลวง) ประธานสมัชชามหาคณิสสร และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)

สมเด็จพระวันรัต

มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต

สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม จ่าย ฉายา ปุณฺณทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่หนใต้.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)

สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

มเด็จพระวันรัตน์เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 123 นามเดิม ทับ ฉายา พุทฺธสิริ (6 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นโดยปรับจากราชทินนาม "สมเด็จพระอริยวงษญาณ" ซึ่งใช้มาแต่เดิม และพระราชทานแก่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) เป็นรูปแรก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) เจ้าคณะใหญ่คณะเหนือ เป็นสมเด็จพระสังฆราชในราชทินนามเดิม "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" จึงใช้เป็นราชทินนามของสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นสามัญชนมานับแต่นั้น.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าละม่อม (8 ธันวาคม พ.ศ. 2361 - 17 สิงหาคม พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สวัสดิ์ วัฒนายากร

นายสวัสดิ์ วัฒนายากร (8 ตุลาคม พ.ศ. 2477 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นอดีตองคมนตรี อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด และอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสวัสดิ์ วัฒนายากร

สะพานชมัยมรุเชฐ

นชมัยมรุเชฐ สะพานชมัยมรุเชฐ เป็นสะพานข้ามคลองเปรมประชากร อยู่บนถนนพิษณุโลกบริเวณแยกพาณิชยการจุดจัดกับถนนพระรามที่ 5 แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โรงเรียนราชวินิต มัธยม และใกล้เคียงกับวัดเบญจมบพิตร สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและสะพานชมัยมรุเชฐ

หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา

ันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป..(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา

หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค มีนามเดิมว่า หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์ ป.., ท..ว.,.ป.ร. 1 (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465-23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของหม่อมหลวงบัว กิติยากร พระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยในเพลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เพลินภูพิงค์ เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย แผ่นดินของเรา เตือนใจ ไร้เดือน เกาะในฝัน มาร์ชราชนาวิกโยธิน หม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค และพันโทสุรธัช บุนนาค หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ จึงใช้คำนำหน้าท่านผู้หญิง.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์

มหาอำมาตย์โท หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์ (15 มกราคม พ.ศ. 2400 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์ ประสูติเมื่อ 15 มกราคม พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและหม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์

หลวงพ่อเพ็ชร (วัดท่าถนน)

หลวงพ่อเพ็ชร์ เป็นพระพุทธรูปเนื้อโลหะสำริด ปางมารวิชัย (ขัดสมาธิเพชร) ศิลปะเชียงแสนสิงห์หนึ่ง หน้าตักกว้าง 32 นิ้ว มีพุทธลักษณะงดงามมาก ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วิหารวัดท่าถนน ชาวอุตรดิตถ์นับถือว่า เป็นพระพุทธรูปสำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ มีงานนมัสการประจำปีในวันกลางเดือนสี่ของทุกปี.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและหลวงพ่อเพ็ชร (วัดท่าถนน)

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและจังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและจังหวัดสุพรรณบุรี

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและจังหวัดเชียงราย

จากดวงใจ

กดวงใจ เป็นอัลบั้มชุดที่ 2 ของ วงเพื่อน ออกวางแผงเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยในอัลบั้มชุดนี้ ตวงสิทธิ์ เรียมจินดา ได้เข้าร่วมวงเป็นชุดแรกในตำแหน่งคีย์บอร์ดและนักร้องนำ ในอัลบั้มชุดนี้มีเพลงดังมากมายเช่น จากดวงใจ,งานวัด,รักบึงเก่า,ตี๋ดอยตุง,เท่านั้นเอง,ดู ดู ดู แสนเศร้า,ใจคนคอย,พรุ่งนี้.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและจากดวงใจ

ถนนศรีอยุธยา

นนศรีอยุธยาบริเวณหน้าโรงพยาบาลพญาไท 1 สนามเสือป่า โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ถนนศรีอยุธยา (Thanon Si Ayutthaya) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนราชปรารภ เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนพญาไท (สี่แยกพญาไท) ถนนพระรามที่ 6 (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่เขตดุสิต จากนั้นตัดกับถนนสวรรคโลก (สี่แยกเสาวนี) ถนนพระรามที่ 5 (สี่แยกวัดเบญจฯ) ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยกหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า) ถนนนครราชสีมา (สี่แยกหอประชุมทหารบก) และถนนสามเสน (สี่แยกสี่เสาเทเวศร์) ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและถนนศรีอยุธยา

ถนนนครปฐม

นนนครปฐม ถนนนครปฐม (Thanon Nakhon Pathom) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เดิมในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีชื่อว่า ถนนฮก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "ถนนนครปฐม" เมื่อ..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและถนนนครปฐม

ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าววรจันทร บรมธรรมิกภักดี นารีวรคณานุรักษา (เจ้าจอมมารดาวาด) (11 มกราคม พ.ศ. 2384 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เจ้าจอมมารดาวาด มีนามเดิมว่า "แมว" เป็นบุตรของสมบุญ งามสมบัติ (มหาดเล็กในรัชกาลที่ 3) กับถ้วย งามสมบัติ (ท้าวปฏิบัติบิณฑทาน)กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) ท้าวอินทรสุริยา นามเดิม เนื่อง จินตดุล (10 ธันวาคม พ.ศ. 2428 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2517) เป็นพระพี่เลี้ยงผู้ถวายการอภิบาลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)

ดิอะเมซิ่งเรซ 9

อะเมซิ่ง เรซ 9 (The Amazing Race 9) เป็นฤดูกาลที่ 9 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและดิอะเมซิ่งเรซ 9

คะนัง กิราตกะ

รูปภาพของคะนังในวัยเด็ก พลเสือป่า คะนัง กิราตกะ (หรือสะกดว่า คนัง) เป็นเงาะป่าที่มีชื่อเสียงด้วยได้รับการชุบเลี้ยงจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์สยาม ให้อยู่ในพระบรมมหาราชวังเพื่อถวายตัวเป็นมหาดเล็ก จากการที่คนังเล่าเรื่องราวของวิถีชีวิตของชาวซาไกถวายพระพุทธเจ้าหลวง จึงเป็นแรงบันดาลใจให้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง เงาะป่าประวิทย์ สุวณิชย์ (4 เมษายน 2531).

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและคะนัง กิราตกะ

คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

ณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เป็นคณะสงฆ์นิกายมหายานของชาวไทยเชื้อสายจีน ถือกำเนิดมาจากชาวจีนที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบนผืนแผ่นดินไทย ได้นำเอาวัฒนธรรม ศาสนา และความเชื่อดั้งเดิมของตนเข้ามาประพฤติปฏิบัติ แรกเริ่มที่ยังไม่มีพระภิกษุ ชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าจีนขึ้นก่อนเพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระภิกษุจีนแถบมณฑลกวางตุ้งจาริกเข้ามาปฏิบัติศาสนกิจมากขึ้น นำไปสู่การจัดระเบียบการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์จีนได้ถือกำเนิดขึ้นบนแผ่นดินไทยและมีความเจริญสืบเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน ในปัจจุบันการปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและต้นพระศรีมหาโพธิ์

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2444

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2444 ในประเทศไท.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและประเทศไทยใน พ.ศ. 2444

ปีเตอร์ สกิลลิง

ร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและปีเตอร์ สกิลลิง

นาคหลวง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงประเคนพัดรอง ในการพระราชทานอุปสมบทนาคหลวง เนื่องในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบทนาคหลวง ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง นาคหลวง หมายถึง ผู้ที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบท นาคหลวง มี 2 ประเภท คือ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและนาคหลวง

โกศ

ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและโกศ

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

โรงเรียนราชินีบน

ป็นโรงเรียนหญิงล้วนระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ที่ตึกถนนอัษฎางค์ ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร เพื่ออบรมให้เป็นนักเรียนผู้ดีที่ทันสมัย แต่คงความเป็นกุลสตรีที่งดงาม เพรียบพร้อมในทุกๆด้าน โรงเรียนราชินีบนให้เป็นสถานศึกษาที่มีความพร้อมและทันสมัยในทุกๆด้าน มีความสะอาด สงบร่มรื่น ปัจจุบันโรงเรียนมีเนื้อที่15ไร่ 3งาน 74ตารางวา สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ประทานนาม โรงเรียนว่า “ โรงเรียนราชินีบน ” เมื่อ..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและโรงเรียนราชินีบน

ไกลบ้าน

กลบ้าน เป็นพระราชนิพนธ์ลายพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและไกลบ้าน

เหรียญ 5 บาท

หรียญ 5 บาท เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย ด้านหน้าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ด้านหลังเป็นอักษรพระปรมาภิไธย วปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ ออกใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเหรียญ 5 บาท

เจดีย์

ระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เจดีย์ (ภาษาบาลี: เจติย, ภาษาสันสกฤต: ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี: ถูป, ภาษาสันสกฤต: สฺตูป) เป็นสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย เจดีย์ หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์ สำหรับประเทศไทย คำว่า สถูป และ เจดีย์ เรามักรวมเรียกว่า “สถูปเจดีย์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ หรือเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคงมีการสร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพบูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้ว.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจดีย์

เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร)

ระตำรวจเอก เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ สมุหพระตำรวจ ต้นสกุลศุภมิตร.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร)

เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5 สกุลเดิม นิยะวานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2418 ที่บ้านบางขุนพรหมในพระนคร เป็นบุตรีของพระนรินทราภรณ์ (ลอย นิยะวานนท์) กับ ปริก โดยปู่ของท่านเป็นน้องชายของเจ้าจอมมารดาอำพา ในรัชกาลที่ 2 (พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ ต้นราชสกุลกปิตถา และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ต้นราชสกุลปราโมช) เมื่อท่านอายุได้ 9 ปี ได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง กับ เจ้าจอมมิ ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นลูกของป้าท่าน แล้วจึงถวายตัวแด่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินินาถ แล้วได้เป็นละครหลวง ต่อมาทรงพระกรุณาให้เป็นเป็นเจ้าจอม ประสูติพระเจ้าลูกเธอรวม 2 พระองค์ คือ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมสมบูรณ์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมสมบูรณ์ ท..ในรัชกาลที่ 5 เกิดที่บ้านตำบลถนนสำเพ็ง กรุงเทพมหานคร เมื่อ ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2420 บิดาของท่านคือ นายซุ้ย มันประเสริฐ (2404-2470) มารดาคือ ท่านบุญมา สกุลของท่านนั้นสืบมาแต่ ท่านหมื่นประเสริฐ หรือ เจ้าสัวมัน นายอากรในรัชกาลที่ 3 นามสกุลนี้จึงได้รับพระราชทานพระมหากรุณาพระราชทานว่า"มันประเสริฐ" ท่านเจ้าจอมมีน้องร่วมมารดา 4 คน ร่วมบิดาอีก 4 คน ถึงแก่กรรมครั้งยังเยาว์เกือบทุกคน คงมีชีวิตจนโตอยู่เพียงคนเดียว ชื่อ นายใหม่ มันประเสริฐ แต่ก็ถึงแก่กรรมไปก่อนท่านเช่นกัน เมื่อท่านมีอายุพอสมควร บิดาจึงส่งเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ในที่สุดทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เป็นเจ้าจอม รับราชการใกล้ชิดพระยุคลบาท มาตลอดทั้งในพระบรมมหาราชวัง และพระราชวังสวนดุสิต ท่านรับราชการมาจนสิ้นรัชกาลที่ 5 จึงกราบถวายบังคมทูลลาออกมาพักอยู่บ้านเดิมในสำเพ็ง แต่ยังคงเข้าเฝ้าพระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฎ ที่พระราชวังสวนสุนันทาโดยตลอด จนสิ้นพระชนม์ ในปี..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจ้าจอมสมบูรณ์ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าคณะอรัญวาสี

้าคณะอรัญวาสี คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์อรัญวาสี เจ้าคณะอรัญวาสีรูปสุดท้ายคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (แพ ติสฺสเทโว) ภายหลังจากพระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชก็มิได้มีพระสงฆ์รูปใดได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าคณะอรัญวาสีอีก คงมีแต่ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลางเท่านั้น.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจ้าคณะอรัญวาสี

เจ้าคณะใหญ่หนใต้

้าคณะใหญ่หนใต้ คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนใต้ ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจ้าคณะใหญ่หนใต้

เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ

้าคณะใหญ่หนเหนือ คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์มหานิกายหนเหนือ ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเขตดุสิต

เขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 5

ตปกครองคณะสงฆ์ภาค 5 เป็นส่วนหนึ่งของเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 ฉบับแก้ไขปรับปรุงพุทธศักราช 2535 ที่ให้อำนาจมหาเถรสมาคมในการจัดแบ่ง และแต่งตั้งผู้ปกครองที่เรียกว่าเจ้าคณะภาค อันมีอำนาจหน้าที่ในการมอบนโยบาย บริหารกิจการคณะสงฆ์ ในเข 4 จังหวัด อันประกอบด้วย จังหวัดพิษณุโลก, จังหวัดสุโขทัย, จังหวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดตาก ปัจจุบันในฝ่ายมหานิกายมีพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) (ป.ธ.๙) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เป็นเจ้าคณ.

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 5

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดารานพรัตนขึ้นสำหรับใช้ประดับที่เสื้อ ซึ่งทรงเรียกว่า "เครื่องประดับสำหรับยศ" นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างแหวนนพรัตนสำหรับพระราชทานแก่พระราชวงศ์ฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างดวงตรามหานพรัตน สำหรับห้อยสายสะพายขึ้นเป็นครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะ และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้นราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑๕, ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง เล่มที่ ๒, ๔ ธันวาคม..

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

5

5 (ห้า) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4 (สี่) และอยู่ก่อนหน้า 6 (หก).

ดู วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารและ5

หรือที่รู้จักกันในชื่อ กุฏิสมเด็จวัดเบญวัดเบญจมบพิตรวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัดเบญจมบพิตร

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิมนัสนิตย์ วณิกกุลรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรีวัดพระสิงห์ (จังหวัดเชียงราย)วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)วัดไทยพุทธคยาศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซียศาสนาพุทธในประเทศไทยสมัคร สุนทรเวชสมเด็จพระพุทธชินวงศ์สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)สมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)สมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สวัสดิ์ วัฒนายากรสะพานชมัยมรุเชฐหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาคหม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์หลวงพ่อเพ็ชร (วัดท่าถนน)จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดเชียงรายจากดวงใจถนนศรีอยุธยาถนนนครปฐมท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)ดิอะเมซิ่งเรซ 9คะนัง กิราตกะคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทยต้นพระศรีมหาโพธิ์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2444ปีเตอร์ สกิลลิงนาคหลวงโกศโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรโรงเรียนราชินีบนไกลบ้านเหรียญ 5 บาทเจดีย์เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร)เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมสมบูรณ์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าคณะอรัญวาสีเจ้าคณะใหญ่หนใต้เจ้าคณะใหญ่หนเหนือเขตดุสิตเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 5เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์5