โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

ดัชนี วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

128 ความสัมพันธ์: พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารพระพรหมมุนีพระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)พระพิมลธรรมพระพิธีธรรมพระพุทธชินสีห์ (แก้ความกำกวม)พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนีพระพุทธโลกนาถพระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารพระพุทธเทวปฏิมากรพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)พระยานมาศสามลำคานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550พระร่วงโรจนฤทธิ์พระศรีสรรเพชญดาญาณพระศากยปุตติยวงศ์ (ต่อศักดิ์ สุนฺทรวาที)พระอารามหลวงพระอุบาลีคุณูปมาจารย์พระธรรมวโรดมพระธรรมปัญญาบดีพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)พระธรรมเจดีย์พระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโสพระตำหนักสวนกุหลาบพระเมรุมาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุภาธรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิทพระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร)พุ่มเทียนกฐินกรมขุนเสนาบริรักษ์กรุงเทพมหานครกลบทกลบทบัวบานกลีบขยายการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีการ์ดสะสมการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์...การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีกุฎาคารมหาวิหารรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อพระธาตุเจดีย์รายชื่อวัดประจำรัชกาลรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)รายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลลิลิตตะเลงพ่ายวัดพระศรีสรรเพชญ์วัดปากน้ำ ภาษีเจริญวัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์วัดโพธิ์ (แก้ความกำกวม)วัดไทยพุทธคยาวัดเชตุพนวังท้ายวัดพระเชตุพนวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครศาสนาพุทธในประเทศไทยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (แสง ปญฺญาทีโป)สมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดาสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรสมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี)สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศรสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สวนนาคราภิรมย์สถานีสนามไชยสง่า มะยุระหม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิหอมหวล นาคศิริองค์การตลาดจังหวัดพิจิตรจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุพรรณบุรีธนบัตร 500 บาทถนนสนามไชยถนนเจริญกรุงทำเนียบหัวเมืองท่าเตียนท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)ขัณฑสกร (ยา)ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 1ความทรงจำแห่งโลกประตูพระบรมมหาราชวังประเทศไทยใน พ.ศ. 2344ป้อมรอบกำแพงพระบรมมหาราชวังนิราศไทรโยคแยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวังโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยโรงเรียนวัดราชบพิธโรงเรียนตั้งตรงจิตรพณิชยการโคลงโลกนิติไหว้พระ 9 วัด กรุงเทพมหานครไปยาลน้อยเภสัชกรรมไทยเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1เจ้าคณะอรัญวาสีเจ้าคณะใหญ่หนกลางเขตพระนคร ขยายดัชนี (78 มากกว่า) »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2377 ที่อังกอร์โบเร (เสียมราฐ) และเสด็จสวรรคตเมี่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2447 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง) และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของ พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์) กษัตริย์กัมพูชาองค์ต่อมาซึ่งทรงขึ้นครองราชย์เมี่อ..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพรหมมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)

ระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองในคณะกลาง และอดีตเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลธรรม

ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพิมลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระพิธีธรรม

ระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พัดยศประจำตำแหน่งพระพิธีธรรม พระพิธีธรรมคือสมณศักดิ์ประเภทหนึ่ง (ไม่พระราชทานแก่พระสงฆ์ แต่พระราชทานแก่วัด) พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งจากวัดที่เป็น พระอารามหลวงเป็นส่วนมาก (ไม่ระบุพระสงฆ์วัดใดที่ไม่มีการโปรดเกล้าฯจะไม่สามารถตั้งพระพิธีธรรมได้ แม้แต่ในวัดนั้นจะมีพระสงฆ์ซึ่งเคยเป็นพระพิธีธรรมมาแล้วก็ตาม) ทางวัดจะแต่งตั้งวัดละ 1 สำหรับ สำรับละ 4 รูป เป็นพระพิธีธรรม เพื่อสวดในการบำเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ เช่น สวดพระอภิธรรมในงานพระบรมศพ พระศพ หรือศพในพระบรมราชานุเคราะห์ สวดอาฎานาฏิยสูตรในพระราชพิธีสงกรานต์ เป็นต้น นอกจากนี้พระพิธีธรรมต้องไปสวดจตุรเวทที่หอศาสตราคมในพระบรมมหาราชวังทุกวันพระ เวียนกันไปวัดละ 1 เดือน ในปัจจุบัน วัดที่มีการพระราชทานแต่งตั้งพระพิธีธรรม ปัจจุบันมีอยู่ 10 วัด ได้แก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพิธีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธชินสีห์ (แก้ความกำกวม)

ระพุทธชินสีห์ อาจหมายความถึง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธชินสีห์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี

ระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี หรือ หลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ มีพุทธลักษณะปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์บริสุทธิ์ หน้าตักกว้างศอกเศษ มีพุทธลักษณะงดงามตามแบบอย่างสกุลช่างสุโขทัย-เชียงแสน ซึ่งเป็นแบบที่พบได้น้อยมากและหายากที่สุด พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี เดิมองค์พระถูกพอกปูนลงรักปิดทองอารักขาภัยไว้ ตัวองค์พระสำริดดังปรากฏในปัจจุบันนั้นสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยแรกก่อตั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 สกุลช่างเชียงแสนยุคปลายผสมสกุลช่างสุโขทัยยุคต้น หรือในช่วงยุครอยต่อการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย เป็นรัชสมัยระหว่างพ่อขุนศรีอินทราทิตย์กับพญาลิไท มีอายุประมาณ 7-800 ปี มีประวัติความเป็นมาและอภินิหารที่น่าสนใจยิ่ง หลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ประดิษฐานอยู่ที่ วัดคุ้งตะเภา หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมนั้นทางวัดไม่เปิดเผยสถานที่ประดิษฐาน และไม่ให้บุคคลทั่วไปเข้าสักการะได้ถึงองค์พระ เนื่องด้วยปัญหาด้านการรักษาความปลอดภัย โดยจะอัญเชิญหลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนีออกให้ประชาชนทั่วไปนมัสการได้ถึงตัวองค์พระเพียงในช่วงเทศกาลสงกรานต์เท่านั้น ปัจจุบัน วัดคุ้งตะเภา ได้สร้างห้องตู้กระจกนิรภัย พร้อมทั้งติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยอิเล็กทรอนิกส์แล้ว จึงทำให้สามารถเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสักการะได้ทุกวัน โดยปัจจุบันหลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนีประดิษฐานอยู่ที่หอพระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี บนอาคารศาลาการเปรียญเฉลิมพระเกียรติฯ วัดคุ้งต.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธโลกนาถ

ระพุทธโลกนาถ มีพระนามเดิมว่า พระโลกนาถศาสดาจารย์ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วิหารพระโลกนาถ วัดพระศรีสรรเพชญ์ พระนครศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญมาประดิษฐานที่วิหารทิศตะวันออก มุขหลัง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า พระพุทธโลกนาถ ราชสมมติวงศ์ องค์อนันตญาณสัพพัญญู สยัมภูพุทธบพิตร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธโลกนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

ระพุทธไสยาสน์วัดโพธิ์ ด้านพระบาท พระพุทธไสยาสน์วัดโพธิ์ ด้านพระเศียร พระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร หรือเรียกกันว่า พระนอนวัดโพธิ์ เป็นพระพุทธรูปปางโปรดอสุรินทราหู ที่ประดิษฐานอยู่ ณ พระวิหารวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือที่เรียกกันว่า วัดโพธิ์ ซึ่งตั้งอยู่ติดกับพระบรมมหาราชวังด้านหนึ่ง อีกด้านหนึ่งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นพระนอนที่มีขนาดยาวเป็นอันดับสามของประเทศไทย คือยาวถึงสองเส้นสามวา, รองลงมาจากพระนอนจักรสีห์ (ยาวสามเส้น สามวา สองศอก หนึ่งคืบ เจ็ดนิ้ว) และพระนอนวัดขุนอินทประมูล (ยาวสองเส้นห้าวา) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อครั้งที่ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามทั้งวัด องค์พระก่อด้วยอิฐถือปูน ลงรักปิดทองทั้งองค์ พระบาทของพระพุทธไสยาสน์แต่ละข้าง กว้าง 1.5 เมตร ยาว 5 เมตร มีภาพมงคล 108 ประการ เป็นลวดลายประดับมุก ภาพมงคลแต่ละอย่างจะอยู่ในช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ล้อมรอบด้วยภาพกงจักร ซึ่งอยู่ตรงกลางพระบาท ทั้งสองข้างมีภาพเหมือนกัน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเทวปฏิมากร

ระพุทธเทวปฏิมากร เป็นพระประธานภายในพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัดศาลาสี่หน้า (ปัจจุบันคือ วัดคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กทม.) เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯให้สถาปนาวัดโพธาราม(วัดโพธิ์)ใหม่ในปี พ.ศ. 2331 โดยทรงสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2344 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส"  ให้อัญเชิญพระพุทธรูปจากวัดศาลาสี่หน้ามาประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พร้อมทั้งถวายพระนามว่า “พระพุทธเทวปฏิมากร”.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระพุทธเทวปฏิมากร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

ระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกาภาษาไทย เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยานมาศสามลำคาน

ระยานมาศสามลำคาน เป็นคานหามขนาดใหญ่ กลางตั้งแท่นทำด้วยไม้สลักปิดทองประดับกระจกสี มีพนักโดยรอบ 3 ด้าน และมีคานหาม 3 คาน จึงเรียกว่า พระยานมาศสามลำคาน ลักษณะเป็นแท่นซ้อนลด 4 ชั้น ย่อมุมไม้สิบสอง ชั้นบนสุดทำเป็นแผงราชวัตรจำหลักลายประดับกระจกกั้น เว้นช่องที่ส่วนหน้าและส่วนหลัง และมีมุขยื่นออกมา ฐานชั้นที่ 3 ประดับรูปครุฑแกะสลักโดยรอบ 38 ตัว ชั้นที่ 4 ประดับเทพนม 26 องค์ ตัวแท่นยานมาศตั้งยึดติดกับลำคานทั้ง 3 บนยานมีแผ่นไม้ขนาดใหญ่รูปแปดเหลี่ยมพร้อมขอเกี่ยว 4 ตัว ติดไว้ พื้นไม้ด้านบนทาสีแดง รอบข้างสลักลายปิดทอง เป็นที่สำหรับตั้งพระโกศให้มั่นคง คานทั้ง 3 เป็นไม้กลึงกลมทาสีแดง สร้างจากไม้เนื้อแข็งจำนวนสามลำ ปลายสลักเป็นหัวเม็ดปิดทองประดับกระจกสี ใช้พนักงานหาม 60 คน เวลาหามจริงใช้คน 2 ผลัด พระยานมาศสามลำคานองค์แรกสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เพื่อใช้อัญเชิญพระบรมโกศทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระยานมาศสามลำคาน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (Celebration on the Auspicious Occasion of His Majesty the King's 7th Cycle Birthday Anniversary, 5th December 2011) เป็นชื่องานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่มีพระชนมายุครบ 7 รอบ แปดสิบสี่พรรษาใน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 (Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 80th Birthday Anniversary) เป็นงานฉลองที่ประกอบด้วยรัฐพิธี ราชพิธี และราษฎรพิธี เนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระร่วงโรจนฤทธิ์

ระร่วงโรจน์ฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชิราวุธราชบูชนิยบพิตร์ หรือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ศิลปะสุโขทัย ประดิษฐานที่พระวิหารด้านทิศเหนือของพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระร่วงโรจนฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระศรีสรรเพชญดาญาณ

ระศรีสรรเพชญดาญาณ พระศรีสรรเพชญดาญาณ เป็นพระประธานแห่งวัดพระศรีสรรเพชญ์ พระอารามในพระบรมมหาราชวังกรุงศรีอยุธยา สร้างในปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระศรีสรรเพชญดาญาณ · ดูเพิ่มเติม »

พระศากยปุตติยวงศ์ (ต่อศักดิ์ สุนฺทรวาที)

ระศากยปุตติยวงศ์ (ต่อศักดิ์ สุนฺทรวาที) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระศากยปุตติยวงศ์ (ต่อศักดิ์ สุนฺทรวาที) · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ตั้งชื่อตามพระอุบาลี พระอรหันต์สาวกของพระโคตมพุทธเจ้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวโรดม

ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระธรรมวโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปัญญาบดี

ระธรรมปัญญาบดี เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระธรรมปัญญาบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)

ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม ถาวร เจริญพานิช ฉายา ติสฺสานุกโร (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมเจดีย์

ระธรรมเจดีย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันผู้ที่ได้รับพระราชทานคือ พระธรรมเจดีย์ (สมคิด เขมจารี).

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระธรรมเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโส

ระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโส หลวงพ่ออำนาจ โอภาโส นามเดิม อำนาจ กลั่นประชา เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโส · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักสวนกุหลาบ

ระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง พระตำหนักสวนกุหลาบ เป็นพระตำหนักที่ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง เป็นพระตำหนักที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระตำหนักนี้สร้างขึ้นในบริเวณสวนกุหลาบซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้ปลูกดอกกุหลาบไว้ เมื่อครั้งขยายอาณาเขตพระบรมมหาราชวังไปทางด้านทิศใต้จรดถนนท้ายวังริมวัดพระเชตุพน ในรัชกาลต่อมาได้มีการสร้างคลังศุภรัตน์ในบริเวณนี้เพื่อใช้เก็บสบงจีวรของหลวง โดยสร้างเป็นตึกเก๋งจีนตามความนิยมในสมัยนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขคลังศุภรัตน์เป็นพระตำหนักสวนกุหลาบและพระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระราชโอรส เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เป็น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และต่อมาเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งเป็นที่ฝึกหัดราชการของบุคคลในราชสกุลและบุตรหลานข้าราชการเพื่อเป็นทหารมหาดเล็ก และเป็นโรงเรียนสอบวิชาข้าราชการพลเรือนในเวลาต่อมา จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๔๑ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบจึงย้ายไปตั้งที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปัจจุบันพระตำหนักสวนกุหลาบเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูโรงเรียนขึ้นใหม่ เมื่อ..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระตำหนักสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี (ไม่ปรากฏ — พ.ศ. 2370) พระธิดาลำดับที่ 6 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติแต่พระน้องนางของพระอัครชายา (หยก).

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุภาธร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุภาธร หรือ พระองค์เจ้าหญิงสุภาภรณ์ (พ.ศ. 2341 - พ.ศ. 2360) พระราชธิดาพระองค์ที่ 41 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเพ็งเล็ก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุภาธร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธิดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธิดา (พ.ศ. 2330 - พ.ศ. 2381) พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธิดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายทินกร เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 35 และพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กับเจ้าจอมมารดาศิลา (ราชินิกุล ณ บางช้าง) ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 7 ขึ้น 12 ค่ำ ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 24 พฤษภาคม ปีระกา ตรีศก..1213..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร)

ระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร) (นามเดิม: สีนวล เรืองอำพันธ์) (29 มิถุนายน 2482 - ปัจจุบัน) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 15.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร) · ดูเพิ่มเติม »

พุ่มเทียน

พุ่มเทียน พุ่มเทียน พุ่มเทียน พุ่มเทียน คือเครื่องสักการะอย่างหนึ่งในเทศกาลเข้าพรรษา สำหรับถวายเป็นพุทธบูชา หรือถวายพระภิกษุสงฆ์ พุ่มเทียนทำด้วยขี้ผึ้ง กดเป็นรูปคล้ายเมล็ดข้าวโพดเรียงแถวกัน หรือเป็นรูปกลีบดอกไม้เล็ก ๆ ติดเรียงกันบนกระดาษปั้นเป็นทรงพุ่มอย่างละเอียดประณีต ต่อยอดแหลมทำจากขี้ผึ้งหุ้มแกนไม้ มีกระดาษอังกฤษสีเงินทองจักฝอยประดับบนปลายให้ดูระยิบระยับ วางบนฐานลักษณะคล้ายพานปั้นด้วยดิน ทาสี สำหรับสีของพุ่มนั้นมีทั้งสีเหลืองล้วน หรือย้อมขี้ผึ้งเป็นสีสันต่างๆ และประดิษฐ์เป็นลวดลายต่างๆ ตามแต่จะคิดสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ของการถวายพุ่มเทียน นอกจากเพื่อความสวยงามเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังเป็นการถวายขี้ผึ้งสำรองแด่พระภิกษุสงฆ์ ในกรณีน้ำมันตะเกียง หรือเทียนหมด ก็จะสามารถนำขี้ผึ้งจากพุ่มเทียนมาฟั่นเป็นเทียนใช้ได้ในระหว่างเข้าพรรษา ถือเป็นราชประเพณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะถวายพุ่มเทียนแด่พระพุทธรูป และพระสงฆ์ ในพระราชกุศลเข้าพรรษา เป็นประจำทุกปี ตามพระอารามสำคัญต่างๆ เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดบวรนิเวศวิหาร วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาจึงยังพอมีพุ่มเทียนตั้งถวายเป็นพุทธบูชาที่หน้าพระประธาน ให้พอได้เห็นได้ศึกษากันอยู่บ้างในปัจจุบัน ปัจจุบัน มีผู้รู้จักเครื่องสักการะชนิดนี้น้อยลงทุกวัน แม้ยังพอมีจำหน่ายอยู่บ้างตามร้านสังฆภัณฑ์ แต่ก็ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักหรือเป็นที่นิยม กล่าวกันว่ามีแหล่งผลิตเพียงเจ้าเดียวในปัจจุบัน ต่างจากสมัยก่อนที่มีผู้ผลิตและผู้จำหน่ายพุ่มเทียนนับร้อยเจ้า แม้ทุกวันนี้ร้านสังฆภัณฑ์หลายร้านยังไม่รู้จักเสียด้วยซ้ำว่าพุ่มเทียนคืออะไร นับวันเครื่องสักการะชนิดนี้จึงสูญหายไปจากแท่นบูชาตามบ้านและวัดต่างๆ จนจะใกล้สูญสิ้นไปจากเมืองไทย "คำกล่าวถวายเทียนจำนำพรรษา" ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง ภันเต เอตัง ปะทีปะยุคัง สะปะริวารัง เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ อิมัสสะหมิง อุโปสะถาคาเร นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ ปะทีปะยุคัสสะ ทานัสสะ อานิสังโส อัมหากัญเจวะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ปิยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ หมวดหมู่:พิธีกรรมในศาสนาพุทธ หมวดหมู่:ศิลปะ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและพุ่มเทียน · ดูเพิ่มเติม »

กฐิน

กฐินเป็นประเพณีที่อยู่คู่กับพุทธศาสนิกชนไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์ไทยนั้นจัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญมาตั้งแต่โบราณ กฐิน (บาลี: กน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐิน หรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ และอนุเคราะห์ภิกษุผู้ทรงคุณที่มีจีวรชำรุด ดังนั้นกฐินจึงจัดเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังฆกรรมของพระสงฆ์โดยจำเพาะ ซึ่งนอกจากในพระวินัยฝ่ายเถรวาทแล้ว กฐินยังมีในฝ่ายมหายานบางนิกายอีกด้วย แต่จะมีข้อกำหนดแตกต่างจากพระวินัยเถรวาท การได้มาของผ้าไตรจีวรอันจะนำมากรานกฐินตามพระวินัยบัญญัติของเถรวาทนี้ พระพุทธองค์ไม่ทรงห้ามการรับผ้าจากผู้ศรัทธาเพื่อนำมากรานกฐิน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้เกิดทานพิธีการถวายผ้ากฐิน หรือการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนขึ้น และด้วยการที่การถวายผ้ากฐินนั้น จัดเป็นสังฆทาน คือถวายแก่คณะสงฆ์โดยไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เพื่อให้คณะสงฆ์นำผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งตามที่คณะสงฆ์ลงมติ (ญัตติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน ที่มีกำหนดเขตเวลาถวายแน่นอน คณะสงฆ์วัดหนึ่ง ๆ สามารถรับได้ครั้งเดียวในรอบปี จึงทำให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นบุญประเพณีนิยมที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ประเพณีการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนไทยมีมาช้านาน โดยมีทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์จัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญประจำปี ในปัจจุบันถวายผ้ากฐินในแง่การสนับสนุนผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในสังฆกรรมสำคัญของคณะสงฆ์ได้ถูกลดความสำคัญลงไป แต่กลับให้ความสำคัญกับบริวารของกฐินทานแทน เช่น เงิน หรือวัตถุสิ่งของ เพื่อนำสิ่งเหล่านี้มาพัฒนาถาวรวัตถุและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งจัดเป็นสังฆทานอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน กฐินมีกำหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผ้าชนิดอื่นมิได้ ระยะเวลานั้นมีเพียง 1 เดือน คือตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรียกว่า กฐินกาล คือระยะเวลา ทอดกฐิน หรือ เทศกาลทอดกฐิน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกฐิน · ดูเพิ่มเติม »

กรมขุนเสนาบริรักษ์

มเด็จเจ้าฟ้าแก้ว กรมขุนเสนาบริรักษ์ พระโอรสของสมเด็จเจ้าฟ้าน้อย พระอนุชาธิราชของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประสูติกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากถือว่าเป็น "ลูกชู้" จึงไม่ได้รับยกย่องให้เป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์จึงมีพระยศเป็น "หม่อมแก้ว".

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกรมขุนเสนาบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลบท

กลบท คือการประดิษฐ์คิดแต่งคำประพันธ์ให้มีลักษณะแปลกไปจากเดิม โดยที่ลักษณะบังคับของคำประพันธ์ชนิดนั้นยังอยู่ครบถ้วน คำประพันธ์ที่แต่งเป็นกลได้มีทั้ง โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่ายอุทัย สินธุสาร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกลบท · ดูเพิ่มเติม »

กลบทบัวบานกลีบขยาย

กลบทบัวบานกลีบขยาย เป็นบทกลอนพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จารึกไว้ในวัดโพธิ์ (วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม) ดังที่รู้จักกันว่าจารึกวัดโพธิ์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เป็นบทกลอนสั้นๆ ตามขนบของกลอนกลบท เรียกว่า กลบทบัวบานกลีบขยาย เพื่อเป็นแบบสำหรับกุลบุตรกุลธิดาในชั้นหลังได้ศึกษาวรรณคดีไทยอย่างสะดวกและกว้างขวาง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกลบทบัวบานกลีบขยาย · ดูเพิ่มเติม »

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 02.54 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 3 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2551 ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง หมายกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงยกสัปตปฎลเศวตฉัตรเหนือยอดพระเมรุในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และหมายกำหนดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งพระราชพิธีสองอย่างหลังจะมีขึ้น ณ พระเมรุ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

มเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16:37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี ชั้น 5 ด้านตะวันออก โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม - 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

การ์ดสะสม

การ์ดสะสม คือการ์ดที่มีการพิมพ์ลวดลายและข้อความที่สวยงาม เพื่อให้ผู้คนที่สนใจสะสมและเก็บรักษาไว้เพื่อความเพลิดเพลินและเป็นงานอดิเรก ปกติจะทำจากกระดาษชนิดแข็งและมีขนาด 2.5 X 3.5 นิ้ว ซึ่งวิธีการได้การ์ดสะสมมีการขายทั้งในรูปแบบของซองที่มีการ์ดในชุดนั้นๆอยู่จำนวนหนึ่ง เช่น 6 ใบต่อ 1 ซอง และการ์ดแถมหรือแลกซื้อร่วมกับสินค้าต่างๆ แต่โดยมากแล้วจะมีการสุ่มการ์ดที่จะได้ (Random) ตามอัตราส่วนและที่แตกต่างกันไปในแต่ละชุด ซึ่งจะทำให้ผู้สะสมไม่ทราบว่าจะได้การ์ดอะไรก่อนที่จะซื้อ รวมถึงการ์ดสะสมบางประเภทที่จะระบุเลขรหัสลงบนการ์ดและมีการผลิตในจำนวนจำกัด จึงทำให้เกิดความหายากของการ์ดขึ้นมา การ์ดที่ไม่ได้รับความนิยมและผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก จะหาได้ง่ายราคาจะต่ำ การ์ดที่ได้รับความนิยม ผลิตออกมาน้อยจะราคาจะสูง โดยส่วนใหญ่แล้วการ์ดสะสมจะทำการผลิตในจำนวนจำกัดหรือช่วงระยะเวลาสั้นๆ จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้การ์ดสะสมจึงเป็นสิ่งที่ต้องการของนักสะสมโดยทั่วไป ซึ่งเป้าหมายของนักสะสมแต่ละคนก็จะแตกต่างกัน บางคนก็ต้องการเก็บสะสมให้ครบชุดนั้นๆ บางคนก็ต้องการเฉพาะการ์ดพิเศษที่มีการผลิตเป็นจำนวนจำกัดในชุดต่างๆ หรือบางคนก็ต้องการเก็บสะสมเฉพาะการ์ดที่มีตัวบุคคลหรือตัวละครที่ชื่นชอบเท่านั้น และหัวใจที่สำคัญที่สุด คือการแลกเปลี่ยนหรือตามหาการ์ดใบที่ยังขาดเหลือเพื่อเก็บสะสมให้ครบชุดกับกลุ่มผู้ที่สะสมการ์ดในชนิดเดียวกัน ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้การสะสมการ์ดมีความสนุกสนาน มีความท้าทายและเป็นความรู้ผสมความบันเทิง (Edutainment) อีกด้วย โดยบริษัทที่มีชื่อเสียงในการผลิตการ์ดสะสมในปัจจุบันก็มีอย่างเช่น Upperdeck จากสหรัฐอเมริกา Konami จากประเทศญี่ปุ่นเป็นต้น.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการ์ดสะสม · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดี และถวายความอาลัย แด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 จัดขึ้นโดย รัฐบาล และ ภาคเอกชน โดยตลอดปีมหามงคล พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

กุฎาคาร

กุฎาคาร แปลว่า เรือนยอด มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลี และสันสกฤตที่ตรงกันว่า กูฎาคาร หมายถึง อาคารหรือเรือนที่มีหลังคาเป็นยอดแหลม.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและกุฎาคาร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหาร

มหาวิหาร หมายถึง วิหารหรือเทวสถานขนาดใหญ่; ในพุทธศาสนสถาน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระธาตุเจดีย์

ระธาตุเจดีย์ชินสีห์มิ่งมงคล วัดสว่างแสงจันทร์ บ้านหนองลาด ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี หน้านี้เป็นรายชื่อพระธาตุเจดีย์ สำหรับความหมายดูที่ เจดี.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อพระธาตุเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดประจำรัชกาล

ม่มีวัดประจำรัชกาล แต่จะเลือกเอาวัดที่พระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ทรงมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยยึดเอาที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคารเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อวัดประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงบนแผนที.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตพระนคร) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

การเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี และนครปฐม) แบ่งเป็นเส้นทางรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีทั้งหมด 8 เขตการเดินรถ จำนวน 126 เส้นทาง, เส้นทางรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ จำนวน 115 เส้นทาง และเส้นทางที่มีรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ให้บริการร่วมกัน จำนวน 26 เส้นทาง รวมทั้งหมด 216 เส้นทาง โดยเริ่มให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 02:30-05:00 น. และยุติการให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 21:00-01:00 น. นอกจากนี้ ยังมีรถให้บริการตลอดคืน ซึ่งจะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มจากปกต.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

นี่คือรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระโกศพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ริ้วขบวนพระอิสริยยศในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วกระบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วขบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ลิลิตตะเลงพ่าย

ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงานพระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3 โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง พม่า ที่มาของเรื่อง 1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ 3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3 3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง (เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สำเร็จสู่พระนิพพาน).

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและลิลิตตะเลงพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีสรรเพชญ์

right วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นอดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณ อยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างชึ้นราวปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวัดพระศรีสรรเพชญ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ

วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ ณ ที่ราบลุ่มบางกอกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่ริมคลองหลวงหรือ คลองบางกอกใหญ่ อันเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม ก่อนที่จะมีการขุดคลองลัดหน้าวัดอรุณราชวรารามและกลายเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน เนื่องจากวัดตั้งอยู่บริเวณปากคลองด่านที่แยกไปจากคลองบางหลวงอีกทีหนึ่ง ชื่อของวัดจึงถูกเรียกขานตามตำบลที่ตั้งว่า วัดปากน้ำ ซึ่งชื่อนี้มีปรากฏเรียกใช้ในจดหมายเหตุโบราณหลายฉบับ แต่ได้พบชื่อของวัดที่แปลกออกไปในแผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2453 และ พ.ศ. 2474 ว่า วัดสมุทธาราม แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกขานกันอย่างนั้น คงเรียกว่า วัดปากน้ำ มาโดยตลอด ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองภาษีเจริญที่ข้างวัดด้านทิศตะวันตก วัดจึงมีลำน้ำหลักล้อมอยู่ทั้ง 3 ด้าน ส่วนด้านใต้เป็นคลองเล็กแสดงอาณาเขตของวัดในสมัยก่อน วัดปากน้ำ เป็นวัดโบราณสร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง (ระหว่าง พ.ศ. 2031-2172) สถาปนาโดยพระราชวงศ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏพระนามแน่ชัด เป็นวัดประจำหัวเมืองธนบุรี ปรากฏในตำนานเรื่องวัตถุสถานต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาว่าเป็นพระอารามหลวงครั้งกรุงศรีอยุธยา อันหมายถึงพระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินหรือพระมเหสีทรงสถาปนาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น หลักฐานทางโบราณวัตถุและโบราณสถานภายในวัดมีอายุย้อนไปถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง ได้พบร่องรอยคลองเล็กด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของวัด ที่โบราณขุดไว้เป็นแนวเขตที่ดินของวัดหลวงสมัยอยุธยา ที่ตั้งของวัดปากน้ำจึงมีลักษณะเป็นเกาะรูปสี่เหลี่ยมมีน้ำล้อมอยู่ทุกด้าน สถาปัตยกรรมและศิลปวัตถุที่อยู่คู่วัดมาเช่น หอพระไตรปิฏก ตู้พระไตรปิฎกทรงบุษบก ล้วนเป็นฝีมือช่างหลวงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และตัวพระอุโบสถก็ใช้เทคนิคการก่อสร้างในสมัยนั้น ได้ค้นพบนามเจ้าอาวาส 1 รูป ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) คือ พระครูธนะราชมุนี วัดปากน้ำ ได้มีบทบาทสำคัญมาแต่โบราณเพราะได้รับสถาปนาเป็นพระอารามหลวงที่อยู่นอกกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดสำคัญประจำหัวเมืองหน้าด่านทางทะเล ในจดหมายเหตุสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคถวายผ้าพระกฐินหลวง ณ วัดปากน้ำ ตลอดรัชกาลวัดปากน้ำได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอด คือ ได้รับพระราชทานพระราชทรัพย์จากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในการซ่อมหลังคาพระอุโบสถคราวหนึ่ง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหญ่ในตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และให้คงรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาไว้ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทางวัดได้รับพระบรมราชานุญาตบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่เกือบทั้งอารามโดยให้อนุรักษ์ศิลปะเดิมไว้ และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์นำพระกฐินหลวงมาถวายตลอดรัชกาล ในสมัยรัชกาลที่ 6 วัดปากน้ำได้ชำรุดทรุดโทรมลง ไม่มีเจ้าอาวาสประจำพระอาราม มีแต่ผู้รักษาการที่อยู่ในอารามอื่น ทางเจ้าคณะปกครองได้ส่งพระสมุห์สด จนฺทสโร จากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งท่านได้กวดขันพระภิกษุสามเณรให้ปฏิบัติในพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ที่สำคัญได้มีการสอนสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรมตั้งสำนักเรียนทั้งนักธรรมและบาลี สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่ทันสมัยที่สุดในสมัยนั้น ทำให้พระภิกษุสามเณร และสาธุชนเข้ามาขอศึกษาและปฏิบัติธรรมเป็นจำนวนมาก วัดจึงเจริญขึ้นมาโดยลำดับ กลายเป็นศูนย์กลางการปฏิบัติธรรม และเป็นศูนย์กลางการศึกษาบาลี ท่านได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะฝ่ายวิปัสสนาธุระ และได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์มาโดยลำดับ สมณศักดิ์สุดท้ายในพระราชทินนามที่ พระมงคลเทพมุนี แต่ผู้คนทั่วไปรู้จักและเรียกขานนามท่านว่า หลวงพ่อวัดปากน้ำ ในสมัยสมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ดำรงตำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส (ในกาลต่อมาท่านได้รับพระราชทานสถาปนาพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) วัดปากน้ำได้รับการปรับปรุงทัศนียภาพและบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งสำคัญ เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ช่างได้เปลี่ยนสถาปัตยกรรมเครื่องบนเป็นศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เกือบทั้งอาราม แต่ตัวรากฐานและอาคารยังคงเป็นของโบราณแต่เดิมมา ถึงสมัยพระเดชพระคุณท่านเจ้าพระคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ. 9) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำรูปปัจจุบัน วัดปากน้ำได้พัฒนาอย่างมากในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม มีพระภิกษุสามเณรสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคในนามวัดปากน้ำเป็นจำนวนมาก และการปฏิบัติภาวนาตามแนวหลวงพ่อวัดปากน้ำก็ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีสถานที่ปฏิบัติ คือ หอเจริญวิปัสสนาเป็นเอกเทศ และมีผู้เข้าปฏิบัติเป็นจำนวนมากทุกวัน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์

วัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 49 ซอยเบอโดกวอล์ก ประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิ์ (แก้ความกำกวม)

วัดโพธิ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวัดโพธิ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วัดไทยพุทธคยา

วัดไทยพุทธคยา เป็นวัดไทยแห่งแรกในประเทศอินเดีย เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 มีเนื้อที่ราว 12 ไร่ (5 เอเคอร์) ตั้งอยู่บริเวณพุทธคยา อยู่ห่างจากองค์เจดีย์พุทธคยาประมาณ 500 เมตร เป็นวัดที่อยู่ในความดูแลและอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย ปัจจุบันมีพระเทพโพธิวิเทศ (วีรยุทธ์ วีรยุทฺโธ) เป็นเจ้าอาวาส พระอุโบสถของวัดไทยพุทธคยาจำลองแบบมาจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมของสมัยรัตนโกสินทร์ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งการจำลองแบบจนดูเหมือนนี้ไม่ใช่เฉพาะภายนอก แต่ยังมีภายในที่เหมือนกันด้วย เช่น องค์พระประธานที่เป็นพระพุทธชินราช แกลประตู แกลหน้าต่าง เป็นต้น.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวัดไทยพุทธคยา · ดูเพิ่มเติม »

วัดเชตุพน

วัดเชตุพน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวัดเชตุพน · ดูเพิ่มเติม »

วังท้ายวัดพระเชตุพน

วังท้ายวัดพระเชตุพน เป็นกลุ่มวังที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ใกล้กับวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ใกล้ปากคลองตลาด ต่อมาจากวังท้ายหับเผย วังท้ายวัดพระเชตุพน ประกอบด้วย วัง 5 วัง คือ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวังท้ายวัดพระเชตุพน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน (Chetupon Commercial College)  เป็นวิทยาลัยด้านพณิชยกรรมและบริหารธุรกิจ สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (แสง ปญฺญาทีโป)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม แสง ฉายา ปญฺญาทีโป เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบุรณราชวรวิหารและเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (แสง ปญฺญาทีโป) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติาโณ) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนใต้ กรรมการมหาเถรสมาคม และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เข้ม ฉายา ธมฺมสโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจ้าอาวาสรูปที่ 9 ของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลชุมพรและพิศณุโลก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) และเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ยังเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรกที่ประสูติในสมัยรัตนโกสินทร์อีกด้วย ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงสมณศักดิ์เมื่อปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา

มเด็จพระศรีธรรมราชมาดา หรือ สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดามหาดิลกรัตนราชนาถกรรโลง (อักขรวิธีเก่า: สํเดจพระราชชนนีสรีธรมราชมาดามหาดิลกรตนราชนารถกนัโลง) เป็นเป็นพระอัครมเหสีในพระยาลิไท.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 43 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต

มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระวันรัต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม เผื่อน คงธรรม ฉายา ติสฺสทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลราชบุรี สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ. 2405 — 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา(เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) เป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 60 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ โดยรับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของไทย เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอัยยิกาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระปัยยิกาเจ้าในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรณรงค์ เสถียรวงศ์ กรมสารนิเทศ นอกจากนี้พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งองค์สภาชนนีสภาอุณาโลมแดง อันเป็นชื่อของสภากาชาดไทยเมื่อครั้งแรกตั้งในต้นรัชกาลที่ 5 เป็นพระองค์แรกและพระองค์เดียว และองค์สภานายิกา สภากาชาดไทย พระองค์ที่ 2 และทรงสร้างสถานพยาบาลขึ้น ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสภากาชาดไทย ในวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นโดยปรับจากราชทินนาม "สมเด็จพระอริยวงษญาณ" ซึ่งใช้มาแต่เดิม และพระราชทานแก่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) เป็นรูปแรก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) เจ้าคณะใหญ่คณะเหนือ เป็นสมเด็จพระสังฆราชในราชทินนามเดิม "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" จึงใช้เป็นราชทินนามของสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นสามัญชนมานับแต่นั้น.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2503 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 2 ปี 1 เดือน 13 วัน สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2505 สิริพระชันษา 73 ปี.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2515 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดำรงพระยศอยู่ 1 ปีเศษ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 สิริพระชันษาได้ 77 ปี.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๕๕, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี)

มเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี) สมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร อดีตเจ้าอาวาสวัดเพชรสมุทรวรวิหาร อดีตเจ้าคณะภาค 1 และ ภาค 15 และอดีตกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายมั่ง พระโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดานิ่มซึ่งเป็นธิดาของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ประสูติเมื่อวันเสาร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 7 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2336 เวลา 5 ทุ่มเศษ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มีชีวิตยืนยาวถึง 5 รัชกาล ตั้งแต่เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และถึงแก่พิราลัยด้วยโรคลมขณะที่กำลังเดินทางกลับจากราชบุรี เมื่อ พ.ศ. 2425 ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 โดยมีอายุยืนยาวถึง 74 ปี.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

สวนนาคราภิรมย์

วนนาคราภิรมย์ เป็นสวนสาธารณะในการกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 เป็นสวนสาธารณะขนาดเล็ก มีพื้นที่รวม 3 ไร่ 3 งาน 65.90 ตารางวา ตั้งอยู่บริเวณ ทิศเหนือติดกับสโมสรข้าราชบริพาร ทิศใต้ติดกับถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกติดถนนมหาราช ทิศตะวันตกติดแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสร้างบนที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกรมธนารักษ์ โดยแบ่งเป็นของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 2 ไร่ 0 งาน 25.90 ตารางวา และของกรมธนารักษ์ 1 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา โดยได้พัฒนาพื้นที่ตรงนี้เป็นสวนสาธารณะในแนวราบพร้อมห้องน้ำสาธารณะ ไม่มีสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่เพราะเป็นสถานที่ ๆ ที่มีทำเลสวยงาม อยู่ในเกาะรัตนโกสินทร์ซึ่งแวดล้อมไปด้วยศิลปวัฒนธรรมแห่งยุครัตนโกสินทร์เช่นเดียวกับ สวนสันติชัยปราการ โดยสามารถมองเห็นสถาปัตยกรรมที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายแห่งของทั้งพื้นที่ฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนครได้ชัดเจน อาทิ พระปรางค์วัดอรุณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นต้น การออกแบบสวนแห่งนี้ มีพื้นที่กลางสวนปูด้วยสนามหญ้าสีเขียวผืนใหญ่ มีทางเดินเล่นระดับแบ่งสัดส่วน พื้นที่ โดยเฉพาะลานขนาดใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตลอดความยาวของพื้นที่ติดกับผืนน้ำเพื่อเปิดรับลมเย็นพัดเข้าสู่ฝั่ง ประดับด้วยแนวกั้นด้วยเสาต้นเตี้ยผูกโยงด้วยโซ่เส้นเดียวจากเสาสู่เสาเป็นจังหวะที่สวยงาม พร้อมม้านั่งสำหรับชมวิวที่จัดวางอยู่เป็นระยะ ๆ จากริมน้ำขึ้นทางเดินเล่นระดับขึ้นเป็นลานกว้าง มีบ่อสระบัวรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวขนานทั้งสองด้าน ส่วนไม้ประดับเน้นกลุ่มของไม้พุ่มเตี้ยที่ออกแบบจัดวางได้อย่างลงตัว ส่วนที่สูงโปร่งมีเพียงต้นลีลาวดีเพียงไม่กี่ต้นเท่านั้น เพื่อไม่ให้บดบังความงามของสถาปัตยกรรมที่อยู่เบื้องหลัง และเป็นพื้นที่ที่มิให้มีการค้าขายหาบเร่แผงลอย โดยได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "สวนนาคราภิรมย์" มีความหมายถึง " สวนเป็นที่น่ารื่นรมย์ยิ่งของชาวพระนคร" สวนนาคราภิรมย์ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ในกลางปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสวนนาคราภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามไชย

นีสนามไชย เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสถานีสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

สง่า มะยุระ

ง่า มะยุระ (20 สิงหาคม พ.ศ. 2452 - 12 กันยายน พ.ศ. 2521) จิตรกรชาวไทย เป็นเจ้าของและผู้ให้กำเนิดผลิตภัณฑ์พู่กัน เป็นโรงงานทำพู่กันแห่งแรกของประเทศไทย สง่า มะยุระเกิดที่ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรบุญธรรมในหลวงพ่อหรุ่น อดีตเจ้าอาวาสวัดเสาธงทอง เริ่มเรียนวิชาสามัญที่โรงเรียนวัดสัปรสเทศ พร้อมกับฝึกวิชาวาดเขียนมาตั้งแต่เด็กกับอาจารย์อู๋ ที่วัดมะนาว อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาได้มาอยู่กับอาจารย์ม้วนที่วัดสุวรรณาราม ริมคลองบางกอกน้อย ธนบุรี สง่าได้มีโอกาสเรียนวาดเขียนกับครูสอิ้งที่อยู่ข้างวัดสุวรรณาราม โดยครูสอิ้งพาไปช่วยเขียนลายรดน้ำที่หน้าต่างพระวิหารวัดพระเชตุพนฯ ต่อมาได้ไปสมัครทำงานเขียนพานแว่นฟ้ากับคุณผิน และเขียนตู้พระมาลัยที่วัดมหาธาตุ สง่า มะยุระ ได้รู้จักกับหลวงเจนจิตรยง ช่างเขียนอันลือชื่อในสมัยนั้น ท่านชวนให้ไปช่วยเขียนลายบนโถกะยาคู โดยนำฟักทองมากลึงให้มีรูปร่างเหมือนโถ และต้องเขียนลายให้เสร็จในวันเดียวกัน มิฉะนั้นฟักทองจะเหี่ยว ทั้งสองท่านช่วยกันเขียนจนเสร็จ หลวงเจนจิตรยงชื่นชอบฝีมือว่าของสง่า จึงชวนให้ไปช่วยเขียนภาพที่วัดสุวรรณคีรี คลองบางกอกน้อย โดยมอบหมายให้เขียนลายรดน้ำที่บานประตูหน้าต่างโบสถ์แทนท่านทั้งหมด นายสง่าต้องใช้เวลาเขียนถึงสี่เดือนจึงเสร็จ สง่าได้อุปสมบทที่วัดสุวรรณาราม ธนบุรี เป็นระยะเวลาสองพรรษา ในระหว่างนั้นได้มีโอกาสเข้าไปเขียนภาพรามเกียรติ์ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลป์ไชย) เป็นผู้อำนวยการเขียนภาพ ในเวลาต่อมา เมื่อภาพเขียนที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเกิดชำรุดเสียหาย นายสง่าก็ได้มีโอกาสเข้าไปเขียนซ่อม บางห้องมีภาพชำรุดมากก็เขียนใหม่ทั้งหมดจนสำเร็จ หลังจากลาสิกขาแล้วก็มาตั้งร้านขายเครื่องดื่มที่หลังโรงพยาบาลศิริราช โดยให้บิดาเป็นผู้ขาย ส่วนตนเองไปทำงานประจำที่ร้านคณะช่าง อันเป็นร้านช่างเขียนรับงานเขียนต่าง ๆ และทำบล็อกด้วย ทำงานอยู่ร้านคณะช่างได้สองปีก็ลาออก และไปทำงานที่โรงพิมพ์บุญครอง สง่าสมรสเมื่อปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและสง่า มะยุระ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าทัด (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง และเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและหม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด) · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ

หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ (22 มิถุนายน พ.ศ. 2447 - 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช ที่ประสูติแต่หม่อมเขียน ศุขสวัสดิ ณ อยุธยา หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ประสูติวันพุธที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและหม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

หอมหวล นาคศิริ

นายหอมหวล นาคศิริ หรือ พระอธิการหอมหวล คนฺธสิริ ราชาลิเกลูกบท เป็นชาวอำเภอบ้านแพรก พระนครศรีอยุธยา เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่3 เมษายน..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและหอมหวล นาคศิริ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การตลาด

องค์การตลาด (Marketing Organization) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2496 เพื่อดำเนินการจัดระเบียบการค้าของพ่อค้าแม่ค้าบริเวณข้างวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และพัฒนาต่อเนื่องจนเป็นตลาดปากคลองตลาด ปัจจุบันมีตลาดสาขาอยู่ในจังหวัดลำพูน ฉะเชิงเทรา ลพบุรี และกรุงเทพมหานคร รวมจำนวนทั้งสิ้น 5 แห่ง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและองค์การตลาด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธนบัตร 500 บาท

นบัตร 500 บาท เป็นธนบัตรหมุนเวียนในสกุลเงินบาท.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและธนบัตร 500 บาท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสนามไชย

นนสนามไชย ถนนสนามไชย (Thanon Sanam Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น กระทรวงกลาโหม, กรมอัยการสูงสุด, พระบรมมหาราชวัง, พระราชวังสราญรมย์, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ถนนสนามไชย มีจุดเริ่มต้นที่ถนนหน้าพระลานตัดกับถนนราชดำเนินใน ที่บริเวณแยกป้อมเผด็จ สิ้นสุดลงที่ถนนราชินี บริเวณปากคลองตลาด มีความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร เดิมเป็นถนนที่มีชื่อเรียกว่า "ถนนหน้าจักรวรรดิวังหลวง" เป็นลักษณะเป็นลานกว้าง ๆ มีความสำคัญตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์เนื่องด้วยเป็นเส้นทางที่ใช้สำหรับพระราชพิธีหรือกระบวนแห่ต่าง ๆ โดยชื่อ "สนามไชย" มาจากท้องสนามไชย ซึ่งเป็นลานอยู่ข้างท้องสนามหลวง เป็นสถานที่ ๆ ให้ข้าราชบริพารตลอดจนประชาชนใช้สำหรับเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในแต่ละรัชกาล ครั้นทรงเสด็จออก ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เนื่องในวโรกาสสำคัญต่าง ๆ โดยชื่อถนนสนามไชย เป็นชื่อพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและถนนสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจริญกรุง

นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว (新打路) แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและถนนเจริญกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบหัวเมือง

ทำเนียบหัวเมือง คือเขตการปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศสยามมีหัวเมืองขึ้นอยู่ 474 หัวเมือง หลักฐานที่ได้จากจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ได้จารึกไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้จารึกไว้ที่คอสอง เฉลียงพระเบียงล้อมพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน หรืออีกอย่างหนึ่งก็คือระเบียงคด ได้เขียนภาพหัวเมืองขึ้นกรุงเทพมหานคร 474 หัวเมือง แต่ในปัจจุบันภาพดังกล่าวได้หายไปหมดแล้ว คงเหลือแต่จารึกที่บอกชื่อหัวเมืองเหล่านั้น กับเจ้าเมืองบางเมืองอยู่ราวครึ่งหนึ่ง ตรวจได้ศิลาจารึก 77 แผ่น ทำเนียบเมือง 194 เมือง แบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและทำเนียบหัวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและท่าเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) ท้าวอินทรสุริยา นามเดิม เนื่อง จินตดุล (10 ธันวาคม พ.ศ. 2428 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2517) เป็นพระพี่เลี้ยงผู้ถวายการอภิบาลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) · ดูเพิ่มเติม »

ขัณฑสกร (ยา)

ัณฑสกร เป็นเครื่องยาไทยอย่างหนึ่ง ปรากฏในคัมภีร์ยาไทยโบราณ สมุดข่อยหรือแผ่นหินสลักที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 นอกจากนี้ ยังปรากฏในตำราโอสถพระนารายณ์ สมัยกรุงศรีอยุธยา ในตำรายาไทยระบุไว้ว่า ขัณฑสกรมีหลายชนิดและมีแหล่งกำเนิดที่แตกต่างกัน ดังนี้.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและขัณฑสกร (ยา) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 1

อะเมซซิง เรซ เอเชีย ปี 1 เป็นปีที่หนึ่งของรายการ The Amazing Race Asia ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้ทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 10 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก ทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา สำหรับ ดิ อะเมซซิง เรซ เอเชีย ปี 1 นี้จะแข่งขันเป็นระยะทางประมาณ 36,000 กิโลเมตร ใน 21 วันทางผู้ผลิตรายการพยายามได้พยายามให้มีการแข่งขันกันมากขึ้น โดยให้มีการขับรถด้วยตัวเองมากขึ้น และพยายามลดโอกาสในการขึ้นเครื่องบินในไฟลท์เดียวกันของผู้เข้าแข่งขัน ฤดูกาลนี้เริ่มแพร่ภาพในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ถึง 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 1 · ดูเพิ่มเติม »

ความทรงจำแห่งโลก

วามทรงจำแห่งโลก (Memory of the World, Mémoire du monde.) คือแผนงานที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก กำหนดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลกที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดหรือของประเทศใดก็ตาม ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทั้งในด้านของวัฒนธรรม จากสังคมในอดีตให้แก่สังคมปัจจุบัน และเพื่อที่จะสืบสานส่งต่อให้แก่สังคมในอนาคต.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและความทรงจำแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

ประตูพระบรมมหาราชวัง

ประตูพระบรมมหาราชวัง.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและประตูพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2344

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2344 ในประเทศไท.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและประเทศไทยใน พ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมรอบกำแพงพระบรมมหาราชวัง

ป้อมขันธ์เขื่อนเพชร ป้อมเผด็จดัสกร ป้อมสัญจรใจวิง ป้อมอนันตคีรี ป้อมพิศาลสีมา และประตูวิจิตรบรรจง ป้อมรอบกำแพงพระบรมมหาราชวัง มีทั้งสิ้น 17 ป้อม สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจำนวน 10 ป้อม และสร้างเพิ่มเติมในภายหลัง แต่เดิมเป็นป้อมมีหอรบ มีหลังคามุงกระเบื้องโบกปูนทั.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและป้อมรอบกำแพงพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

นิราศไทรโยค

นิราศไทรโยค เป็นพระนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ซึ่งแต่งด้วยโครงสี่สุภาพ จำนวน ๑๔๔๑ บท เป็นวรรณคดีนิราศ บันทึกเหตุการณ์รายวันระหว่างเสด็จประพาสน้ำตกไทรโยคเป็นเวลา ๓๖ วัน ระหว่างวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ ๒๔ มีนาคม ร..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและนิราศไทรโยค · ดูเพิ่มเติม »

แยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวัง

แยกวงเวียน ร. และ แยกท้ายวัง เป็นวงเวียนจุดตัดถนนสนามไชย, ถนนเจริญกรุง และถนนท้ายวัง ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งทางแยกทั้ง 2 แห่งอยู่ที่จุดเดียวกัน แต่แนวถนนเจริญกรุงและถนนท้ายวังจะเยื้องกันเล็กน้อย จึงมีการจัดการจราจรเป็นรูปแบบวงเวียน โดยไม่มีสัญญาณไฟจราจร วงเวียนแห่งนี้เป็นเพียงเครื่องกั้นทางชั่วคราวที่สามารถย้ายออกได้เมื่อมีพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้พื้นที่บนถนนสนามไชย เช่น พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นต้น บริเวณทางแยกนี้มีสถานที่สำคัญตั้งอยู่ทั้ง 4 มุมถนน ได้แก่ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (สวนเจ้าเชตุ) ซึ่งในอดีตใช้ชื่อกรมการรักษาดินแดน มีชื่อย่อว่า ร. เป็นที่มาของชื่อทางแยก เยื้องกันเป็นพระบรมมหาราชวัง ด้านท้ายวัง (พระตำหนักสวนกุหลาบ) และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ซึ่งมีถนนท้ายวังแบ่งเขตวัดกับวัง และมีสวนสราญรมย์อยู่อีกด้านหนึ่งของทางแยก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและแยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

รงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เดิมมีชื่อว่า "แผนกบาลีมัธยมศึกษา" พระเดชพระคุณพระพิมลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) หรือ "สมเด็จพระพุฒาจารย์" อธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร และสภานายกมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นองค์ก่อตั้งแผนกบาลีมัธยมศึกษาตอนต้นขึ้น เมื่อปีการศึกษ..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชบพิธ

รงเรียนวัดร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและโรงเรียนวัดราชบพิธ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนตั้งตรงจิตรพณิชยการ

วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ เป็นวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและโรงเรียนตั้งตรงจิตรพณิชยการ · ดูเพิ่มเติม »

โคลงโลกนิติ

ลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอน ในลักษณะของโคลงสุภาษิต คำว่า โลกนิติ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ระเบียบแบบแผนแห่งโลก เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น อมตะวรรณกรรมคำสอน หรือ ยอดสุภาษิตอมตะ, ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นบทอ่านในหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและโคลงโลกนิติ · ดูเพิ่มเติม »

ไหว้พระ 9 วัด กรุงเทพมหานคร

ระพุทธไตรรัตนนายก หรือ หลวงพ่อโต หรือ ซำปอกง พระประธานในพระวิหารหลวง วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร ไหว้พระ 9 วัด เป็นคำเรียกการตระเวนไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัดและศาลเจ้าที่มีชื่อเสียง 9 แห่งในกรุงเทพมหานคร โดยสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ 9 แห่งเหล่านั้นได้แก.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและไหว้พระ 9 วัด กรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ไปยาลน้อย

ปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนอย่างหนึ่งในการเขียนภาษาไทย ใช้ย่อคำเพื่อให้เขียนสั้นลง โดยเขียนแต่ส่วนหน้า ละส่วนหลังเอาไว้ แล้วใส่ไปยาลน้อยไว้แทน ยังไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจน คำว่า ไปยาล มาจากคำว่า เปยฺยาล ในภาษาบาลี แปลว่า ย่อ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและไปยาลน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมไทย

ัชกรรมไท.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและเภสัชกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)

้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) (พ.ศ. 2281 - พ.ศ. 2348) ที่สมุหพระกลาโหมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก บิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัด บุนนาค) เป็นต้นสกุลบุนนาค เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา มีนามเดิมว่า นายบุนนาค เกิดเมื่อ พ.ศ. 2281 เป็นบุตรของเจ้าพระยามหาเสนา (เสน) (บุตรชายของเจ้าพระยาเพ็ชร์พิไชย (ใจ) กับท่านแฉ่ง) กับท่านบุญศรี รับราชการในตำแหน่งทนายหน้าหอ รับใช้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าพระยาจักรี ต่อมา จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาอุทัยธรรม พระยายมราช เจ้าพระยายมราช และเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาที่สมุหพระกลาโหม ตามลำดับ เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา มีภรรยาคนแรกชื่อ คุณลิ้ม ซึ่งได้เสียชีวิตลงในขณะที่ทั้งสองกลับจากการเดินทางไปขนทรัพย์สมบัติที่ซ่อนไว้ก่อนกรุงศรีอยุธยาจะแตก แต่ถูกคนร้ายดักปล้นที่ปากคลองบางหลวง และคุณลิ้มถูกทำร้ายร่างกายจนเสียชีวิต หลังจากเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาตกเป็นพ่อหม้าย ท่านผู้หญิงนาก (ภายหลังได้รับการสถาปนาที่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) ได้ยก คือ คุณนวล (เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล) ให้เป็นภรรยา นอกจากนี้ ท่านยังมีอนุภรรยาอีก 7 ท่าน เจ้าพระยาอรรคมหาเสนาถึงแก่อสัญกรรมในรัชกาลที่ 1 เมื่อปีฉลู..

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

้าจอมแว่น หรือ เจ้าคุณจอมแว่น พระนามเดิมว่า เจ้านางคำแว่น หรือ อาชญานางคำแว่น บ้างออกพระนามว่า เจ้านางบัวตอง ชาวลาวและชาวอีสานนิยมออกคำลำลองพระนามว่า เจ้านางเขียวค้อม เป็นพระบรมวงศานุวงศ์จากนครเวียงจันทน์ อดีตนางพระกำนัลในพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนผลัดราชวงศ์ใหม่ เจ้าจอมแว่นเป็นพระสนมเอกที่มีอิทธิพลต่อราชสำนักสยามฝ่ายในอย่างสูง จนชาววังได้ยกย่องให้เป็น เจ้าคุณข้างใน และถือเป็นเจ้าคุณองค์แรกในพระราชวงศ์จักรี อีกทั้งยังเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่คอยอภิบาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์อย่างเข้มงวด จนได้รับฉายาว่า คุณเสือ.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและเจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะอรัญวาสี

้าคณะอรัญวาสี คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์อรัญวาสี เจ้าคณะอรัญวาสีรูปสุดท้ายคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (แพ ติสฺสเทโว) ภายหลังจากพระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชก็มิได้มีพระสงฆ์รูปใดได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าคณะอรัญวาสีอีก คงมีแต่ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลางเท่านั้น.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและเจ้าคณะอรัญวาสี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่หนกลาง

้าคณะใหญ่หนกลาง คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนกลาง ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตามที่กำหนดในกฎมหาเถรสมาคม มหาเถรสมาคมจึงตรา "กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2535) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์" กำหนดให้เจ้าคณะใหญ่หนกลางปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 1 ภาค 2 ภาค 3 ภาค 13 ภาค 14 และภาค 15.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและเจ้าคณะใหญ่หนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดพระเชตุพลวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดพระเชตุพนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหารวัดพระเชตุพนฯ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »