โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

ดัชนี วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยมีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) เป็นผู้อำนวยการก่อสร้าง มีลักษณะผสมระหว่างสถาปัตยกรรมไทยกับสถาปัตยกรรมตะวันตก คือ ลักษณะภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมไทย ส่วนภายในออกแบบตกแต่งอย่างตะวันตก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่าวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม หมายถึง วัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง และมีมหาสีมาอันเป็นเสาศิลาจำหลักยอดเป็นรูปเสมาธรรมจักร 8 เสา ตั้งเป็นสีมาที่กำแพง 8 ทิศ “ราชบพิธ” หมายถึง พระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง บพิธ คำนี้มาจากภาษาบาลีคือ ปวิธะ ที่แปลว่าสร้าง ส่วน “สถิตมหาสีมาราม” หมายถึง พระอารามซึ่งมีสีมากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม นับเป็นพระอารามหลวงสุดท้าย ที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างตามโบราณราชประเพณีที่มีการสร้างวัดประจำรัชกาล.

95 ความสัมพันธ์: ชิต บุรทัตพ.ศ. 2412พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพรหมมุนีพระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)พระพุทธรูปประจำพระชนมวารพระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ)พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษาพระราชาคณะชั้นธรรมพระราชาคณะเจ้าคณะรองพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณพระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)พระสาสนโสภณพระอารามหลวงพระอุบาลีคุณูปมาจารย์พระผง ๙ สมเด็จพระธรรมปาโมกข์พระครูพินิจสุตคุณ (ทองสุข อินฺทโชโต)พระเมรุมาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้าพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติพฤษภาคม พ.ศ. 2548กฐินการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีกุฎาคารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาเถรสมาคมรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อพระธาตุเจดีย์รายชื่อวัดประจำรัชกาลรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชวัดมัชฌันติการาม...วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารวัดราชผาติการามวรวิหารวัดสวนดอก (พระอารามหลวง)วัดโพธิสมภรณ์ศาสนาพุทธในประเทศไทยสมยศ ทัศนพันธ์สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร)สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระมหามุนีวงศ์สมเด็จพระราชาคณะสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสะพานช้างโรงสีสะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)สะพานหกสันติ ลุนเผ่สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์หลวงปู่ฝั้น อาจาโรหนังสือเรือนไทยอาคารอนุรักษ์อำเภอบางซ้ายอนุสาวรีย์หมูผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดราชบุรีธงทอง จันทรางศุคชภัค ผลธนโชติคลองหลอดประเทศไทยใน พ.ศ. 2412นาคหลวงโรงเรียนวัดราชบพิธโรงเรียนหนองไผ่เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5เจ้าคณะอรัญวาสีเจ้าคณะใหญ่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตเขตพระนคร ขยายดัชนี (45 มากกว่า) »

ชิต บุรทัต

นายชิต บุรทัต (6 กันยายน พ.ศ. 2435 - 27 เมษายน 2485) บุตรนายชู นางปริก เดิมนามสกุล "ชวางกูร" เป็นผู้มีความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ร้อยกรอง โดยเฉพาะฉันท์ เป็นกวีที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 6 สมรสกับนางจั่น แต่ไม่มีบุตรธิดา SKRT.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและชิต บุรทัต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระพรหมมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)

ระพรหมมุนี นามเดิม สุชิน มงคลแถลง ฉายา อคฺคชิโน วิทยฐานะ ประโยค 1-2, ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษากรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 14-15 (ธรรมยุต) รักษาการเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต) แม่กองธรรมสนามหลวง รองแม่กองงานพระธรรมทูต หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 7 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเลขานุการสมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)

ระพรหมวิสุทธาจารย์ นามเดิม มนตรี บุญถม ฉายา คณิสฺสโร เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) รองแม่กองธรรมสนามหลวง และเจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์วรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร

มเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนฯในงานฉลองพระอัฐิ พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร เป็นพระพุทธรูปที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์มีพระราชศรัทธาสร้างขึ้นประจำพระองค์หรือสร้างถวายพระบรมราชบุพการี ในวาระโอกาสสำคัญต่างๆ อาทิ การเฉลิมพระชนมพรรษา การฉลองพระประสูติการ ฯลฯ โดยพระพุทธรูปประจำพระชนมวารส่วนใหญ่ มักจะเป็นพระพุทธรูปประจำวันพระราชสมภพหรือวันประสูติของพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์นั้นๆ ดังนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระพุทธรูปประจำพระชนมวาร · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ)

ระพุทธิสารโสภณ รองศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม เดช ศาลา ฉายา กตปุญฺโญ เจ้าอาวาสวัดวัดมัชฌันติการาม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)

มหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2460) นามเดิม กมล สาลักษณ สมุหพระอาลักษณ์ เลขานุการรัฐมนตรีสภา ปลัดทูลฉลองกระทรวงเกษตราธิการ ปลัดทูลฉลองกระทรวงมุรธาธร ผู้ช่วยราชเลขาธิการ ราชเลขานุการ องคมนตรี.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา

ระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา พุทธศักราช 2520 จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 เป็นเวลาหมื่นวันเศษ ใน พ.ศ. 2520 ซึ่งเป็นปีที่เจริญพระชนมพรรษาครบ 50 พรรษา อันเป็นมหามงคลพิเศษ สำนักพระราชวัง ด้วยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมัย พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้กราบบังคมทูลถึงราชประเพณีที่เคยปฏิบัติมาในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมอัยกาธิราชเจ้าจึงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษอันเป็นมหามงคลพิเศษสมัย ในโอกาสนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอด้วย และพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีหมายกำหนดพระราชพิธี ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะเจ้าคณะรอง

ระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ เดิมจึงเรียกว่ารองสมเด็จพระราชาคณ.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระราชาคณะเจ้าคณะรอง · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร ที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2444) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุลลดาวัลย์ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ดำรงสมณศักดิ์สุดท้ายที่สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง เจ้าอาวาสพระองค์แรกของวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนวัดร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้านิลวรรณ อุไรพงศ์; ไม่ปรากฎ - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2443) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ เมื่อปีระก..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)

ระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2423 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง‎ ประธานกรรมการคณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไท.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ

ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ตั้งชื่อตามพระอุบาลี พระอรหันต์สาวกของพระโคตมพุทธเจ้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระผง ๙ สมเด็จ

ระผง ๙ สมเด็จ เป็นพระเครื่องเนื้อผง ที่จัดสร้างตามแบบพระผงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการเฉลิมฉลองปีมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยกรมทรัพยากรน้ำซึ่งมีหน้าที่ดูแลทรัพยากรน้ำของประเทศ มีโครงการจัดงาน "รวมใจภักดิ์ อนุรักษ์ และพัฒนาแม่น้ำ คู คลอง" เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสดังกล่าว โดยรายได้ส่วนหนึ่งจากการบริจาคกรมทรัพยากรน้ำจะมอบให้มูลนิธิชัยพัฒนาและเป็นสวัสดิการกรมทรัพยากรน้ำในการดูแลรักษาแหล่งน้ำของประเทศ จึงดำเนินการจัดสร้าง พระผง ๙ สมเด็จ ขึ้น.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระผง ๙ สมเด็จ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปาโมกข์

ระธรรมปาโมกข์ เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรมในฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระธรรมปาโมกข์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพินิจสุตคุณ (ทองสุข อินฺทโชโต)

ระครูพินิจสุตคุณ เป็นหนึ่งในพระเกจิอาจารย์จากเมืองเพชร มีนามเดิมว่า สุข นามสกุล ดีเลิศ เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2420 ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ ปีฉลู บิดาชื่อนายจู มารดาชื่อนางทิม กำเนิด ณ บ้านทับใต้ ตำบลหินเหล็กไฟ แขวงเมืองเพชรบุรี ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน 6 คน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระครูพินิจสุตคุณ (ทองสุข อินฺทโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2434 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2436) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาเลื่อน (สกุลเดิม นิยะวานนท์) มีพระอนุชาคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2436 พระสรีรังคารของพระองค์ถูกบรรจุในอนุสาวรีย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ ในสุสานหลวง ภายในวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 15 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาเอมน้อย ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนยี่ ตรงกับวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2358 พระองค์เจ้าลดาวัลย์ ทรงรับราชการกำกับกรมช่างสิบหมู่ ทรงเป็นผู้กำกับการก่อสร้างพระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นกรมหมื่นภูมินทรภักดี เมื่อทรงพระชราภาพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี ประชวรดวงพระเนตรเป็นต้อ ทอดพระเนตรไม่เห็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ติดต่อแพทย์ชาวดัตช์เข้ามาผ่าตัดพระเนตรจนหายเป็นปกติ พร้อมกับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ซึ่งป่วยเป็นต้อเช่นกัน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันเสาร์ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 บูรพาษาฒ ปีจอ ตรงกับวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระกนิษฐาแฝดของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย สิ้นพระชนม์วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2429 พระชันษา 1 ปี 3 เดือน พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล หรือ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ (19 กันยายน พ.ศ. 2430 — 19 เมษายน พ.ศ. 2433) พระราชธิดาพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาวง.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (16 ธันวาคม พ.ศ. 2402 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุล ชมพูนุท ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2465 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายกอยู่ 16 ปี.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (ประสูติ 29 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร กับท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี ถือเป็นพระรัชทายาทโดยสันนิษฐานตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและพฤษภาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กฐิน

กฐินเป็นประเพณีที่อยู่คู่กับพุทธศาสนิกชนไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์ไทยนั้นจัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญมาตั้งแต่โบราณ กฐิน (บาลี: กน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐิน หรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ และอนุเคราะห์ภิกษุผู้ทรงคุณที่มีจีวรชำรุด ดังนั้นกฐินจึงจัดเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังฆกรรมของพระสงฆ์โดยจำเพาะ ซึ่งนอกจากในพระวินัยฝ่ายเถรวาทแล้ว กฐินยังมีในฝ่ายมหายานบางนิกายอีกด้วย แต่จะมีข้อกำหนดแตกต่างจากพระวินัยเถรวาท การได้มาของผ้าไตรจีวรอันจะนำมากรานกฐินตามพระวินัยบัญญัติของเถรวาทนี้ พระพุทธองค์ไม่ทรงห้ามการรับผ้าจากผู้ศรัทธาเพื่อนำมากรานกฐิน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้เกิดทานพิธีการถวายผ้ากฐิน หรือการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนขึ้น และด้วยการที่การถวายผ้ากฐินนั้น จัดเป็นสังฆทาน คือถวายแก่คณะสงฆ์โดยไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เพื่อให้คณะสงฆ์นำผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งตามที่คณะสงฆ์ลงมติ (ญัตติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน ที่มีกำหนดเขตเวลาถวายแน่นอน คณะสงฆ์วัดหนึ่ง ๆ สามารถรับได้ครั้งเดียวในรอบปี จึงทำให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นบุญประเพณีนิยมที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ประเพณีการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนไทยมีมาช้านาน โดยมีทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์จัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญประจำปี ในปัจจุบันถวายผ้ากฐินในแง่การสนับสนุนผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในสังฆกรรมสำคัญของคณะสงฆ์ได้ถูกลดความสำคัญลงไป แต่กลับให้ความสำคัญกับบริวารของกฐินทานแทน เช่น เงิน หรือวัตถุสิ่งของ เพื่อนำสิ่งเหล่านี้มาพัฒนาถาวรวัตถุและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งจัดเป็นสังฆทานอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน กฐินมีกำหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผ้าชนิดอื่นมิได้ ระยะเวลานั้นมีเพียง 1 เดือน คือตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรียกว่า กฐินกาล คือระยะเวลา ทอดกฐิน หรือ เทศกาลทอดกฐิน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและกฐิน · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดี และถวายความอาลัย แด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 จัดขึ้นโดย รัฐบาล และ ภาคเอกชน โดยตลอดปีมหามงคล พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

กุฎาคาร

กุฎาคาร แปลว่า เรือนยอด มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลี และสันสกฤตที่ตรงกันว่า กูฎาคาร หมายถึง อาคารหรือเรือนที่มีหลังคาเป็นยอดแหลม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและกุฎาคาร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและมหาเถรสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระธาตุเจดีย์

ระธาตุเจดีย์ชินสีห์มิ่งมงคล วัดสว่างแสงจันทร์ บ้านหนองลาด ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี หน้านี้เป็นรายชื่อพระธาตุเจดีย์ สำหรับความหมายดูที่ เจดี.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายชื่อพระธาตุเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดประจำรัชกาล

ม่มีวัดประจำรัชกาล แต่จะเลือกเอาวัดที่พระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ทรงมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยยึดเอาที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคารเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายชื่อวัดประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงบนแผนที.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

นี่คือรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วขบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

วัดมัชฌันติการาม

วัดมัชฌันติการาม หรือ วัดน้อย เป็นวัดราษฎร์ เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 ผู้ที่ให้การอุปถัมภ์วัด เริ่มต้นนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด มีผู้สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เข้ามาอุปถัมภ์ในปี..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและวัดมัชฌันติการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยมีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) เป็นผู้อำนวยการก่อสร้าง มีลักษณะผสมระหว่างสถาปัตยกรรมไทยกับสถาปัตยกรรมตะวันตก คือ ลักษณะภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมไทย ส่วนภายในออกแบบตกแต่งอย่างตะวันตก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่าวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม หมายถึง วัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง และมีมหาสีมาอันเป็นเสาศิลาจำหลักยอดเป็นรูปเสมาธรรมจักร 8 เสา ตั้งเป็นสีมาที่กำแพง 8 ทิศ “ราชบพิธ” หมายถึง พระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง บพิธ คำนี้มาจากภาษาบาลีคือ ปวิธะ ที่แปลว่าสร้าง ส่วน “สถิตมหาสีมาราม” หมายถึง พระอารามซึ่งมีสีมากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม นับเป็นพระอารามหลวงสุดท้าย ที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างตามโบราณราชประเพณีที่มีการสร้างวัดประจำรัชกาล.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชผาติการามวรวิหาร

วัดราชผาติการามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนราชวิถี แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสวนดอก (พระอารามหลวง)

วัดสวนดอก (60px) หรือ วัดบุปผาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บนถนนสุเทพ ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันมีพระราชรัชมุนี เป็นเจ้าอาว.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและวัดสวนดอก (พระอารามหลวง) · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิสมภรณ์

วัดโพธิสมภรณ์ (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่บนถนนเพาะนิยม เลขที่ 22 ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี อยู่ทางทิศตะวันตกของหนองประจักษ์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 40 ไร่ ในวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและวัดโพธิสมภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ ทัศนพันธ์

รือตรี สมยศ ทัศนพันธุ์ (14 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2529) นักร้อง นักแต่งเพลงไทยสากล.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมยศ ทัศนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร)

มเด็จพระพุทธปาพจนบดี นามเดิม ทองเจือ สายเมือง ฉายา จินฺตากโร (2 มีนาคม พ.ศ. 2451 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2551) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม แม่กองงานพระธรรมทูต เป็นต้น.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหามุนีวงศ์

มเด็จพระมหามุนีวงศ์ เป็นสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีพระเถระที่เคยดำรงสมณศักดิ์นี้มาแล้ว 2 รูป.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาคณะ

ัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระราชาคณะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นโดยปรับจากราชทินนาม "สมเด็จพระอริยวงษญาณ" ซึ่งใช้มาแต่เดิม และพระราชทานแก่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) เป็นรูปแรก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) เจ้าคณะใหญ่คณะเหนือ เป็นสมเด็จพระสังฆราชในราชทินนามเดิม "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" จึงใช้เป็นราชทินนามของสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นสามัญชนมานับแต่นั้น.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2517 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงอยู่ในตำแหน่ง 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2531 สิริพระชันษา 91 ปี.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพัน..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานช้างโรงสี

ประติมากรรมรูปหัวสุนัขของสะพานช้างโรงสี แยกสะพานช้างโรงสี ซึ่งเป็นต้นถนนบำรุงเมือง สะพานช้างโรงสี เป็นสะพานและทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นสี่แยก เป็นจุดเริ่มต้นของถนนบำรุงเมือง ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร สะพานช้างโรงสี เป็นสะพานที่สร้างข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมระหว่างถนนราชินี บริเวณหลังกระทรวงกลาโหม กับถนนอัษฎางค์ ด้านหน้ากระทรวงมหาดไทย ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น สะพานช้างโรงสีเป็นสะพานที่สร้างสำหรับกองทัพช้างศึกที่กลับมาจากการทำศึกสงครามเดินข้ามเพื่อเข้าเขตราชธานี ซึ่งเดิมมีสะพานที่สร้างสำหรับช้างเดินข้ามมีทั้งสิ้น 3 สะพาน คือ สะพานช้างวังหน้า ซึ่งปัจจุบันคือ บริเวณเชิงลาดสะพานพระปิ่นเกล้า, สะพานข้ามคลองคูเมืองเดิมบริเวณปากคลองตลาด ซึ่งปัจจุบัน คือ สะพานเจริญรัช 31 และสะพานช้างโรงสีแห่งนี้ ซึ่งในอดีตตั้งอยู่ใกล้กับโรงสีข้าวของฉางหลวงแห่งพระนคร ผู้คนในสมัยนั้นจึงเรียกกันติดปากว่า "สะพานช้างโรงสี" และได้เป็นสะพานเพียงแห่งเดียวที่ยังคงใช้ชื่อเดิมอยู่ จนเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้ทรงบูรณะจากเดิมที่เป็นสะพานไม้แผ่นหนาวางพาดเปลี่ยนเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ราวสะพานทำเป็นลูกแก้วปูนหล่อ ช่วงปลายสะพานทั้งสี่มุมเป็นประติมากรรมปูนปั้นรูปหัวสุนัข มีจารึกคำว่า ศก ๑๒๙ อันหมายถึง ปีจอ และรัตนโกสินทร์ศก 129 (พ.ศ. 2453) ซึ่งเป็นทั้งปีนักษัตรประสูติของพระองค์และตรงกับปีที่บูรณะซ่อมแซมสะพานอีกด้ว.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสะพานช้างโรงสี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)

นมอญ เป็นสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมถนนเจริญกรุงในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวังและแขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สะพานมอญเดิมเป็นสะพานช้าง (คือสะพานที่สร้างขึ้นอย่างมั่นคงแข็งแรงพอที่ช้างจะเดินข้ามได้) ซึ่งมีลักษณะเป็นสะพานไม้ข้ามคลองคูเมืองเดิมหลังวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม บริเวณนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวมอญที่อพยพหนีภัยสงครามจากกรุงศรีอยุธยามาพร้อม ๆ กับชาวไทย ครั้งนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญกลุ่มนี้ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณคลองคูเมืองเดิมใกล้ป้อมวิชัยประสิทธิ์ ต่อมาพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) เป็นผู้นำรวบรวมแรงงานชาวมอญ ซึ่งก็เป็นบรรดาญาติ ๆ และข้าทาสบริวารทั้งหลายที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นสร้างสะพานข้ามคลองขึ้น จึงได้เรียกกันต่อมาว่า สะพานมอญ ในชั้นแรกสร้างด้วยไม้ธรรมดา ต่อมาเกิดเหตุเพลิงไหม้จึงได้มีการก่อสร้างใหม่ก่อด้วยอิฐถือปูนดังในยุคปัจจุบัน ภายหลังทางการได้นำชื่อสะพานมาตั้งเป็นชื่อทางแยกบริเวณที่ถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอัษฎางค์ ระหว่างถนนสนามไชยกับถนนบ้านหม้อ ติดกับคลองคูเมืองเดิม และอยู่ใกล้กับสวนสราญรม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สะพานหก

ทความนี้หมายถึงสะพานหกในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง และแขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในความหมายอื่น ดูที่: สะพานยก สะพานหก สะพานหก เป็นสะพานที่สร้างข้ามคลองคูเมืองเดิม หรือคลองหลอดวัดราชนัดดา ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวังและแขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชื่อสะพานเรียกตามลักษณะซึ่งนำแบบมาจากสะพานในเมืองวิลันดา ประเทศเนเธอร์แลนด์ สร้างครั้งรัชกาลที่ 4 ต่อเนื่องถึงรัชกาลที่ 5 มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถยกหรือหกให้เรือผ่านได้ โดยมีสะพานลักษณะเช่นนี้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มากด้วยกันถึง 8 แห่ง ทั้งในฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี คือ.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสะพานหก · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ลุนเผ่

รือตรีไพศาล ลุนเผ่ หรือชื่อในวงการว่า สันติ ลุนเผ่ (22 มิถุนายน 2479 —) เป็นข้าราชการทหารชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) ประจำปี..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสันติ ลุนเผ่ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง

ำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง (Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand.) คู่กับสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงของคณะสงฆ์ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคมซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย มีหน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ เป็นราชบัณฑิตและอดีตพระราชาคณะชั้นธรรมเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโคลง,ฉันท์,กาพย์,ร่าย: พระนิพนธ์หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์, 2478 และบิดาของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร เป็นพระเถระในสายพระป่าในประเทศไท.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและหลวงปู่ฝั้น อาจาโร · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเรือนไทย

หนังสือเรือนไทย หรือ เรือนไทย เป็นหนังสือแนวตลกขบขัน ที่จัดทำขึ้นโดยนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรอีกอย่างหนึ่งของนิสิตคณะสถาปัตย์ฯ ที่มีประวัติการทำสืบทอดกันมายาวนานต่อเนื่องเกือบ 50 ปี โดยในปัจจุบัน หนังสือเรือนไทย มีกำหนดออกวางจำหน่ายปีละหนึ่งครั้ง บริเวณหน้างานละคอนถาปัด หอประชุมใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ราวเดือนพฤษภาคมของทุกปี โดยมีนิสิตชั้นปีที่2 ขึ้นปีที่3 ร่วมกันจัดทำระหว่างปิดภาคเรียนฤดูร้อน เพื่อฝึกฝนประสบการณ์ของนิสิตในการร่วมทำงานเป็นทีม รับผิดชอบบริหารจัดการโครงงาน และนำความคิดสร้างสรรค์มาใช้ผลิตชิ้นงาน ให้สำเร็จออกมาเป็นรูปเป็นร่างได้ และนำรายได้จากการขายหนังสือไปใช้ในกิจกรรมของคณ.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและหนังสือเรือนไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาคารอนุรักษ์

อาคารอนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทางสถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ โดยหน่วยงานที่เป็นกำลังหลักในการส่งเสริมคือ คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบรางวัลด้านการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานการมอบรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น อย่างต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและอาคารอนุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางซ้าย

งซ้าย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเดิมอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2491 ได้แยกการปกครองออกจากอำเภอเสนา เป็นกิ่งอำเภอบางซ้าย และได้มีการราชยกฐานะจากกิ่งอำเภอบางซ้าย เป็นอำเภอบางซ้าย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2500 พื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอบางซ้ายเป็นทุ่งนา อาชีพส่วนใหญ่ของคนอำเภอบางซ้าย คือเกษตรกรรม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและอำเภอบางซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์หมู

อนุสาวรีย์หมู สะพานปีกุน อนุสาวรีย์หมู หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อนุสาวรีย์สหชาติ เป็นอนุสาวรีย์รูปหมู ตั้งอยู่ริมคลองคูเมืองเดิม ในส่วนของคลองหลอด อยู่ที่เชิงสะพานปีกุน ฝั่งตรงข้ามวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ริมถนนถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร ออกแบบโดยสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและอนุสาวรีย์หมู · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นตำแหน่งรักษาการแทนสมเด็จพระสังฆราช มีสมเด็จพระราชาคณะผู้อาวุโสโดยสมณศักดิ์ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในระหว่างที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกยังว่างอยู่ หรือในระหว่างที่สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงปฏิบัติศาสนากิจในราชกิจในต่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

คชภัค ผลธนโชติ

ัค ผลธนโชติ เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2524 เป็นอดีตสมาชิกวงแคลช ปัจจุบันเป็นโปรดิวเซอร์ฝ่ายบริหาร (Executive producer) ของค่ายบ็อกซ์มิวสิก ในเครือมิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ และเป็นโปรดิวเซอร์ให้ศิลปินต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและคชภัค ผลธนโชติ · ดูเพิ่มเติม »

คลองหลอด

นหก คลองหลอด เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 คลองหลอด เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2326 เมื่อครั้งย้ายเมืองหลวงจากกรุงธนบุรีมาอยู่ฝั่งพระนคร เชื่อมคลองคูเมืองเดิมออกไปบรรจบกับคลองรอบกรุง มี 2 คลอง เรียกกันตามลักษณะของคลองว่า "คลองหลอด".

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและคลองหลอด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2412

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2412 ในประเทศไท.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและประเทศไทยใน พ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

นาคหลวง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงประเคนพัดรอง ในการพระราชทานอุปสมบทนาคหลวง เนื่องในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบทนาคหลวง ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง นาคหลวง หมายถึง ผู้ที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบท นาคหลวง มี 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและนาคหลวง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชบพิธ

รงเรียนวัดร.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและโรงเรียนวัดราชบพิธ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหนองไผ่

รงเรียนหนองไผ่ (Nongphai School, อักษรย่อ: น.ผ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 700 หมู่ 6 ตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 ห่างจากเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ 58 กิโลเมตร มีพื้นที่ 80 ไร่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและโรงเรียนหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)

ล้อเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล อดีตเสนาบดีกระทรวงวัง (ปัจจุบันคือสำนักพระราชวัง เทียบเท่าตำแหน่งเลขาธิการสำนักพระราชวัง) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรีคนที่ 4 ในเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม โอสถานนท์) ท่านมีพี่น้องร่วมมารดา ดังนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและเจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะอรัญวาสี

้าคณะอรัญวาสี คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์อรัญวาสี เจ้าคณะอรัญวาสีรูปสุดท้ายคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (แพ ติสฺสเทโว) ภายหลังจากพระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชก็มิได้มีพระสงฆ์รูปใดได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าคณะอรัญวาสีอีก คงมีแต่ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลางเท่านั้น.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและเจ้าคณะอรัญวาสี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่

้าคณะใหญ่ เป็นตำแหน่งทางพระสังฆาธิการระดับสูงในการปกครองคณะสงฆ์ไทย รองจากสกลมหาสังฆปริณายก โดยแบ่งการปกครอง ดังนี้.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและเจ้าคณะใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

พัดแฉกงาพิเศษประดับพลอย พระราชทานแก่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตบางรูป เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายทุกภาค เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตรูปปัจจุบันคือสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร) ซึ่งที่ประชุมมหาเถรสมาคมได้ลงมติเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดราชบพิธวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามพระพุทธอังคีรส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »