โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร

ดัชนี วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร

วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 50 ถนนรักษ์นรกิจ หมู่ 3 ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระบรมธาตุไชยาเป็นสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นับเป็นปูชนียสถานสำคัญคู่บ้านคู่เมือง ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็นหนึ่งในสามของ โบราณสถานอันศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชาของภาคใต้ ได้แก่ พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เจดีย์พระมหาธาตุวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช และพระพุทธไสยาสน์ในถ้ำคูหาภิมุข บริเวณวัดคูหาภิมุข จังหวัดยะลา วัดพระบรมธาตุไชยา เป็นที่ตั้งของโรงเรียนวัดพระบรมธาตุไชยา โรงเรียนสงฆ์ และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาต.

21 ความสัมพันธ์: พระสมเด็จจิตรลดาพระอารามหลวงพระธรรมโกศาจารย์พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยากิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีมหานิกายรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อพระธาตุเจดีย์รายชื่อวัดในจังหวัดสุราษฎร์ธานีรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อธงประจำจังหวัดของไทยรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุราษฎร์ธานีสถาปัตยกรรมไทยอำเภอไชยาจังหวัดสุราษฎร์ธานีตราประจำจังหวัดของไทยโรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2โรงเรียนไชยาวิทยาเจดีย์เทศบาลตำบลตลาดไชยา

พระสมเด็จจิตรลดา

ระสมเด็จจิตรลดา พระสมเด็จจิตรลดา พระสมเด็จจิตรดา หรือ พระกำลังแผ่นดิน (ปัจจุบันประชาชนเรียกว่า สมเด็จจิตรดา, พระจิตรดา เดิมเรียกว่า พระพิมพ์ที่ฐานพระพุทธนวราชบพิตร) เป็นพระเครื่อง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง พระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ ข้าราชการ และพลเรือน ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและพระสมเด็จจิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและพระธรรมโกศาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา

ัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ตั้งอยู่บริเวณวัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร ทางทิศตะวันออก ถนนรักษ์นรกิจ ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยพระครูโสภณเจตสิการาม(เอี่ยม) เป็นผู้เริ่มก่อตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2478 ต่อมาปี พ.ศ. 2493 พระครูอินทปัญญาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) เป็นผู้เริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ถาวรแห่งแรกให้แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2495 ต่อมากรมศิลปากรได้งบประมาณสร้างอาคารหลังที่ 2 ในปี พ.ศ. 2499 ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2500 หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2524 ได้ปรับปรุงขยายต่อเติมอาคารหลังแรก จัดทำครุภัณฑ์ปรับปรุงการจัดแสดงใหม่ให้ได้มาตรฐานสากล และทำพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา เป็นทางการครั้งแรกเมื่อ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา · ดูเพิ่มเติม »

กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 จัดขึ้นโดย รัฐบาล และ ภาคเอกชน โดยตลอดปีมหามงคล พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระธาตุเจดีย์

ระธาตุเจดีย์ชินสีห์มิ่งมงคล วัดสว่างแสงจันทร์ บ้านหนองลาด ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี หน้านี้เป็นรายชื่อพระธาตุเจดีย์ สำหรับความหมายดูที่ เจดี.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและรายชื่อพระธาตุเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายชื่อวัดในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและรายชื่อวัดในจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงประจำจังหวัดของไทย

งในหน้านี้ เป็นภาพธงประจำจังหวัดของประเทศไทย ปัจจุบันเท่าที่มีการรวบรวมไว้ในเว็บไซต์ต่าง ๆ พบว่ามีธงอยู่เพียง 76 จังหวัด (รวมถึงกรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและรายชื่อธงประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ราษฎร์ธานี หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หมวดหมู่:จังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมไทย

ระตำหนักทับขวัญ ใน พระราชวังสนามจันทร์ มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยภาคกลาง สถาปัตยกรรมไทย หมายถึงศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร วัง สถูป และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิศาสตร์ และคตินิยม สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน เป็นเวลาร่วม 4000 ปี บรรพบุรุษไทยได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย สามารถแบ่งยุคได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์ และ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและสถาปัตยกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไชยา

อำเภอไชยา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เคยเป็นเมืองเก่าแก่มากแห่งหนึ่งในทางใต้ของภูมิภาคนี้ เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรศรีวิชัยในสมัยโบราณ โดยมีหลักฐานทั้งโบราณวัตถุและโบราณสถานจำนวนมาก.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและอำเภอไชยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2

รงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 หรือ โรงเรียนจังหวัด 2 (Suratthani 2 School) เริ่มก่อตั้งใน เดือน พฤษภาคม..

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและโรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนไชยาวิทยา

รงเรียนไชยาวิทยา (อังกฤษ:Chaiyawitthaya School) (อักษรย่อ: ช.ว., C.Y.) เป็นโรงเรียนประจำเภอไชยา จังหวัดจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเขต2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 (ชุมพร สุราษฎร์ธานี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนที่มีอัตราแข่งขันสูงในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่ ถนนสันติมิตร บ้านเวียง ตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและโรงเรียนไชยาวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์

ระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เจดีย์ (ภาษาบาลี: เจติย, ภาษาสันสกฤต: ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี: ถูป, ภาษาสันสกฤต: สฺตูป) เป็นสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย เจดีย์ หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์ สำหรับประเทศไทย คำว่า สถูป และ เจดีย์ เรามักรวมเรียกว่า “สถูปเจดีย์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ หรือเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคงมีการสร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพบูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้ว.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลตลาดไชยา

ตัวเมืองไชยา จากจุดชมวิวบนยอดเขานางเอ สวนโมกขพลาราม ถนนวิชิตภักดี ย่านการค้าหลักของเมืองไชยา ถนนรักษ์นรกิจ ถนนสายหลักสายหนึ่งของเมืองไชยา ตำบลตลาดไชยา หรือ เทศบาลตำบลตลาดไชยา เป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทางด้านทิศเหนือของจังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่ของเขตเทศบาล ครอบคุลมเนื้อที่ประมาณ 29.64 ตร.กม.

ใหม่!!: วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหารและเทศบาลตำบลตลาดไชยา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดบรมธาตุไชยาราชวรวิหารวัดพระบรมธาตุไชยาพระบรมธาตุไชยา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »