สารบัญ
337 ความสัมพันธ์: บ. บุญค้ำบรรพศิลป์บาร์ชาวแซกซันชาวเคลต์บางกอกซิตีแชนแนลชาติชาติพันธุ์วรรณนาชาติพันธุ์วิทยาชาเขียวชื่อบุญยอด สุขถิ่นไทยบทนำวิวัฒนาการฟรีดริช นีทเชอฟ้อนโยคีถวายไฟพรชัย มาตังคสมบัติพรรณไม้ในวรรณคดีพระภัททากัจจานาเถรีพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์พหุนิยมพิพิธบางลำพูพิพิธภัณฑ์บริติชพิพิธภัณฑ์ศิลปะฟุจิโตเกียวพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภาพินิจนครพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกฎบัตรซาราโกซากรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระต่ายกลุ่มล้ำยุคกลุ่มในและกลุ่มนอกการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันการรับรู้รสการรู้หนังสือการศึกษาสร้างคุณค่าการออกแบบแฟชั่นการผสานกลืนทางวัฒนธรรมการผสานความเชื่อการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการการจูบการทำอาหารการทำให้เป็นประชาธิปไตยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการดูแลและหาเพื่อน... ขยายดัชนี (287 มากกว่า) »
บ. บุญค้ำ
ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.
บรรพศิลป์
ัณฑ์เทอร์ราค็อตตาอินเดีย, นิวเดลี, อินเดียhttp://cities.expressindia.com/fullstory.php?newsid.
บาร์
ร์ อาจหมายถึง.
ชาวแซกซัน
รูปแกะนูนแซกซันของ "irminsul" ที่เชื่อกันว่าเชื่อมระหว่างโลกกับสวรรค์ที่เอ็กซ์เทิร์นชไตเนอ (Externsteine) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซัน (Saxon; Sachsen; ละติน: Saxones) คือกลุ่มชนเผ่าเจอร์แมนิก ในปัจจุบันเป็นบรรพบุรุษของชนทางภาคเหนือของประเทศเยอรมนีที่เรียกว่าชาวเยอรมัน, ชนทางภาคตะวันออกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาวดัตช์ และชนทางภาคใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าชาวอังกฤษ ที่ตั้งถิ่นฐานเดิมที่สุดเท่าที่ทราบของชาวแซกซันคือบริเวณทางตอนเหนือของอัลบินเจียในบริเวณฮ็อลชไตน์ (Holstein) ทางตอนเหนือสุดของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซันมีบทบาทสำคัญในการตั้งถิ่นฐานในอังกฤษโดยเฉพาะทางภาคใต้ที่ประชาชนที่อยู่อาศัยในปัจจุบันเชื่อกันว่าสีบเชี้อสายมาจากชาวแซกซันโบราณ ระหว่างสองร้อยปีที่ผ่านมาชาวแซกซันก็ไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย แอฟริกา และในบริเวณที่เป็นสหภาพโซเวียตแต่เดิม ซึ่งในบางชุมชน ชาวแซกซันยังรักษาประเพณีและภาษาของตนที่เรียกกันทั่วไปว่า "ชาวเยอรมัน" และ "ชาวดัตช์" ความมีอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมของชาวแซกซันที่มีต่อบริเวณสแกนดิเนเวีย บริเวณบอลติก และต่อชาวโพเลเบียและชาวพอเมอเรเนียซึ่งเป็นชนสลาฟตะวันตก เป็นผลมาจากเส้นทางการค้าในยุคกลางของสันนิบาตฮันเซียติก ทอเลมีเป็นนักภูมิศาสตร์กรึกคนแรกที่กล่าวถึงการตั้งถิ่นฐานของชาวแซกซันยุคก่อนคริสเตียนว่าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนทางใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์, แคว้นแซกโซนีเก่า, และบางส่วนทางตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาวแซกซันเป็นส่วนหนึ่งของผู้รุกรานมณฑลบริตันนิอา (Britannia) ของจักรวรรดิโรมัน ชนเผ่าหนึ่งของชาวเจอร์แมนิกที่รุกรานคือ ชาวแองเกิล ซึ่งเมื่อรวมกับ "แซกซัน" จึงกลายเป็นคำว่า "แองโกล-แซกซัน" ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้.
ชาวเคลต์
ริเวณที่ยังมีการใช้ภาษากลุ่มเคลต์อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เคลต์ หรือ เซลต์ (Celts; หรือ) เป็นคำที่ใช้เรียกชนยุโรปที่เดิมพูดหรือยังพูดภาษากลุ่มเคลต์ (Celtic languages) นอกจากนั้นก็ยังเป็นคำที่ใช้ในความหมายกว้าง ๆ ในการบรรยายผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวเคลต์ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมเคลต์อยู่ เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็กยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเริ่มก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัยวัฒนธรรมฮัลล์ชตัทท์ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตรียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแตน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึงไอร์แลนด์และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเชีย (Galatia) (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์ หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยู่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค (Lepontic language) จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรปมีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลต์เกาะ (Insular Celtic) ปรากฏในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม (Ogham inscription) อารยธรรมทางวรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอริชเก่าตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น "Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังการขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการย้ายถิ่นฐาน (Migration Period) ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดอยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช (ภาษาเคลต์เกาะ) และภาษาเคลต์ยุโรปก็หยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบริตตานีบนสองฝั่งของช่องแคบอังกฤษ.
บางกอกซิตีแชนแนล
งกอก ซิตี้ แชนแนล (Bangkok City Channel) สถานีโทรทัศน์กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีโทรทัศน์สังกัดกรุงเทพมหานคร ออกอากาศอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและบางกอกซิตีแชนแนล
ชาติ
ติ หมายถึงกลุ่มคนที่มีภาษา วัฒนธรรม และ/หรือ เชื้อชาติ เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ต้องมีจุดร่วมของการเป็นชาติด้วย เช่น มีประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่สืบต่อกันมา หรือมีเป้าหมายที่ดีสำหรับการรวมเป็นชาติเดียวกัน.
ชาติพันธุ์วรรณนา
ติพันธุ์วรรณนา (ethnography) เป็นชาติพันธุ์วิทยาและมานุษยวิทยาสาขาหนึ่งที่ศึกษาและอธิบายวัฒนธรรมและพฤติกรรมแบบต่าง ๆ ของกลุ่มคน ระบบ แบบแผนทางสังคม ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิตของกลุ่มคนนั้น ๆ โดยใช้วิธีการคำนึงถึงข้อเท็จจริงแห่งประเด็นศึกษา มากกว่าจะใช้วิธีการตามหลักทั่วไป อาทิ การตั้งสมมุติฐาน การสัมภาษณ์ และการทำแบบสอบถาม.
ดู วัฒนธรรมและชาติพันธุ์วรรณนา
ชาติพันธุ์วิทยา
ติพันธุ์วิทยา หรือ ชาติวงศ์วิทยา หรือ ชนชาติวิทยา (ethnology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของมานุษยวิทยา ที่ศึกษาและเปรียบเทียบเกี่ยวกับความเชื่อและวิธีปฏิบัติของแต่ละสังคม เป้าหมายหนึ่งคือ การศึกษาประวัติศาสตร์มนุษย์ กฎทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม และนัยทั่วไปเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ สำหรับผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชานี้ จะเรียกว่า "นักชาติพันธุ์วิทยา" (ethnologist) คำว่า ethnology ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ชาวสโลวัค Adam František Kollár (1718–1783) โดยมาจาก 2 คำในภาษากรีก คือ ethnos ("ชนชาติ") และ logos ("การศึกษา").
ชาเขียว
ร่ชาเขียว ชาเขียว, จีน: 绿茶 - พินอิน: lǜchá, เป็นชาที่เก็บเกี่ยวจากพืชในชนิด Camellia sinensis เช่นเดียวกับ ชาขาว ชาดำ และชาอู่หลง ชาที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีคุณสมบัติในการต้านทานโรคได้นานาชนิดจึงเป็นที่นิยมของคนส่วนใหญ่ น้ำชาจะเป็นสีเขียวหรือเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อนกว่าอู่หลง ชาเขียวหลงจิ่งที่ราคาสูงที่สุด คือ ฉือเฟิ่งหลงจิ่งที่ชงจากใบจะให้กลิ่นหอมอ่อนๆ บ้างว่าคล้ายถั่วเขียว รสฝาดน้อย เซนฉะที่ชงจากใบมีกลิ่นอ่อนๆจนเข้มได้ขึ้นกับการคั่ว บางครั้งมีรสอุมามิจนถึงรสหวานที่รับรู้ได้เฉพาะบางคนเท่านั้น ในประเทศไทยจะมีการแต่งกลิ่นเพื่อให้เกิดความน่ารับประทานมากขึ้น.
ชื่อ
ื่อ คือสิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นเป็นคำต่าง ๆ เพื่อใช้แทนคน '''สัตว์''' สิ่งของ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรมที่สามารถสัมผัสหรือรู้สึกได้ เพื่อนำมาเรียกหรืออ้างถึง การใช้ชื่อเรียกแทนบุคคลเป็นสิ่งที่ควรที่ตั้งแต่เกิดหากไม่ได้เป็นคนเร่ร่อน ตามกฎหมายแล้วบังคับให้ประชาชนทุกคนต้องมีชื่อตั้งแต่เกิด ซึ่งชื่ออาจจะซ้ำกันได้.
บุญยอด สุขถิ่นไทย
ญยอด สุขถิ่นไทย เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้ประกาศข่าว และอดีตนักจัดรายการวิทยุชาวไท.
ดู วัฒนธรรมและบุญยอด สุขถิ่นไทย
บทนำวิวัฒนาการ
"ต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง" จากหนังสือ ''วิวัฒนาการมนุษย์'' ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (ลอนดอน, 1910) ของเฮเกิล (Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ สามารถจัดเป็นรูปต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขามากมายงอกออกจากลำต้นเดียวกัน วิวัฒนาการ (evolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงในสรรพชีวิตตลอดหลายรุ่น และศาสตร์ชีววิทยาวิวัฒนาการ (evolutionary biology) เป็นศึกษาว่าเกิดขึ้นอย่างไร ประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมซึ่งเข้ากับการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมรวมทั้งการกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดจากความเสียหายของดีเอ็นเอหรือข้อผิดพลาดในการถ่ายแบบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต เมื่อความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนไปอย่างไม่เจาะจงแบบสุ่มเป็นเวลาหลายรุ่นเข้า การคัดเลือกโดยธรรมชาติจะเป็นเหตุให้พบลักษณะสืบสายพันธุ์มากขึ้นหรือน้อยลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขึ้นอยู่กับความสำเร็จทางการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเช่นนั้น โลกมีอายุประมาณ 4,540 ล้านปี และหลักฐานสิ่งมีชีวิตเก่าแก่ที่สุดโดยไม่มีผู้คัดค้านสืบอายุได้อย่างน้อย ระหว่างมหายุคอีโออาร์เคียนหลังเปลือกโลกเริ่มแข็งตัว หลังจากบรมยุคเฮเดียนก่อนหน้าที่โลกยังหลอมละลาย มีซากดึกดำบรรพ์แบบเสื่อจุลินทรีย์ (microbial mat) ในหินทรายอายุ ที่พบในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย หลักฐานรูปธรรมของชีวิตต้น ๆ อื่นรวมแกรไฟต์ซึ่งเป็นสสารชีวภาพในหินชั้นกึ่งหินแปร (metasedimentary rocks) อายุ ที่พบในกรีนแลนด์ตะวันตก และในปี 2558 มีการพบ "ซากชีวิตชีวนะ (biotic life)" ในหินอายุ ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย Early edition, published online before print.
ฟรีดริช นีทเชอ
ฟรีดริช วิลเฮล์ม นีทเชอ (Friedrich Wilhelm Nietzsche) (15 ตุลาคม ค.ศ. 1844 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1900) เป็นนักนิรุกติศาสตร์และนักปรัชญาชาวเยอรมัน นิยมเขียนการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องศาสนา คุณธรรม วัฒนธรรมร่วมสมัย ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาเยอรมันในแบบเฉพาะตัว เพื่อแสดงถึงคติพจน์ต่าง ๆ งานเขียนของนิชเชอที่โด่งดังคือ"Beyond Good And Evil" และ"คือพจนาซาราทุสตรา".
ฟ้อนโยคีถวายไฟ
ฟ้อนโยคีถวายไฟ การฟ้อนชนิดหนึ่งที่มีที่มาจากคุ้มเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ คือ “ฟ้อนโยคีถวายไฟ” เรื่องราวของฟ้อนชนิดนี้ อาจารย์ธีรยุทธ ยวงศรี ได้เขียนไว้ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ เล่ม 9 หน้า 4886.
พรชัย มาตังคสมบัติ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พรชัย มาตังคสมบัติ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2483 ที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับ ร.ดร.อรพรรณ มาตังคสมบัติ มีธิดา 2 คน คือ ทพญ.อรนาฏ มาตังคสมบัติ และ พญ.พรพรรณ มาตังคสมบัติ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรชัย มาตังคสมบัติ หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ดร.พรชัย มาตังคสมบัติ เป็นผู้มีความมุ่งมั่นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบการศึกษาวิทยาศาสตร์ของประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรสายวิทยาศาสตร์อย่างครบวงจร การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และกระบวนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับประเทศ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายภายในประเทศและต่างประเทศทั้งระดับภูมิภาคและทั่วโลก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนามหาวิทยาลัย ระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้ทำให้มหาวิทยาลัยมหิดลพัฒนาขึ้นเป็นอย่างมาก จึงได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีเป็นวาระที่สอง ไม่นานมานี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรชัย มาตังคสมบัติได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ปาล์มส์อะกาเดมิกส์ ชั้นอัศวิน (Commandeur dans l’Ordre des Palmes Academiques) ในฐานะผู้พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการและทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยมหิดลก็ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติ ปี 2549 (Prime Minister’s Export Award 2006) จากนายกรัฐมนตรี เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยมหิดลในยุคสมัยของท่านได้รับการจัดอันดับจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แห่งชาติให้เป็นมหาวิทยาลัยดีเลิศอันดับ 1 ของไทยทั้งด้านการเรียนการสอนและการวิจัย เมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ภายในประเทศทั้งหม.
ดู วัฒนธรรมและพรชัย มาตังคสมบัติ
พรรณไม้ในวรรณคดี
พรรณไม้ในวรรณคดี หมายถึงไม้ประเภทต่าง ๆ ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในวรรณกรรมของไทย โดยเฉพาะประเภทวรรณคดี ซึ่งจะบอกได้ถึงความสำคัญของธรรมชาติ และความสวยงามของพรรณพืชไม้ ที่มีความสัมพันธ์ต่อวัฒนธรรม และสังคมไทยมาช้านาน ดอกไม้ในวรรณคดีไทย หมายถึงดอกไม้ที่บรรดากวีไทยท่านได้พรรณนาไว้เป็นบทร้อยกรองอย่างไพเราะในหนังสือวรรณคดี เช่น รามเกียรติ์ อิเหนา เงาะป่า ดาหลัง ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี บทเห่เรือเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก กาพย์ห่อนิราศธารทองแดง นิราศหริภุญชัย นิราศพระประถม นิราศสุพรรณ นิราศเมืองแกลง นิราศภูเขาทอง นิราศอิเหนา นิราศวัดเจ้าฟ้า ลิลิตพระลอ ลิลิตตะเลงพ่าย ถือเป็นความสามารถเฉพาะตัวของกวีไทย ที่ได้พรรณนาชื่อดอกไม้หลายชนิดไว้อย่างไพเราะ ทั้งลักษณะ สีสัน กลิ่น ทำให้ผู้อ่านเกิดมโนภาพ ประทับใจ เหมือนได้ไปอยู่ ณ ที่นั้นด้วย.
ดู วัฒนธรรมและพรรณไม้ในวรรณคดี
พระภัททากัจจานาเถรี
ตำหนักพระนางพิมพา พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระนามเดิม พระนางยโสธรา (พระนางพิมพา หรือ พระนางยโสธราพิมพา) เป็นพระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระนางได้อุปสมบทเป็นภิกษุณีและบรรลุเป็นพระอรหันต์ในที.
ดู วัฒนธรรมและพระภัททากัจจานาเถรี
พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)
ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.
ดู วัฒนธรรมและพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)
พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย
ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย
พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ
พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์
ร.พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ (ชื่อเดิม: นพพร ชื่อเล่น: ตั้ม) สำเนาจาก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, 12 เมษายน 2550 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ โฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตโฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตโฆษกกระทรวงวัฒนธรรม อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และอดีตนักแสดง.
ดู วัฒนธรรมและพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์
พหุนิยม
หุนิยม (Pluralism) เป็นหนึ่งในบรรดาคำหลายๆ คำที่ถูกหยิบยกไปใช้อย่างกว้างขวางในแทบจะทุกสาขา แต่โดยรวมแล้วจะมีนัยหมายถึงชุดของแนวคิดที่รับรู้ว่ามีความแตกต่างด้านแนวคิดอยู่ในสังคม และสนับสนุนในความแตกต่างหลากหลายทางแนวคิดเหล่านั้น รวมไปถึงต่อต้านการผูกขาดการตีความ หรือ การครอบงำโดยแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งเพียงแนวคิดเดียว เช่น พหุวัฒนธรรม (cultural pluralism) นั้นสนับสนุนแนวคิดที่ให้ความสำคัญกับความแตกต่างหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม และไม่ยอมรับการครอบงำด้วยอิทธิพลของวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง หรือ พหุนิยมเชิงญาณวิทยา (epistemological pluralism) ที่มองว่าองค์ความรู้นั้นมีวิธีการอธิบาย และเข้าถึงตัวองค์ความรู้ได้หลากหลายวิธี โดยมิได้ถูกครอบงำด้วยวิธี และรูปแบบการอธิบายของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งเพียงสำนักเดียว (Kurian, 2011: 1213).
พิพิธบางลำพู
งลำพู เป็นทั้งพิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ และห้องสมุดชุมชนของย่านบางลำพู อยู่ใกล้กับป้อมพระสุเมรุ บนถนนพระสุเมรุ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาชุมชนบางลำพูให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ และเป็นศูนย์การเรียนรู้เชิงการศึกษาวัฒนธรรมชุมชน.
พิพิธภัณฑ์บริติช
้านหน้าของ '''บริติช มิวเซียม''' ใจกลางของพิพิธภัณฑ์มีการรื้อพัฒนาใหม่ใน ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ให้เป็นมหาราชสำนักของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ล้อมรอบห้องอ่านหนังสือเดิม ห้องสมุดอันโด่งดังภายในบริติชมิวเซียม บริติชมิวเซียม หรือที่นิยมเรียกกันว่า พิพิธภัณฑ์อังกฤษ (British Museum) ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของมนุษยที่สำคัญที่สุดและใหญ่ที่สุดในโลก มีการก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์บริติช
พิพิธภัณฑ์ศิลปะฟุจิโตเกียว
ัณฑ์ศิลปะฟุจิโตเกียว ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2526 เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงศิลปะ เครื่องปั้น ศิลปกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม สากล.
ดู วัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ศิลปะฟุจิโตเกียว
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์
ัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์ (Cleveland Museum of Natural History) เป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประจำเมืองคลีฟแลนด์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1920 และได้ดำเนินการวิจัยและจัดแสดงครอบคลุมในสาขา มานุษยวิทยา, โบราณคดี, ดาราศาสตร์, พฤกษศาสตร์, ธรณีวิทยา, บรรพชีวินวิทยาและ สัตววิทยา และเป็นหนึ่งในสี่พิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ในบริเวณ University circle อันเป็นศูนย์กลางทางศิลปะและวัฒนธรรมของเมือง ซึ่งในบริเวณนี้มีสถาณที่ตั้งที่สำคัญอื่นอีก อาทิ เช่น มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ พิพิธภัณฑ์ศิลป์แห่งเมืองคลีฟแลนด์ สถาบันการดนตรีคลีฟแลนด์ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองคลีฟแลนด์ 8 กิโลเมตรทางทิศตะวันออก พิพิธภัณฑ์จัดแสดงสัตว์ป่าและพันธุ์ไม้ในรัฐโอไฮโอ อาทิเช่น แมวป่าแถบอเมริกาเหนือ (bobcat), นากแม่น้ำ, นกนักล่า ชนิดต่างๆ และยังมีนิทรรศการด้านการท่องเที่ยว, การให้บรรยาย, ร้านอาหาร, ร้านขายของที่ระลึก และ การเปิดหอดูดาวทุกคืนวันพุธให้สาธารณชนเข้าชม ในปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา
ัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา (อังกฤษ: Wat Kungtapao Local Museum) เป็นแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นขนาดเล็ก ตั้งอยู่ที่ วัดคุ้งตะเภา หมู่ 4 หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดแสดงเอกสารโบราณและโบราณวัตถุของวัดและชุมชนหมู่บ้านคุ้งตะเภา บริหารจัดการในรูปแบบกรรมการโดยวัดและชุมชน ในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิ 250 ปี วัดคุ้งตะเภา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา
พินิจนคร
นิจนคร เป็นรายการสารประโยชน์ประเภทสารคดี ผลิตโดย บริษัท SANFAH television ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ทุกวันพุธเวลา 20.25 น.
พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
ื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง (Marine and Coastal Protected Areas) คือพื้นที่ชายฝั่งและในทะเลที่เป็นแหล่งความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ มีลักษณะสำคัญทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งได้รับการคุ้มครองคุณค่า (Value) ของพื้นที่นั้นไว้ด้วยกฎหมายหรือสิ่งอื่นที่สามารถรับรองได้ว่ามีขีดความสามารถเพียงพอในการคุ้มครองพื้นที่ได้ เพื่อการใช้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และระดับสังคมโลกได้อย่างเข้าใจ รู้คุณค่า ยั่งยืน และเป็นธรรม.
ดู วัฒนธรรมและพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กฎบัตรซาราโกซา
กฎบัตรซาราโกซา 2551 (THE 2008 ZARAGOZA CHARTER) การจัดแสดงนิทรรศการนานาชาติ ณ เมืองซาราโกซา เป็นการจัดแสดงนิทรรศการครั้งแรกที่กำหนดแนวคิดหลัก คือ น้ำและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Water and Sustainable Development) และจัดแสดงที่ริมฝั่งแม่น้ำเอโบร เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน โดยมีประเทศต่างๆ เข้าร่วมงานถึง 104 ประเทศ องค์กรระดับนานาชาติ 3 แห่ง ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเมืองต่างๆในราชอาณาจักรสเปน องค์การนิทรรศการนานาชาติ หรือ BIE หรือ (The Bureau International des Expositions; International Exhibitions Bureau) ได้ให้คำแนะนำแนวคิดการจัดแสดงนิทรรศการครั้งนี้ให้สอดคล้องกับงานขององค์การสหประชาชาติเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ BIE ตั้งเป้าหมายการจัดนิทรรศการระดับนานาชาติที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยตรง และเป็นการให้ความรู้แก่สาธารณชน การจัดงานที่ซาราโกซาครั้งนี้ตั้ง เป้าหมาย ให้ผู้เข้าชมหลายล้านคนได้รับความรู้เกี่ยวกับน้ำและปัญหาในการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากงานนี้จะเป็นแหล่งรวมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแล้ว กิจกรรมของการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ (Water Tribune)เป็นการถ่ายทอดความรู้และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ตลอดจนความท้าทายในการจัดการทรัพยากรน้ำที่มนุษยชาติกำลังประสบอยู่ในปัจจุบันและในอนาคต ตลอดระยะเวลา 93 วันของการจัดแสดงนิทรรศการ เวทีนี้เป็นกิจกรรมใหญ่ที่สุดและรวบรวมกิจกรรมระดับนานาชาติเกี่ยวกับน้ำและการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งหมดไว้ การประชุมสัมมนาทรัพยากรน้ำนี้ เสร็จสิ้นก่อนวันปิดงานแสดงนิทรรศการเป็นเวลา 2 วัน โดยการนำเสนอบทสรุปและการวิเคราะห์ในรูปของกฎบัตรซาราโกซา 2008 (The 2008 Zaragoza Charter).
กรมศิลปากร
กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.
กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.
ดู วัฒนธรรมและกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)
กระต่าย
กระต่ายสายพันธุ์เนเธอร์แลนด์ดวอฟ ซึ่งเป็นกระต่ายสายพันธุ์เล็ก และนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงกันมากที่สุดชนิดหนึ่ง กระต่าย (Rabbit) เป็นสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับกระต่าย (Lagomorpha) ในวงศ์ Leporidae กระต่ายแม้จะมีฟันแทะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก เนื่องมีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน เพราะกระต่ายมีฟันแทะที่ขากรรไกรบน 2 แถว เรียงซ้อนกันแถวละ 2 ซี่ ฟันกรามบนข้างละ 6 ซี่ และฟันกรามล่างข้างละ 5 ซี่ เมื่อเวลาเคี้ยวอาหาร กระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 ด้านเคี้ยวสลับกันไป ต่างจากสัตว์ฟันแทะโดยทั่วไปที่เคี้ยวเคลื่อนหน้าเคลื่อนหลัง ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า (1\tfrac, C\tfrac, P\tfrac, M\tfrac) X 2.
กลุ่มล้ำยุค
กลุ่มล้ำยุค (avant-garde) ในภาษาฝรั่งเศสหมายถึงทหารกองหน้า (แวนการ์ด), Dictionary.com เรียกดูเมื่อ 14 มีนาคม..
กลุ่มในและกลุ่มนอก
ในสาขาสังคมศาสตร์และจิตวิทยาสังคม กลุ่มใน (ingroup) เป็นกลุ่มสังคมที่บุคคลนับว่าตนเป็นสมาชิก โดยเปรียบเทียบกัน กลุ่มนอก (outgroup) ซึ่งเป็นกลุ่มสังคมที่บุคคลไม่นับว่าตนเป็นสมาชิก ยกตัวอย่างเช่น เราอาจจะเห็นว่าตนเป็นสมาชิกของกลุ่มต่าง ๆ ที่จำแนกโดยเชื้อชาติ วัฒนธรรม เพศ อายุ หรือศาสนา และมีการพบว่า ความรู้สึกทางจิตใจว่าเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคม มีบทบาทในปรากฏการณ์ทางสังคมต่าง ๆ มากมาย คำภาษาอังกฤษว่า ingroup และ outgroup เกิดความนิยมเพราะงานของเฮ็นรี่ ทัชเฟ็ล และเพื่อนร่วมงาน เมื่อกำลังสร้างทฤษฎีเอกลักษณ์ทางสังคม (social identity theory) และได้ศึกษาความแตกต่างของกลุ่มในกลุ่มนอก โดยวิธีที่เรียกว่า minimal group paradigm พวกเขาพบว่า เราสามารถสร้างกลุ่มในตามความชอบใจของตน ภายในไม่กี่นาที และกลุ่มเช่นนี้อาจจะมีเอกลักษณ์อะไรบางอย่างที่เป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ความชอบใจในภาพศิลป์บางอย่าง.
ดู วัฒนธรรมและกลุ่มในและกลุ่มนอก
การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน
ผ้าปักบายู (Bayeux Tapestry) แสดงศึกเฮสติงส์และเหตุการณ์ที่นำมาสู่เหตุการณ์ที่ว่า ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ หรือ การรุกรานของชาวนอร์มัน (ภาษาอังกฤษ: Norman conquest of England) เกิดขึ้นในปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน
การรับรู้รส
ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.
การรู้หนังสือ
thumb การรู้หนังสือ (literacy) คือ ความสามารถที่เข้าใจภาษาในระดับที่เหมาะกับการติดต่อสื่อสาร และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับสังคมต่างๆ มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์ หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของดิจิทัล ซึ่งจะเห็นได้ว่า ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ สถาบันการศึกษาของอังกฤษ มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับวัฒนธรรม การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของมโนคติวิทยา ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย หมวดหมู่:ภาษา หมวดหมู่:ความรู้ หมวดหมู่:สังคม หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ประยุกต์ หมวดหมู่:สังคมเศรษฐศาสตร์.
การศึกษาสร้างคุณค่า
การศึกษาสร้างคุณค่า เป็นระบบการศึกษาแบบแนวมนุษยนิยม สร้างคุณค่าความเป็นมนุษย์ เริ่มโดยจึเนะซาบุโร่ มาคิงุจิ นายกสมาคมโซคา งัคไก ท่านแรก.
ดู วัฒนธรรมและการศึกษาสร้างคุณค่า
การออกแบบแฟชั่น
การจัดแสดงแฟชั่นเสื้อผ้าในปี ค.ศ. 2009 การออกแบบแฟชั่น (fashion design) ถือเป็นศิลปะการถักทอชีวิตการเป็นอยู่ของคนลงบนเสื้อผ้า โดยใช้เวลา สถานที่ วัฒนธรรมและประเพณีเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ ในหนึ่งปีคอลเลคชั่นของเสื้อผ้าจะแบ่งออกเป็น 3 ฤดูกาลคือ คอลเลคชั่นฤดูหนาว คอลเลคชั่นฤดูร้อนและคอลเลคชั่นฤดูใบไม้ผล.
การผสานกลืนทางวัฒนธรรม
การผสานกลืนทางวัฒนธรรม หรือ การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม (Cultural assimilation) คือการโต้ตอบทางการเมืองต่อสถานการณ์ในด้านที่เกี่ยวกับความแตกต่างของชาติพันธุ์ ที่เป็นนโยบายในการส่งเสริมการกลืนชนกลุ่มน้อยเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมของชนหมู่มาก การผสานทางวัฒนธรรมเป็นปรัชญาที่ตรงกันข้ามกับปรัชญาของการยอมรับความแตกต่าง (affirmative philosophy) เช่นในปรัชญาพหุวัฒนธรรมนิยม (Multiculturalism) ที่เป็นปรัชญาที่แสวงหาการดำรงความแตกต่างของชนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม คำว่า “การผสานกลืน” หรือ “assimilation” มักจะเป็นคำที่ใช้กับชนอพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานในดินแดนใหม่ เช่นกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในในสหรัฐอเมริกา ประเพณีใหม่และทัศนคติก็จะได้รับจากการติดต่อและการสนทนาปราศรัย แต่การรับวัฒนธรรมใหม่ไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทางเดียว ชนอพยพแต่ละกลุ่มต่างก็มีส่วนในการนำวัฒนธรรมของตนเองเข้ามาผสานกับวัฒนธรรมในสังคมใหม่ด้วย “การผสานกลืน” มักจะเป็นกระบวนการที่ค่อยเป็นค่อยไปและมากน้อยตามแต่สถานการณ์ การการผสานกลืนที่สมบูรณ์เกิดขึ้นเมื่อสังคมไม่อาจจะแยกระหว่างผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่เดิมและผู้ที่เข้ามาใหม่ได้.
ดู วัฒนธรรมและการผสานกลืนทางวัฒนธรรม
การผสานความเชื่อ
การผสานความเชื่อ (Syncretism) คือความพยายามที่จะผสานความคิดหรือปรัชญาที่ต่างกันหรือตรงกันข้ามกันเข้าด้วยกัน โดยการนำตระกูลความคิดต่าง ๆ มาผสมผสานให้กลืนกันกันตามแนวปรัชญาใหม่ ที่อาจจะทำได้จากการดึงแนวเทียบของปรัชญาดั้งเดิม ธรรมเนียม และโดยเฉพาะจากเทววิทยาและปรัมปราวิทยาของศาสนาต่าง ๆ มาผสานกัน ในการสร้างพื้นฐานของความเป็นเอกทัศน์ของความคิดต่าง ๆ ดังว่าที่สามารถทำให้สร้างความเข้าใจได้จากมุมมองร่วมกัน (inclusive approach) ได้ การผสานความเชื่อมักจะใช้ในการเขียนวรรณกรรม, คีตกรรม, ศิลปะแสดงลักษณ์ และการแสดงออกทางวัฒนธรรม (เปรียบเทียบกับคตินิยมสรรผสาน) นอกจากนั้นการผสานความเชื่อก็ยังปรากฏในงานสถาปัตยกรรมหรือทางด้านการเมืองที่เรียกว่า “การเมืองเชิงผสาน” (Syncretic Politics) แต่ความหมายหลังจะมีความหมายแตกต่างออกไปบ้าง การผสานความเชื่อป็นคำที่นิยมใช้ในความคิดที่เกี่ยวกับศาสนาเมื่อกล่าวถึงการผสานความเชื่อของปรัชญาศาสนาต่าง ๆ ขึ้นเป็นปรัชญาใหม่ หรือ ผสานเข้าเป็นธรรมเนียมศาสนาของความเชื่อจากธรรมเนียมที่เดิมแล้วไม่มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด การประสานนี้อาจจะเกิดจากสาเหตุหลายประการ และสิ่งหลังอาจจะเกิดขึ้นในบริเวณที่มีประเพณีของศาสนาหลายศาสนาอยู่ด้วยกันและต่างก็มีบทบาทสำคัญในสังคม หรือในกรณีที่วัฒนธรรมถูกพิชิตและผู้พิชิตนำความเชื่อของศาสนาที่ต่างออกไปเข้ามาในสังคม แต่ไม่สามารถที่จะกำจัดความเชื่อหรือประเพณีการปฏิบัติดั้งเดิมของบริเวณที่พิชิตได้.
ดู วัฒนธรรมและการผสานความเชื่อ
การจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการ
การจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการ (Integrated Coastal Zone Management: ICZM) คือ “ กระบวนการจัดการที่ทำให้การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชายฝั่งของกลุ่มผู้ใช้อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับความจำเป็นในการเลี้ยงชีพและความคุ้มทุนในการประกอบกิจการ (เพื่อการค้า) โดยมีการแบ่งปันและจัดสรรการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชายฝั่ง (Coastal resources) อย่างเป็นธรรมและร่วมรับผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้น ภายใต้ความสามารถในการรองรับได้ของระบบนิเวศชายฝั่ง (Carrying Capacity of Coastal Ecology) รวมทั้งเป็นกระบวนการจัดการที่รวมถึงการสงวน (Reservation) คุ้มครอง (Protection) และฟื้นฟู (Rehabilitation / Restoration) ระบบนิเวศชายฝั่ง ให้สามารถรักษาศักยภาพในการผลิตทรัพยากรชายฝั่งได้ดังเดิมหรือพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น ด้วยการนำองค์ความรู้ทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องมาวางแผนการจัดการและดำเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมจากกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ ผู้มีหน้าที่จัดการชายฝั่งตามกฎหมาย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ ด้วยความตระหนัก เข้าใจ และยอมรับ โดยเป็นการมีส่วนร่วมในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานภาพและบทบาทของแต่ละฝ่ายในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการ รวมทั้งมีความสอดคล้องกับเงื่อนไขที่ดีทางสังคม วัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจ โครงสร้างการปกครอง และนโยบายทางการเมือง”.
ดู วัฒนธรรมและการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการ
การจูบ
โรเมโอและจูเลียต จูบกันในภาพเขียนของแฟรงก์ ดิกซี การจูบ คือการนำเอาริมฝีปากสัมผัสกับร่างกายของอีกคนหนึ่ง การแสดงการจูบในแต่ละวัฒนธรรมมีความหมายที่แตกต่างกันไป การจูบอาจเพื่อแสดงความรักหรือความใคร่ ความนับถือ การทักทายและแสดงความโชคดี การจูบในหลายวัฒนธรรมทั่วโลกโดยมากจะเป็นการแสดงความรัก ในบางวัฒนธรรมการจูบเป็นการทักทาย โดยเฉพาะประเทศในยุโรป แต่ในบางครั้งการจูบก็ไม่ใช่สิ่งที่เกิดประจำวัน อย่างเช่นชนพื้นเมืองในออสเตรเลีย ชาวตาฮิติ หรือหลายเผ่าในแอฟริกา การศึกษาเรื่องการจูบเริ่มในต้นศตวรรษที่ 20 โดยนักประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ชื่อ เออร์เนสต์ ครอว์ลีย์ เขียนไว้ว่า "การจูบเป็น การแสดงอเนกประสงค์ในชีวิตสังคมของความศิวิไลซ์ชั้นสูงกว่าของความรู้สึก ความใคร่ ความรัก (เพศ ความเป็นพ่อเป็นแม่ และความเป็นลูก) และความเคารพ" ครอว์เลย์ยังกล่าวว่า การสัมผัส "เป็นความรู้สึกของความเป็นแม่ และการจูบเป็นการสัมผัสและรูปแบบพิเศษของการติดต่อกันที่ใกล้ชิด"Crawley, Ernest.
การทำอาหาร
การทำอาหาร (Cooking) คือ การกระทำเพื่อเตรียมอาหารให้พร้อมสำหรับการบริโภค นับตั้งแต่มนุษย์ค้นพบไฟเป็นต้นมา การทำอาหารได้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของวัฒนธรรม.
การทำให้เป็นประชาธิปไตย
การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.
ดู วัฒนธรรมและการทำให้เป็นประชาธิปไตย
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์รวบยอดของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ โดยที่ในอดีตมีการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสูงอีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้แบบทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และแบบทดสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT) มาใช้แทน การทดสอบทางการศึกษาได้รับข้อวิพากษ์วิจารณ์จากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสามัญ ซึ่งมีการกล่าวถึงปัญหาข้อสอบที่มีความกำกวม บางข้อเกินกว่าหลักสูตรกำหนด รวมไปถึงปัญหาข้อสอบผิดและไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งเป็นปัญหาที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำลังเร่งแก้ปัญหาอยู่ในปัจจุบัน.
ดู วัฒนธรรมและการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นการท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเรียนรู้จากวัฒนธรรมอื่นๆ เพื่อให้เกิดโลกทัศน์ใหม่ๆ ที่กว้างไกล จากการมีประสบการณ์ในแหล่งวัฒนธรรมที่คงเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น หมวดหมู่:การท่องเที่ยว ทดสอบ.
ดู วัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การดูแลและหาเพื่อน
การดูแลและหาเพื่อน (Tend-and-befriend) เป็นพฤติกรรมของสัตว์บางชนิดรวมทั้งมนุษย์ เพื่อตอบสนองต่อภัยโดยป้องกันหรือดูแลเลี้ยงลูก (tend) และโดยหาพวกหรือกลุ่มสังคมเพื่อช่วยป้องกันให้กันและกัน (befriend) มีสมมติฐานว่าพฤติกรรมนี้เป็นการตอบสนองปกติของหญิงต่อความเครียด เหมือนกับที่การตอบสนองหลักของชายเป็นแบบสู้หรือหนี เป็นแบบจำลองทางทฤษฎีที่ตั้งขึ้นโดย ดร.
ดู วัฒนธรรมและการดูแลและหาเพื่อน
การคว่ำบาตร
การคว่ำบาตร (boycott) หมายถึง การยุติการติดต่อกันในมิติใดมิติหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการลงโทษ ต่อรอง หรือเพื่อตักเตือน โดยที่มาของคำว่าคว่ำบาตรในภาษาไทยมาจากศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาท แต่ส่วนใหญ่คำว่าคว่ำบาตรในประเทศไทยนั้นมักถูกใช้แทนความหมายของคำว่า boycott ในภาษาอังกฤษ ที่เป็นความหมายในด้านการค้าหรือการเมือง การคว่ำบาตร (boycott หรือ บอยคอต) ในทางการค้า มักจะใช้ในระดับการค้าระหว่างประเทศ โดยกลไกการคว่ำบาตรอาจจะมีทั้ง การไม่ยอมขายสินค้าหรือบริการให้ประเทศคู่ค้า หรือไม่ซื้อสินค้าหรือบริการจากประเทศคู่ค้า หรืออาจจะทั้งสองกรณีก็ได้ การคว่ำบาตรในความหมายทางการค้าจึงถือได้ว่าเป็นอาวุธทางเศรษฐกิจที่ร้ายกาจอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ต่อรองให้คู่กรณีจำยอมในข้อตกลงด้านอื่น ๆ เช่น ด้านการทูต การเมือง วัฒนธรรม การทหาร หรือแม้แต่ด้านการค้า เนื่องเพราะทุกประเทศในโลกต้องค้าขายกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่ตนเองไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่พอกับความต้องการในประเท.
การต่อต้านยิว
การ์ตูนเยาะหยันชาวยิวจากฝรั่งเศส ค.ศ. 1898 หน้าปกหนังสือ “ทางสู่ชัยชนะของความเป็นเยอรมันต่อความเป็นยิว” โดยมารร์ ฉบับ ค.ศ.
การปรองดอง
การปรองดอง (reconciliation) หมายถึง การจัดการความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมที่เคยแตกแยก ต่อสู้ และปะทะกัน ทั้งในระดับความคิดและในระดับการใช้ความรุนแรงทางกายภาพ ในการตกลงเพื่อเข้าสู่การเจรจาสันติภาพ (peace talk) ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ โดยไม่ใช้ความรุนแรง และทำการสร้างองค์กรหรือสถาบันที่เป็นประชาธิปไตยในการเข้ามาช่วยปรองดองและต่อรองอำนาจระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในที่นี้อาจจะรวมถึงการใช้มาตรการออกกฎหมายนิรโทษกรรม เพื่อเป็นเครื่องมือเยียวยาความเสียหายโดยเริ่มจากการแสวงหาความจริงในอดีต สาเหตุความไม่เป็นธรรมในสังคม การช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเดือดร้อนจากความขัดแย้ง การแสวงหาข้อเท็จจริงของความคิดแต่ไม่หาคนผิด และการจัดสรรอำนาจใหม่ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ แต่ควรระลึกด้วยว่า การใช้กฎหมายนิรโทษกรรมแต่เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถนำไปสู่การปรองดองอย่างแท้จริงได้ การปรองดองจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อต้นตอของความขัดแย้งในสังคมได้รับการแก้ไข การจะเริ่มแก้ไขได้ก็โดยการพิสูจน์ทราบ บันทึก และชี้แจงข้อเท็จจริงในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพราะสังคมมีสิทธิในการเข้าถึงความจริง การรับทราบความจริงจึงจะนำมาสู่ความเข้าใจ การให้อภัย และเมื่อนั้นการปรองดองจึงจะเกิดขึ้นได้ (Murphy, 2010: 1-37).
การประชุมเอเชีย–ยุโรป
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป หรือ อาเซม (Asia-Europe Meeting ย่อว่า ASEM) เป็นการประชุมของกลุ่มประเทศในเอเชียและยุโรป จัดตั้งขึ้นเพื่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของสองกลุ่มประเทศ อาเซมเริ่มต้นจากข้อเสนอใน พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและการประชุมเอเชีย–ยุโรป
การนับรวมทุกกลุ่มคน
การนับรวมทุกกลุ่มคน (Inclusiveness or Inclusion) หมายถึง การเปิดช่องทางให้ปัจเจกบุคคลและกลุ่มทุกกลุ่มเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมือง มีความเท่าเทียมกันทางสังคมในด้านสิทธิเสรีภาพ มีโอกาสและความเสมอภาคในกระบวนการอภิปรายถกเถียงและการตัดสินใจในทางการเมือง โดยการนับประชาชนทุกคนในสังคมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความเป็นพลเมืองที่มีสิทธิเสรีภาพอย่างเสมอหน้ากัน ทุกคนสามารถเข้าถึงอำนาจตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง อย่างไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ความเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมืองจึงเป็นการรวมประชาชนทุกฝั่งฝ่ายเข้าเป็นสังคมเดียว ความหมายดังกล่าวจึงตรงข้ามกับความเหนือกว่าเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล (exclusiveness) ซึ่งหมายถึงการให้สิทธิพิเศษแก่คนบางกลุ่ม จนกลายเป็นอภิสิทธิชนในสังคม.
ดู วัฒนธรรมและการนับรวมทุกกลุ่มคน
การแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก
การแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ illusion ว่า "การลวงตา, การแปลสิ่งเร้าผิด, มายา, ภาวะลวงตา" (Positive illusions) เป็นทัศนคติเชิงบวกไม่สมจริง ที่มีต่อตนเองหรือต่อบุคคลที่ใกล้ชิด เป็นการแปลสิ่งเร้าผิดในรูปแบบของการหลอกลวงตนเอง (self-deception) หรือการยกย่องตนเอง (self-enhancement) ที่ทำให้รู้สึกดี ดำรงรักษาความเคารพตน (self-esteem) หรือช่วยกำจัดความไม่สบายใจอย่างน้อยก็ในช่วงเวลาสั้น ๆ มีรูปแบบใหญ่ ๆ 3 อย่างคือ ความเหนือกว่าเทียม (illusory superiority) ความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี (optimism bias) และการแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้ (illusion of control) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า "positive illusions" เกิดใช้เป็นครั้งแรกในงานปี 1988 ของเทย์เลอร์และบราวน์ โดยมีการกล่าวถึงภายหลังว่า "แบบจำลองสุขภาพจิตปี 1988 ของเทย์เลอร์และบราวน์ยืนยันว่า การแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวกบางอย่างแพร่หลายเป็นอย่างสูงในความคิดปกติ และเป็นตัวพยากรณ์ค่าเกณฑ์ที่ปกติสัมพันธ์กับสุขภาพจิตที่ดี" มีข้อถกเถียงที่ยังไม่ยุติว่า บุคคลแสดงปรากฏการณ์นี้อย่างสม่ำเสมอในขอบเขตแค่ไหน และปรากฏการณ์นี้มีประโยชน์อะไรกับบุคคลเหล่านั้น.
ดู วัฒนธรรมและการแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก
การเพิ่มอำนาจ
การเพิ่มอำนาจ (Empowerment) เป็นคำศัพท์ที่ใช้กล่าวถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ตลอดเวลาในอดีตไม่มีอำนาจ (powerless) แต่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญในทางบริบทสังคม การเมือง ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวสามารถมีอำนาจที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งในด้านของการเจรจาต่อรอง การตัดสินใจ และความสามารถในการกำหนดเส้นทางหรือวิถีชีวิตของตัวเอง คำว่าการเพิ่มอำนาจจึงมักใช้กับประชาชนหรือกลุ่มทางสังคมที่ไม่ได้รับสิทธิ เสรีภาพจากรัฐ หรือเป็นกลุ่มที่ถูกกดขี่ขูดรีดจากระบบเศรษฐกิจ และเกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญ ไม่ว่าจะมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย หรือการรวมตัวเคลื่อนไหวทางสังคม ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมีอำนาจมากยิ่งขึ้น หรือเป็นสาเหตุให้เกิดการเพิ่มอำนาจในการต่อสู้ต่อรองให้กลุ่มที่เคยไม่มีอำนาจดังกล่าว (Kurian, 2011: 504-505).
การเปลือยกาย
การเปลือยกายบนชายหาด การเปลือยกาย (Nudity) มีความหมายถึง การไม่สวมใส่เสื้อผ้า จากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาแมลงเล็กๆ ที่อยู่บนคนและสัตว์ พบว่ามนุษย์ใส่เสื้อผ้ามาร่วม 650,000 ปีแล้ว การตอบรับทางสังคมเกี่ยวกับการเปลือยกายในที่สาธารณะ ในวัฒนธรรม, เวลา, สถานที่ และบริบทของกิจกรรม ก็มีข้อยกเว้นบ้างและโดยเฉพาะเหตุการณ์ที่ยอมรับการเปลือยกายได้ ยอมรับหรือส่งเสริมการเปลือยกายในที่สาธารณะ อย่างเช่นที่หาดเปลือย ที่เกิดขึ้นอย่างตั้งใจในบางกลุ่มสังคม และในบางงาน ซึ่งโดยปกติแล้วในหลายวัฒนธรรมก็ห้ามแสดงบางส่วนบนเรือนร่างมนุษย์ที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์ทางเพศ อย่างอวัยวะเพศ หรือเต้านม จุดประสงค์ของการเปลือยกายมีหลายรูปแบบ เช่น กลุ่มที่มีความเชื่อว่าการไม่สวมเสื้อผ้าจะเป็นธรรมชาติและมีสุขภาพที่ดีกว่า การเปลือยกายอาบแดด การเปลือยกายตามเทศกาลต่าง ๆ การวิ่งเปลือย การเปลือยเพื่อศิลปะ การรณรงค์ หรือการประท้วง เป็นต้น.
กาเลวาลา
กาเลวาลา (Kalevala, Kalewala) เป็นบทกวีมหากาพย์ ซึ่งนักปรัชญาชาวฟินแลนด์ เอเลียส เลินน์รูต เรียบเรียงขึ้นจากลำนำพื้นบ้านในภาษาฟินแลนด์และภาษาคาเรเลียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 บทกวีนี้ได้รับยกย่องให้เป็นมหากาพย์แห่งประเทศฟินแลนด์ และเป็นงานวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่สุดของประวัติศาสตร์ฟินแลนด์ มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นจิตวิญญาณของพลเมือง ทำให้ฟินแลนด์สามารถแยกตัวเป็นเอกราชจากรัสเซียได้สำเร็จในปี..
กิจกรรมทางเพศของมนุษย์
กิจกรรมทางเพศของมนุษย์ หรือ พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ มีความหมายถึงการปฏิบัติที่มนุษย์ได้พบและปลดปล่อยเรื่องทางเพศ มีหลากหลายกิจกรรมแตกต่างกันไป อย่างเช่นแผนการในการหาคู่ (จับคู่และแสดงพฤติกรรม) การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล, ความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางร่างกายหรืออารมณ์ รวมถึงการมีเพศสัมพันธ์ คำว่ากิจกรรมทางเพศ สามารถหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวกับคน 2 คนหรือมากกว่า เช่นมีเพศสัมพันธ์ ออรัลเซ็กส์ หรือการสำเร็จความใคร่ให้ผู้อื่น หรือการสำเร็จความใคร่ให้ตัวเองคนเดียว ในบางวัฒนธรรม กิจกรรมทางเพศได้รับการยอมรับเฉพาะผู้ที่แต่งงานแล้วเท่านั้น ถึงแม้ว่าการมีเพศสัมพันธ์ก่อนสมรสและความสัมพันธ์นอกสมรสถือเป็นเรื่องทั่วไป กิจกรรมทางเพศบางชนิดก็เป็นสิ่งผิดกฎหมายและผิดปกติในบางประเทศ และในบางครั้งอาจพิจารณาว่าเป็นสิ่งที่ผิดวิสัยในสังคม ตัวอย่างเช่น กิจกรรมทางเพศอย่างการข่มขืนกระทำชำเราถือเป็นอาชญากรรม.
ดู วัฒนธรรมและกิจกรรมทางเพศของมนุษย์
ภาวะอยากแปลงเพศ
ผู้แปลงเพศ ชูตัวหนังสือเอ็กซ์วายที่เขียนบนฝ่ามือ ภาวะอยากแปลงเพศ (Transsexualism) เป็นภาวะที่แสดงตนเองทางเพศด้านกายภาพที่แตกต่างจากเพศแรกเกิดของตน สาเหตุอาจเกิดจากความรู้สึกไม่สะดวกสบายใจและต้องการเปลี่ยนไปเป็นเพศตรงข้าม หรือถ้าการทำงานไม่ปกติหรือความยุ่งยากในการแสดงตัวตนในเพศนั้น ภาวะอยากแปลงเพศถูกตีตราในหลายส่วนของโลกแต่เป็นที่เปิดกว้างมากกว่าในสังคมตะวันตกในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ร่วมไปกับการพัฒนาเรื่องการผ่าตัดแปลงเพศ แต่ก็ยังคงมีข้อโต้แย้งเกิดขึ้น ทั้งการเลือกปฏิบัติและทัศนคติแง่ลบต่อบุคคลแปลงเพศ ที่มักเกี่ยวข้องกับความเชื่อด้านศาสนาและวัฒนธรรม.
ภาษาศาสตร์
ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.
ภาษาประดิษฐ์
ภาษาประดิษฐ์ (constructed language หรือ conlang) คือ ภาษาที่ไวยากรณ์ คำศัพท์ การออกเสียง ถูกสร้างขึ้นโดยบุคคลหรือกลุ่มคน จะแตกต่างจากภาษาธรรมชาติหรือภาษาทั่วไปที่เกิดจากวัฒนธรรมของมนุษย์ ภาษาประดิษฐ์ถูกสร้างขึ้นจากหลายสาเหตุ โดยอาจจะใช้งานสำหรับภาษาช่วยในสื่อสารระหว่างผู้คนจากหลายเชื้อชาติ เช่น ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอิดอ หรือ ภาษาอินเตอร์ลิงกวา หรืออาจจะใช้ในวรรณกรรมเพื่อสร้างความสมจริงให้วรรณกรรมนั้น เช่น ภาษาพาร์เซล ในวรรณกรรม แฮร์รี่ พอตเตอร์, ภาษาซินดารินและภาษาเควนยา ในวรรณกรรมเรื่อง มิดเดิลเอิร์ธ ของ เจ.
ภาคอีสาน (ประเทศไทย)
อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.
ดู วัฒนธรรมและภาคอีสาน (ประเทศไทย)
ภาคเหนือ (ประเทศไทย)
หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.
ดู วัฒนธรรมและภาคเหนือ (ประเทศไทย)
ภูมิศาสตร์
แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.
ภูมิศาสตร์มนุษย์
350px คาร์ล ริทเทอร์ นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมัน - ถือกันว่าเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกภูมิศาสตร์สมัยใหม่ คู่กับ อเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮุมโบลด์ท ภูมิศาสตร์มนุษย์ เป็นหนึ่งในสองสาขาหลักของภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์คือการศึกษาความเข้าใจและการใช้งานผืนโลกของมนุษย์ และกระบวนการที่มีผลกระทบต่อสิ่งนั้น มันเกี่ยวโยงกับทั้งสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นโดยทั่วไปแตกต่างอยากมากจากภูมิศาสตร์กายภาพ โดยมันเน้นมากกว่าในการศึกษาแบบแผนที่จับต้องไม่ได้หรือเป็นนามธรรมรอบ ๆ กิจกรรมของมนุษย์ และเปิดรับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่า ภูมิศาสตร์มนุษย์รวมเอาแง่มุมทางมนุษย์ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจของสังคมศาสตร์เอาไว้ ในขณะที่จุดเน้นหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์จะไม่ใช่ภูมิทัศน์เชิงกายภาพของโลก แต่มันก็เป็นไปไม่ได้ที่จะคุยเรื่องภูมิศาสตร์มนุษย์ โดยไม่พูดถึงภูมิทัศน์ทางกายภาพที่กิจกรรมของมนุษย์ดำเนินอยู่ในนั้น และโดยไม่พูดถึงภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นตัวเชื่อมสำคัญระหว่างมนุษย์และโลก ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นมีความหลากหลายทั้งในวิธีวิทยาและทฤษฎี ซึ่งรวมถึงวิธีในแบบสตรีนิยม มาร์กซิสม์ หลังโครงสร้างนิยม ฯลฯ และใช้ทั้งระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ (เช่น ชาติพันธุ์วรรณาและการสัมภาษณ์) และเชิงปริมาณ (เช่น การสำรวจทางสถิติ, การวิเคราะห์ทางสถิติ, และการสร้างตัวแบบ) สาขาหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์ ได้แก่ วัฒนธรรม, การพัฒนา, เศรษฐกิจ, สุขภาพ, ประวัติศาสตร์, การเมือง, ประชากร, การท่องเที่ยว, และเมือง.
ดู วัฒนธรรมและภูมิศาสตร์มนุษย์
ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม (environmental geography), ภูมิศาสตร์มนุษย์และสิ่งแวดล้อม (human–environment geography) หรือ ภูมิศาสตร์บูรณาการ (integrated geography, integrative geography) เป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ว่าด้วยการอธิบายถึงข้อเท็จจริงและการตีความลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างปัจเจกบุคคลหรือสังคมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาต.
ดู วัฒนธรรมและภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
มรดกโลก หุบเขาเดรสเดน อเลเบ เยอรมนีที่ยูเนสโกถือว่าเป็น "ตัวอย่างที่ดีเด่นของการใช้ที่ดินทีเป็นตัวอย่างการพัฒนาเมืองของยุโรปกลาง" เป็นเมืองที่มีประชากรมากถึงครึ่งล้านคน ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural landscape) คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดยกรรมาธิการมรดกโลกว่าเป็นพื้นที่เด่นทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ “...เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้เกิดจากการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาขึ้นในแวดวงของมรดกโลกนานาชาติ (ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ยปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติและวัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมากในโลกตะวันตก กรรมาธิการมรดกโลกได้บ่งชี้และรับรองประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมไว้ 3 ประเภท ได้แก่ (1) ภูมิทัศน์ที่เกิดจากการจงใจของมนุษย์ (2) ภูมิทัศน์ทั้งหมดที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งด้วยความจงใจทำ และไม่ได้จงใจทำ และ (3) ภูมิทัศน์ที่มีร่องรอยการปรุงแต่งโดยมนุย์น้อยที่ (แต่มีคุณค่าสูง) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่คัดจาก “แนวทางปฏิบัติของกรรมาธิการ” มีดังนี้: (1) “ภูมิทัศน์ที่ได้รับการออกแบบและสรรค์สร้างอย่างจงในโดยมนุษย์” (2) “ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการมาในเชิงอินทรีย์” (organically evolved) ซึ่งอาจเป็น “ภูมิทัศน์แผ่นดินร้าง” (หรือซากดึกดำบรรพ์) หรือ “ภูมิทัศน์ต่อเนื่อง” (continuing landscape) (3) “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเชิงเชื่อมโยง” (associative cultural landscape) ที่อาจมีคุณค่าทาง “ศาสนา ศิลปะหรือที่เชื่อมโยงทางวัฒนธรรมกับองค์ประกอบทางธรรมชาติ”.
ดู วัฒนธรรมและภูมิทัศน์วัฒนธรรม
ภูเก็ตแฟนตาซี
ูเก็ตแฟนตาซี คือ บริษัทด้านการท่องเที่ยว เป็นแหล่งท่องที่มีชื่อเสียงของจังหวัดภูเก็ต และ เป็นธีมปาร์ควัฒนธรรมไทยแห่งแรกของโลก เปิดบริการอย่างเป็นทางการตั้งแต่เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2542 มีจุดเด่น คือ การแสดงชุด “มหัศจรรย์กมลา” ซึ่งเป็นการแสดงที่ผสามผสานระหว่างศิลปวัฒนธรรมไทย และ เทคนิคพิเศษแสงสีเสียงทันสมัย รวมถึงการแสดงของช้างไทยหลายสิบเชือกและสัตว์อื่นๆ บนเวทีในโรงละครขนาดใหญ่ การให้บริการอาหารค่ำแบบบุฟเฟต์นานาชาติ และ ร้านค้าสินค้าที่ระลึกที่มีคุณภาพจากทุกภาคของประเทศไทย เปิดให้บริการทุกวัน ยกเว้นวันพฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา 17.30 – 23.30 น.
มวยไทยในวัฒนธรรมสมัยนิยม
องนักมวยไทยลึกลับที่ปรากฏตัวในเกม''สตรีทไฟท์เตอร์ III: นิว เจนเนอเรชัน'' มวยไทยในวัฒนธรรมสมัยนิยม มวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ที่ได้รับความนิยมอย่างมากใน อาเซียน, เอเชีย, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ยุโรป, อเมริกา รวมถึงประเทศรัสเซีย ซึ่งความนิยมดังกล่าว นอกเหนือจากการเป็นกีฬาแล้ว มวยไทยยังได้รับการกล่าวว่าเป็นสื่อทางวัฒนธรรมที่สำคัญ โดยได้มีการนำเสนอศิลปะมวยไทยในสื่อต่างๆหลายรูปแบบ ทั้งในรูปแบบของ ภาพยนตร์, รายการโทรทัศน์, หนังสือการ์ตูน, แอนิเมชันThe Global-Thai Backbone.
ดู วัฒนธรรมและมวยไทยในวัฒนธรรมสมัยนิยม
มหากาพย์
มหากาพย์ (Epic poetry) คือ วรรณคดีที่เล่าเรื่องราวของวีรบุรุษหรือวัฒนธรรม มักเป็นเรื่องที่เก่าแก่ มีโครงเรื่องซับซ้อนและยาว ตัวละครมากมาย และได้รับการยกย่อง มหากาพย์โดยมากในเอเชีย จะเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อหรือศาสนาของชาตินั้น.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี
มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่ตั้งอยู่ใน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี.
ดู วัฒนธรรมและมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
ในตัวมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองเบิร์กลีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซานฟรานซิสโก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นชื่อของเครือข่ายวิชาการและเว็บไซต์ที่นำเสนอการสนทนาแลกเปลี่ยนจากเครือข่ายวิชาการในชื่อเดียวกัน ก่อตั้งโดยกลุ่มนักวิชาการซึ่งเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่น นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักประวัติศาสตร์และอดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มี สมเกียรติ ตั้งนโม เป็น "อธิการบดี" มหาวิทยาลัย เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนรวบรวมบทความทางวิชาการหลายสาขา ทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งมีกระดานข่าวสาธารณะให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และส่วนสารานุกรมฟรีในเรื่องเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ การนำเสนอคำศัพท์ใหม่ ๆ พร้อมคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจโลก และความคิดร่วมสมัย ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เนื้อหาในเว็บไซต์ไม่สงวนสิทธิ์ในการใช้ประโยชน์ทางวิชาการ โดยระบุไว้ในหน้าแรกของเว็บไซต์ว่า "ผู้ที่นำข้อมูลสารานุกรมฟรีไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เผยแพร่ หรืออ้างอิง โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ได้รับความยินยอมจากผู้เรียบเรียง สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร โดยระบุถึงเว็บไซต์ และ URL มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน www.midnightuniv.org" โดยมี สมเกียรติ ตั้งนโม ทำหน้าที่เป็นทั้งเว็บมาสเตอร์และบรรณาธิการเว็บไซต.
ดู วัฒนธรรมและมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
มหาสมุทรและสุสาน
มหาสมุทรและสุสาน (อังกฤษ: The Island Funeral) คือภาพยนตร์ไทยขนาดยาวกำกับโดยพิมพกา โตวิระ เขียนบทโดยพิมพกา โตวิระ และก้อง ฤทธิ์ดี นำแสดงโดย ศศิธร พานิชนก อุกฤษ พรสัมพันธ์สุข และยศวัศ สิทธิวงค์ เล่าเรื่องการเดินทางของไลลา หญิงสาวมุสลิมที่เดินทางจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดปัตตานี เพื่อไปเยี่ยมป้าที่ไม่ได้เจอกันเป็นเวลานาน และเพื่อค้นหารากเหง้าของตัวตนและจิตวิญญาณของตัวเอง"".
ดู วัฒนธรรมและมหาสมุทรและสุสาน
มักซ์ เวเบอร์
ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.
มังกรจีน
วาดมังกรจีนโบราณ มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ, คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง เกล็ดของมังกรจีนนั้น จะมีลักษณะเฉพาะเปลี่ยนไปตามแต่ละชนิดของมังกร ตั้งแต่สีเขียวเข้มจนถึงสีทอง หรือบางแหล่งกล่าวกันว่า มังกรจีนนั้นมีหลายสี เช่น สีน้ำเงิน สีดำ สีขาว สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง แต่ในกรณีของมังกรชนิด chiao หลังของมังกรจะเป็นสีเขียว บริเวณด้านข้างเป็นสีเหลือง และใต้ท้องเป็นสีแดงเข้ม มังกรจีนชนิดหนึ่งจะมีปีกที่ด้านข้างของลำตัว และสามารถที่จะเดินบนน้ำได้ แต่สำหรับมังกรจีนอีกชนิดหนึ่งเมื่อสะบัดแผงคอไปข้างหน้าและข้างหลัง จะทำให้เกิดเสียงที่ฟังดูเหมือนกับเสียงขลุ่ย มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร.
มาริโอ้ เมาเร่อ
มาริโอ้ เมาเร่อ (Mario Maurer) ชื่อเล่น โอ้ เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับการติดต่อจากโมเดลลิ่งในสยามสแควร์ โดยเริ่มจากงานถ่ายแบบ ถ่ายโฆษณา เช่น โฆษณาเอ็กซิท โรลออน ขนมแจ็ค เดอะพิซซ่าคอมปานี และยังได้ถ่ายแบบอยู่เรื่อยมา อย่าง เธอกับฉัน และหนังสือวัยรุ่นอีกหลายเล่มและถ่ายมิวสิกวิดีโอ อีกหลายตัวเช่น กุญแจที่หายไป ของ ปาล์มมี่, ปากดีขี้เหงาเอาแต่ใจ ของ มิล่า เป็นต้น จนในปี 2550 มีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม ซึ่งจากบทบาท "โต้ง" ใน รักแห่งสยาม นี้ มาริโอ้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากนิตยสารสตาร์พิกส์ รับรางวัลจากเทศกาลหนังซีเนมะนิลา ที่จัดขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ สาขานักแสดงชายยอดเยี่ยม ประเภทภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงจาก รางวัลเอเชียนฟิล์ม สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อีกทั้งยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิงครั้งที่ 16 ประจำปี 2550 ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และรางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส ครั้งที่ 6 ในสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม มาริโอ้ได้ร่วมงานกิจกรรมการกุศลอยู่หลายครั้ง รวมถึงยังเป็นพรีเซนเตอร์ ในวันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี..
มานุษยวิทยาการแพทย์
มานุษยวิทยาการแพทย์ (Medical Anthropology) เป็นสาขาย่อยแขนงหนึ่งของมานุยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม (Social and cultural anthropology) มานุษยวิทยาการแพทย์ก่อตัวขึ้นมาจากงานวิจัยของนักมานุษยวิทยา ที่พยายามหาความสัมพันธ์ของกระบวนการทางสังคมและวัฒนธรรม ที่เชื่อมโยงไปสู่ภาวะสุขภาพ (Health) ความเจ็บป่วย (illness) และการดูแลรักษาสุขภาพ (care) มหาวิทยาลัยหลายแห่งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา รวมทั้งมหาวิทยาลัยหลายแห่งในประเทศไทยได้เปิดสอนในระดับชั้นปริญญาโทและเอก วิชานี้มีขอบเขตการศึกษากว้างขวาง โดยนำความรู้สาขามานุษยวิทยากายภาพ สาขาแพทย์ศาสตร์และสาขามานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อเรียนรู้ความสัมพันธ์ทางด้านสรีระ ประเพณี วัฒนธรรม และการแพทย์พื้นบ้านของคนแต่ละสังคมกับการแพทย์สมัยใหม่ คำเรียกขานของมานุษยวิทยาการแพทย์ มีแตกต่างกันออกไป เช่นในยุโรปบางมหาลัยใช้คำว่า "Anthropology of medicine", "Anthropology of health" หรือ บางแห่งใช้คำว่า "Anthropology of illness" แต่ที่รับรู้กันทั่วไป และใช้กันอย่างแพร่หลายคือ "Medical Anthropology".
ดู วัฒนธรรมและมานุษยวิทยาการแพทย์
มานุษยวิทยาวัฒนธรรม
มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นับเป็นหนึ่งในสี่สาขาของมานุษยวิทยาซึ่งพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา พัฒนาขึ้นเพื่อส่งเสริม "วัฒนธรรม" ให้มีความหมายเชิงมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาความมากหลายในหมู่มนุษย์และการตรวจสอบหาเศรษฐกิจของโลกและกระบวนการทางการเมืองที่มีต่อวัฒนธรรมที่เป็นจริง แนวคิดเชิงมานุษยวิทยาของ "วัฒนธรรม" ในบางส่วน สะท้อนให้เห็นถึงปฏิกิริยาที่มีต่อสัมพันธสารหรือวาทกรรมที่ขึ้นอยู่กับสิ่งตรงกันข้ามระหว่าง "วัฒนธรรม" และ "ธรรมชาติ" ตามที่มนุษย์ได้อยู่อาศัยใน "สภาวะธรรมชาติ" นักมานุษยวิทยาได้โต้เถียงว่าวัฒนธรรมคือ "ธรรมชาติของมนุษย์" และผู้คนทั้งหลายมีความสามารถที่จะจำแนกประสบการณ์ ถอดรหัสการจำแนกในเชิงสัญลักษณ์ และสอนความเป็นนามธรรมนั้นให้แก่ผู้อื่น โดยที่มนุษย์ได้วัฒนธรรมมาด้วยการเรียนรู้ (ในกระบวนการของการทำให้กลายเป็นวัฒนธรรมและการสัมพันธ์กันในสังคม) ผู้คนอยู่อาศัยในที่แตกต่างกัน แตกต่างด้วยสิ่งล้อมรอบ จึงอาจทำให้มีการพัฒนาวัฒนธรรมออกมาต่างกัน นักมานุษยวิทยายังได้ชี้ประเด็นว่าด้วยด้วยวัฒนธรรมนั่นเองที่ทำให้ผู้คนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้สืบมาทางพันธุกรรม ดังนั้นผู้คนที่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกันจึงมักมีวัฒนธรรมที่ต่างกันด้วย ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาส่วนมากมีต้นตอมาจากความซาบซึ้งและความสนใจในความตึงเครียดระหว่างความเป็นท้องถิ่นและความเป็นระดับโลก เส้นขนานของมานุษยวิทยาวัฒนธรรมเกิดขึ้นในสหรัฐฯ กล่าวคือ วิชามานุษยวิทยาสังคม ซึ่งใช้ "ความเป็นสังคม" เป็นแนวคิดกลางและที่เน้นจุดรวมไปที่การศึกษาสถานภาพทางสังคมและบทบาท กลุ่ม สถาบันและความสัมพันธ์ระหว่างกันแล้วพัฒนามาเป็นสาขาวิชาการในสหราชอาณาจักร ความหมายของขอบข่ายของ "มานุษยวิทยาสังคม-วัฒนธรรม" ทำให้เกิดความแตกต่างในประเพณีของทั้งมานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมานุษยวิทยาสังคม.
ดู วัฒนธรรมและมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
มานุษยวิทยาสังคม
มานุษยวิทยาสังคม เป็นสาขาหนึ่งของวิชามานุษยวิทยาว่าด้วยการศึกษาว่ามนุษย์ที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบันประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรในกลุ่มของสังคม.
ดู วัฒนธรรมและมานุษยวิทยาสังคม
มูลนิธิแผ่นดินธรรม
มูลนิธิแผ่นดินธรรม ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรการกุศลทางพระพุทธศาสนา ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อผลิตรายการธรรมะป้อนโทรทัศน์เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธทั่วไปได้เข้าใจหลักพุทธธรรมของพระพุทธเจ้าจากคัมภีร์พระไตรปิฎก ภาษาบาลี ทั้งในเชิงทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะในเชิงภาคปฏิบัตินั้น ทีมงานผู้ผลิตรายการแผ่นดินธรรมได้เลือกปฏิปทาของพระอาจารย์กรรมฐานหรือพระป่า เช่น พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต มานำเสนอเป็นประจำ เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าหลักธรรมของพระพุทธเจ้านั้นทันสมัยอยู่เสมอ สามารถศึกษาและนำไปปฏิบัติได้จริง แม้สังคมจะเจริญเพียงใดก็ตาม.
ดู วัฒนธรรมและมูลนิธิแผ่นดินธรรม
มูแลงรูจ!
มูแลงรูจ! (Moulin Rouge!) เป็นภาพยนตร์เพลงเรื่องที่สามในภาพยนตร์ชุดไตรภาค "The Red Curtain Trilogy" ของบาซ เลอห์มานน์ ออกฉายในปี..
มนุษยศาสตร์
นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.
ยุทธการทุ่งวอเตอร์ชิป
ทธการทุ่งวอเตอร์ชิป (Watership Down) เป็นนวนิยายสำหรับเยาวชนแนวแฟนตาซีวีรบุรุษ ประพันธ์โดย ริชาร์ด อดัมส์ นักเขียนชาวอังกฤษ เป็นนวนิยายเรื่องแรกของเขาและเป็นงานที่ทำให้มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมา ชื่อหนังสือตั้งชื่อตามสถานที่อันเป็นฉากสำคัญในท้องเรื่อง คือ ทุ่งวอเตอร์ชิป เนื้อหาเกี่ยวกับการออกค้นหาดินแดนอันเสรีสำหรับตนเองของเหล่ากระต่ายกลุ่มหนึ่ง ผู้ประพันธ์ได้สร้างโลกของกระต่ายขึ้นอย่างสมจริง อันมีทั้งภาษา วัฒนธรรม บทกวี และประวัติศาสตร์ของกระต่าย บางฉบับพิมพ์ยังมี "พจนานุกรมกระต่าย" ตีพิมพ์ไว้ท้ายเล่มด้วย อดัมส์นำเสนอผลงานของเขาอยู่ถึง 13 ครั้งกับสำนักพิมพ์ต่างๆ กัน กว่าจะได้ตีพิมพ์นิยายเรื่องนี้กับสำนักพิมพ์ Rex Collings ในปี..
ดู วัฒนธรรมและยุทธการทุ่งวอเตอร์ชิป
ยุคโลหะ
ลหะ (Metal Age) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนำเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาตินำมาใช้เพื่อประโยชน์ เช่น ทองแดง, สำริด และเหล็ก นำมาหล่อหรือขึ้นเป็นมีด, หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง.
ยุโรปกลาง
รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902 ยุโรปกลาง (Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง” ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม” ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20 “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน” ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น.
ระบำมรณะ
“ระบำมรณะ” โดย ไมเคิล โวลเกอมุท ราว ค.ศ. 1493 จาก “Liber chronicarum” โดยฮาร์ทมันน์ เชเดล เปียเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ), “ชัยชนะแห่งความตาย” (The Triumph of Death) (ราว ค.ศ.
รายชื่อเผ่าพันธุ์ในสตาร์ วอร์ส
รายชื่อเผ่าพันธุ์ในสตาร์ วอร.
ดู วัฒนธรรมและรายชื่อเผ่าพันธุ์ในสตาร์ วอร์ส
รายการสาขาวิชา
รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.
รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.
ดู วัฒนธรรมและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
รางวัลวัฒนคุณาธร
รางวัลวัฒนคุณาธร เป็นรางวัลเกียรติยศของกระทรวงวัฒนธรรม ในระดับประเทศ ที่จัดมอบโดยกระทรวงวัฒนธรรม รางวัลวัฒนคุณาธร เป็นรางวัลเกียรติยศของกระทรวงวัฒนธรรมในระดับประเทศ ที่มอบให้เพื่อยกย่องและเชิดชูเกียรติบุคคลและองค์กรที่ดำเนินงานอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานโดดเด่นในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมงานด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ด้วยความเสียสละ วิริยะ อุตสาหะ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ร่วมงานและสาธารณชน ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รางวัลนี้พิจารณาโดยการกลั่นกรองจากคณะกรรมการคัดเลือกผู้ทำคุณประโยชน์ฯ ระดับจังหวัด ทั้ง 76 จังหวัด ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และจากหน่วยงานระดับกรม และองค์การมหาชน ในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยผู้ผ่านการตรวจประเมินผลงานดีเด่นในระดับประเทศ จะได้รับการเสนอชื่อเข้ารับโล่รางวัล "วัฒนคุณาธร" ซึ่งถือเป็นรางวัลในระดับประเทศ โดยมีการมอบปีละไม่เกิน 170 รางวัลในแต่ละปี ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรมในระดับประเทศ จะได้เข้ารับโล่เกียรติคุณ "วัฒนคุณาธร" จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม ในวันที่ 3 ตุลาคม ของทุก ๆ ปี ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร.
ดู วัฒนธรรมและรางวัลวัฒนคุณาธร
รุกขกรรม
Hoyt Arboretum เมืองปอร์ทแลนด์ รัฐออริกอน รุกขกร กำลังใช้เลื่อยยนต์ โค่นต้นยูคาลิปตัสในสวนสาธารณะเมืองคาลลิสตา วิคทอเรีย รุกขกรรม คือวิชาชีพว่าด้วยการปลูกและจัดการเกี่ยวกับต้นไม้ใหญ่ (trees) ในงานภูมิทัศน์ ซึ่งรวมถึงการศึกษาการเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อการปฏิบัติเชิงวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมและการประยุกต์เทคนิคเชิงวัฒนธรรมอันได้แก่การคัดเลือก การปลูก การดูแล การทำศัลยกรรมและการตัดโค่น จุดเน้นของงานรุกขกรรมได้แก่ต้นไม้ที่ให้ความประเทืองใจ (amenity trees) ซึ่งต้นไม้เหล่านี้จะได้รับการดูแลเพื่องานภูมิทัศน์สำหรับมนุษย์เป็นหลัก ปกติต้นไม้ประเทืองใจต่างๆ ดังกล่าวจะอยู่ตามอุทยาน สวน สวนสาธารณะ หรือในบริเวณชุมชน งานรุกขกรรมเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของต้นไม้ การควบคุมโรคและแมลง การจัดการเกี่ยวกับอันตรายและการพิจารณาในด้านสุนทรียภาพ ต้นไม้เอื้อประโยชน์ให้มนุษย์ทั้งทางด้านมรดกทางวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาตินอกเหนือไปจากการให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากใช้เนื้อไม้ ด้วยเหตุนี้ วิชารุกขกรรมจึงต้องมีความแตกต่างจากวิชาการป่าไม้ซึ่งเน้นการผลิตเนื้อไม้เชิงพาณิชย์และผลผลิตจากป่าหรือการทำป่าปลูก.
รูปเคารพ
“พระเยซู” โดยอันเดร รูเบลฟ (Andrei Rublev) ราวปี ค.ศ. 1410 รูปเคารพทำจากเซรามิคจากราวปีค.ศ. 900 จากเพรสลาฟ ประเทศบัลกาเรีย รูปเคารพ (ภาษาอังกฤษ: icon; ภาษากรีก: εἰκών, eikon) คือรูป, รูปเหมือน หรือสิ่งที่สร้างแทน ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในสมัยปัจจุบัน “รูปเคารพ” โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมโดยทั่วไปจะหมายถึงสัญลักษณ์เช่นชื่อ, หน้า, รูป หรือคนที่เป็นที่รู้จักที่มีชื่อเสียงที่มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้สิ่งของหรือรูปเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งที่มีความสำคัญเหนือกว่าไม่ว่าจะเป็นตามตัวอักษรหรือตามการตีความหมายมักจะใช้ในศาสนา, วัฒนธรรม, การเมือง, หรือทางเศรษฐกิจ ในประวัติศาสตร์ลัทธินิยมทางศาสนาหรือวัฒนธรรมทางศาสนารูปเคารพจะมีอิทธิพลมาจากรูปที่เป็นตัวเป็นตนไม่ว่าจะเป็นรูปสองหรือสามมิติ ความประสงค์ของรูปเคารพไม่ว่าจะเป็นเพื่อการสั่งสอนหรือเป็นแรงบันดาลใจ หรือวิธีใช้เช่นเพื่อการบูชาหรือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือความสำคัญของการใช้รูปเคารพก็ขึ้นอยู่กับสถาบันที่ใช้และสมัยของการใช้.
ลอสแอนเจลิส
ลอสแอนเจลิส (Los Angeles) หรือที่รู้จักในชื่อ แอลเอ (L.A.) เป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากที่สุดอันดับ 2 ในสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในศูนย์กลาง ทางด้าน เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการบันเทิง ลอสแอนเจลิสตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และเริ่มตั้งเป็นเมืองเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.
ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง
ในสาขาจิตวิทยา ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือ แบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (five factor model ตัวย่อ FFM) เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับมิติหรือปัจจัยใหญ่ ๆ 5 อย่างที่ใช้อธิบายบุคลิกภาพและสภาพทางจิตใจของมนุษย์ โดยมีนิยามของปัจจัย 5 อย่างว.
ดู วัฒนธรรมและลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง
ลัทธิทำลายรูปเคารพ
การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).
ดู วัฒนธรรมและลัทธิทำลายรูปเคารพ
ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง
ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง (LaFlora, the Princess Academy) เป็นหนังสือการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ มี 9 ชุด คือ "ลา ฟลอร่า", "ลา ฟลอร่า ภาค ประเทศฉันสุดยอด", "ลา ฟลอร่า บอร์ดเกม","ลาฟลอร่า ฮันนี่แรลลี่","ลาฟลอร่า คลับเฟสต้า","ลาฟลอร่า แอนิเมชัน","นิยาย ลาฟลอร่า","คอมมิกชันนารี ลา ฟลอร่า โรซารี่ please" และ "ลาฟลอร่า ดรีมมี่ คาเฟ่" โดยในแต่ละเล่มจะมีเนื้อหาและตัวละครที่ต่างกัน จากความนิยมอย่างแพร่หลาย และความโดดเด่นของตัวละคร ส่งผลให้ทางผู้ผลิตได้จัดทำในรูปแบบของเกมกระดานในเวลาต่อมา ปัจจุบันได้มีการจัดแปลเป็นภาษาต่างประเทศ 4 ภาษา รวมถึงจัดทำเป็นแอนิเมชัน และวรรณกรรมเยาวชน.
ดู วัฒนธรรมและลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง
ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า
ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (보물찾기; Treasure Hunting) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากประเทศเกาหลีใต้ ที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ จัดพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ และ ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า เป็นการ์ตูนที่สร้างแรงดลบันดาลใจให้กับหนังสือการ์ตูนความรู้ชุด ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง.
ดู วัฒนธรรมและล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า
วอลต์ดิสนีย์เวิลด์
วอลต์ดิสนีย์เวิลด์ (Walt Disney World) เรียกอย่างเป็นทางการว่า วอลต์ดิสนีย์เวิลด์รีสอร์ต (Walt Disney World Resort) เป็นรีสอร์ตที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในโลกและมีจำนวนผู้เยี่ยมชมมากที่สุดในโลก ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองออร์แลนโด รัฐฟลอริดา เปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 1 ตุลาคม..
ดู วัฒนธรรมและวอลต์ดิสนีย์เวิลด์
วัฒนธรรมบรรษัท
วัฒนธรรมบริษัท หรือ วัฒนธรรมองค์การ (Organizational culture) ประกอบด้วยทัศนคติ ประสบการณ์ ความเชื่อและคุณค่าขององค์การใดองค์การหนึ่ง มีการนิยามไว้ว่าเป็น "การรวบรวมเป็นการเฉพาะเกี่ยวกับคุณค่า บรรทัดฐานที่คนหรือกลุ่มคนมีร่วมกันในองค์การเป็นเป็นตัวควบคุมวิธีการปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและกับผู้มีส่วนได้เสียนอกองค์การ เชื่อว่าคุณค่าขององค์การเป็นความเชื่อและเป็นความคิดว่าด้วยเป้าหมายที่สมาชิกขององค์การควรไฝ่หาและเป็นความคิดเกี่ยวกับชนิดที่เหมาะของมาตรฐานพฤติกรรมที่สมาชิกขององค์การพึงใช้เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย คุณค่าขององค์การจะพัฒนาเป็นบรรทัดฐานขององค์การ แนวทางหรือความคาดหวังที่ทำให้เกิดชนิดของพฤติกรรมที่เหมาะสมโดยลูกจ้าง โดยเฉพาะสำหรับสถานการณ์และการควบคุมพฤติกรรมระหว่างสมาชิกองค์การด้วยกันเอง"" ผู้บริหารระดับสูงอาจพยายามกำหนดวัฒนธรรมขององค์การ อาจต้องการที่จะใช้บังคับคุณค่าและมาตรฐานพฤติกรรมขององค์การที่สะท้อนถึงวัตถุประสงค์ขององค์การ นอกจากนี้ ยังอาจมีวัฒนธรรมองค์การที่มีอยู่เดิมแล้วภายในองค์การนั้น กลุ่มทำงานภายในองค์การจะมีพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันที่เป็นลูกเล่นของตนเองอยู่แล้วซึ่งมีผลกระทบต่อองค์การโดยรวม วัฒนธรรมการทำงานอาจนำจากภายนอกมาใช้ได้ เช่น นักเทคนิคคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความช่ำชอง ภาษาและพฤติกรรมที่ได้มาอย่างเป็นอิสระจากองค์การอื่น ซึ่งการมาของพวกเขาเหล่านี้สามารถมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมขององค์การโดยรวมได้.
วัฒนธรรมชุบแป้งทอด
วัฒนธรรมชุบแป้งทอดเป็นรายการโทรทัศน์ไทยผลิตโดยบริษัทดิวันโอวันเปอร์เซนต์ ออกอากาศทางไทยพีบีเอสดำเนินรายการโดย สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์, ทีปกร วุฒิพิทยามงคลและโตมร ศุขปรีชาเริ่มออกอากาศวันที่ 26 มิถุนายน 2556 ในตอน ทำไมต้องใส่เครื่องแบบ ออกอากาศรีรันในวันศุกร์เวลา 11:05 น.
ดู วัฒนธรรมและวัฒนธรรมชุบแป้งทอด
วัฒนธรรมพื้นบ้าน
วัฒนธรรมพื้นบ้าน (folk culture) เป็นรูปแบบวัฒนธรรมที่กล่าวถึงรูปแบบการดำรงชีวิตของกลุ่มคนท้องถิ่น ที่แสดงถึงลักษณะของบุคคลหรือท้องถิ่นนั้น มักจะส่งผ่านต่อกันทางคำพูดมากกว่าการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ วัฒนธรรมพื้นบ้านมักจะแตกต่างกันตามถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวแตกต่างกันไป ตัวอย่างของวัฒนธรรมพื้นบ้าน.
ดู วัฒนธรรมและวัฒนธรรมพื้นบ้าน
วัฒนธรรมย่อย
ในการเข้าใจทางสังคมศาสตร์ วัฒนธรรมย่อย (subculture) ใช้เรียกลักษณะของกลุ่มสังคม ที่มีการยึดถือ บรรทัดฐาน และการกำหนดคุณค่าของสิ่งรูปธรรม และสิ่งนามธรรม แตกต่างกัน การพูดคุยในวัฒนธรรมย่อยเดียวกัน จะพูดคุยเรื่องเดียวกัน หรือที่เรียกว่า ภาษาเดียวกัน วัฒนธรรมย่อยแบ่งออกมาจาก วัฒนธรรม โดยแต่ละสังคมจะแตกต่างกันอยู่กับ อายุ ชนชาติ ศาสนา เพศ ความรู้ พื้นฐานทางสังคม และมุมมองต่างๆ อย่างไรก็ตามคำว่า วัฒนธรรมย่อยมีการกำหนดแตกต่างกันไปตามนักทฤษฎีต่างๆ ลักษณะหลักที่เห็นได้ชัดของกลุ่มวัฒนธรรมย่อย จะเห็นได้ว่า ความเชื่อ แนวคิด จะแตกต่างกันตามกลุ่ม อย่างจะเห็นได้ว่า กลุ่มวัยรุ่นมีการแต่งตัว รสนิยมการเลือกฟังเพลง แตกต่างจากกลุ่มผู้ใหญ่ เนื่องจากความเชื่อและการยึดถือแตกต่างกัน เปรียบเทียบ ในมุมมองของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ตัวอย่าง การยิ้มให้เพศตรงข้ามที่ไม่สนิท ในวัฒนธรรมเอเชีย ถือว่าเป็นการไม่สุภาพ ในขณะที่การไม่ยิ้มให้เพศตรงข้ามถือว่าเป็นเป็นการไม่สุภาพในบางวัฒนธรรมของสหรัฐอเมริก.
วัฒนธรรมระดับสูง
"Ezekiel" วัฒนธรรมระดับสูงมากจากเพดานโบสถ์ซิสทีน โดยไมเคิล แองเจลโล ภาพเขียนโดยเชน ฮองชู ศิลปินราชวงศ์หมิง แสดงให้เห็นความสุภาพอ่อนโยนในการเล่นเครื่องดนตรี Guqin ที่ได้รับการยกย่องเป็นเครื่องดนตรีชั้นสูงของจีน วัฒนธรรมระดับสูง (High culture) เป็นคำที่ใช้มากทางวิชาการหลายด้าน แต่ความหมายทั่วไปที่แพร่หลาย หมายถึงชุดของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นศิลปะที่ถือว่าอยู่ในระดับสูงสุดของวัฒนธรรมหนึ่ง หรือหมายรวมถึงวัฒนธรรมของสังคมชนชั้นปกครอง.
ดู วัฒนธรรมและวัฒนธรรมระดับสูง
วัฒนธรรมลาแตน
วัฒนธรรมลาแตน (La Tène culture) เป็นวัฒนธรรมยุคเหล็กของยุโรปที่ตั้งชื่อตามแหล่งโบราณคดีที่ลาแตนบนฝั่งเหนือของทะเลสาบเนอชาแตลในสวิตเซอร์แลนด์ที่เป็นที่พบสิ่งของมีค่าทางโบราณคดีจำนวนมากมายโดยฮันสลี ค็อพพ์ ในปี ค.ศ.
วัฒนธรรมประชานิยม
วัฒนธรรมประชานิยม (popular culture หรือ pop culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของผู้คนในสมัยนั้น เกิดจากการสื่อสารของบุคคล ความต้องการของวัฒนธรรมในจังหวะช่วงเวลานั้น ซึ่งเกิดขึ้นทุกวันและแสดงเป็นภาพลักษณ์ออกมา ซึ่งสามารถรวมได้ถึงทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นการทำอาหาร การแต่งกาย สื่อมวลชน กีฬา หรือวรรณกรรม วัฒนธรรมประชานิยมมักมีลักษณะตรงข้ามกับวัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมประชานิยมคือทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นความคิด มุมมอง ทัศนคติ ภาพลักษณ์ การเลียนแบบ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อกันอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นสิ่งที่ชื่นชอบของสังคมในท่ามกลางวัฒนธรรมกระแสหลัก ส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมสมัยนิยม เช่น เพลงป็อปหรือเพลงสมัยนิยมที่จะเน้นในลักษณะตามความชอบของคนในสมัยนั้น เพลงป็อปในญี่ปุ่นจะเรียกว่า เจ-ป็อป.
ดู วัฒนธรรมและวัฒนธรรมประชานิยม
วัดบุปผาราม (จังหวัดตราด)
วัดบุปผาราม เดิมชื่อ วัดปลายคลอง ตั้งอยู่ เนินหย่อง หมู่ที่ 3 บ้านปลายคลอง ถนนพัฒนาการปลายคลอง ตำบลวังกระแจะ อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด เป็นวัดเก่าแก่ที่สุดในจังหวัดตร.
ดู วัฒนธรรมและวัดบุปผาราม (จังหวัดตราด)
วัดพระพุทธ
วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ ตั้งอยู่ที่ บ้านใหญ่ หมู่ที่ 3 ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภายในวัดมีศาลาการเปรียญ พระพุทธรูปทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ ชื่อ พ่อท่านพระพุทธ พระพุทธไสยาสน.
วัดศรีโคมคำ
วัดศรีโคมคำ หรือ วัดพระเจ้าตนหลวง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ภายในวิหารประดิษฐานพระเจ้าตนหลวงเป็นพระประธาน สร้างขึ้นในรัชสมัยของพญายอดเชียงราย กษัตริย์ลำดับที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย วัดศรีโคมคำ ตั้งอยู่ริมกว๊านพะเยา เขตเทศบาลเมืองพะเยา เลขที่ 692 ถนนพหลโยธิน หมู่ที่ 1 ตำบลเวียง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เนื้อที่รวมทั้งสิ้น ประมาณ 74 ไร.
วัดคลองตะเคียน
วัดคลองตะเคียน เป็นวัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีประวัติการก่อตั้งในที่บริเวณที่เป็นวัดร้างเดิมที่เรียกว่า "วัดไก่แจ้" ที่มีประวัติความมเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยตอนปลาย อันปรากฏหลักฐานเป็นซากวัดร้างและเจดีย์ที่ปรากฏในปัจจุบัน เป็นวัดหลวงพ่อห้อม อมโร หรือพระราชพฤฒาจารย์ วัดคูหาสุวรรณ อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย ซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านได้ริเริ่มให้มีการจัดสร้าง และยกวัดร้างเดิมให้เป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จำพรรษาตั้งแต..
วัดเส้าหลิน
วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.
วันชาติสาธารณรัฐจีน
วันดับเบิลเท็น เป็นวันชาติของสาธารณรัฐจีน และเฉลิมฉลองการเริ่มต้นของการลุกฮือหวูชาง เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..
ดู วัฒนธรรมและวันชาติสาธารณรัฐจีน
วันประชากรโลก
วันประชากรโลก (World Population Day) เป็นวันสำคัญประจำปีในวันที่ 11 กรกฎาคม กำหนดขึ้นเพื่อให้เกิดความตระหนักในประเด็นปัญหาของประชากรโลก วันสำคัญนี้กำหนดขึ้นโดยคณะมนตรีประศาสน์การของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนา เมื่อ พ.ศ.
วารีบำบัด
วารีบำบัด (Hydrotherapy) เป็นการใช้น้ำในการรักษาโรค บรรเทาอาการปวดทำให้ผ่อนคลายและรักษาสุขภาพทั่วไป การรักษาอาจใช้น้ำร้อน น้ำเย็น น้ำแข็ง หรือไอน้ำ โดยการแช่ในอ่างน้ำเย็น อ่างน้ำร้อน อ่างนั่ง โดยอ่างนั่งให้มีความสูงระดับเอว อ่างโคลน อบไอน้ำ ฝักบัวชนิดรูน้ำเล็ก นวดเกลือ ฉีดน้ำความดันสูง ประคบความเย็นหรือร้อน ล้างช่องคลอด และล้างลำไส้ใหญ่ ซึ่งเป็นการล้างผนังด้านในของลำไส้ใหญ่ วารีบำบัดอาจครอบคลุมไปถึงการดื่มน้ำที่มีคุณสมบัติพิเศษ อย่างเช่น น้ำแร่ เนื่องจากน้ำมีอยู่เกือบทุกที่ทุกแห่ง สามารถหาและใช้ได้ง่าย จึงถูกนำมาใช้เพื่อดูแลสุขภาพและรักษาโรคไม่ว่าจะเป็นในวัฒนธรรมใด อย่างเช่น ในช่วงสมัยโรมันที่มีอ่างอาบน้ำสาธารณะขนาดใหญ่ในโรงยิม เพื่อสร้างสังคมและสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยการออกกำลังกายสลับเป็นการผ่อนคลายไปในตัว และในประเทศฟินแลนด์จะนิยมการอบเซาน่า ซึ่งเป็นพิธีกรรมที่ทำกันมาเป็นเวลา 2,000 ปี ซึ่งผู้อพยพย้ายถิ่นนำมาสู่อเมริกาเมื่อหลายปีก่อนก็ยังเป็นที่นิยมมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งในระยะหลังวารีบำบัดได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู ซึ่งข้อควรระวังในการทำวารีบำบัด ไม่เหมาะสำหรับสตรีมีครรภ์และผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคหลอดเลือดหัวใจเรื้อรัง และถ้าใช้น้ำแข็งในการประคบ ควรห่อด้วยผ้าขนหนูหรือผ้าอย่างอื่นก่อน เพื่อไม่ประคบลงบนผิวโดยตรง เครื่องมือช่วยผู้ทุพพลภาพ หรือผู้ที่มีน้ำหนักมากลงอ่างอาบน้ำ เพื่อการบำบั.
วิวัฒนาการของมนุษย์
''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H.
ดู วัฒนธรรมและวิวัฒนาการของมนุษย์
วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอน
วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มีชื่อย่อที่เรียกกันในปัจจุบันคือ โซแอส (School of Oriental and African Studies, SOAS) เป็นหนึ่งในวิทยาลัยที่สังกัดมหาวิทยาลัยลอนดอน ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสถาบันที่มีชื่อเสียงระดับแนวหน้าของโลกในภาพรวมด้านสาขาประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองของบรรดาประเทศในเอเชีย แอฟริกา และตะวันออกกลาง ซึ่งสาขาวิชาเด่นๆมีดังนี้ โดยสาขา Development Studies เป็นอันดับ 4 ของโลก สาขา Politics & International Studies เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศอังกฤษ สาขา Theology, Divinity & Religious Studies เป็นอันดับที่ 5 ประเทศของอังกฤษ สาขา Modern Languages เป็นอันดับที่ 8 ประเทศของอังกฤษ สาขา Arts and Humanities เป็นอันดับ 9 ของประเทศอังกฤษ สาขา Sociology เป็นอันดับ 10 ของประเทศอังกฤษ ตามประวัติกล่าวว่าวิทยาลัยฯ เคยเป็นสถานที่ฝึกอบรมบรรดานายทหารชาวอังกฤษที่จะไปปกครองประเทศอาณานิคมในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงต้องสรรหานักวิชาการมาทำวิจัยด้านประวัติศาสตร์ การเมือง การเศรษฐกิจและภูมิศาสตร์ของภูมิภาคเหล่านี้ไว้ เพื่อประโยชน์ในการกำหนดยุทธศาสตร์ทางทหารของลัทธิจักรวรรดินิยม แต่ในปัจจุบัน สถาบันดังกล่าวนี้ได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้าด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies) ที่สำคัญเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ในสหรัฐอเมริกา, มหาวิทยาลัยปารีสในฝรั่งเศส, มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย, มหาวิทยาลัยเกียวโตในญี่ปุ่น และมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ เป็นต้น วิทยาลัยฯ มีที่พักสำหรับนักศึกษาเป็นของตัวเอง เพราะเหตุที่เปิดสอนวิชาเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมของเอเชีย จึงมีนักศึกษาต่างชาติโดยเฉพาะจากเอเชียเข้าไปศึกษาเป็นจำนวนมาก ตัววิทยาลัยตั้งอยู่ที่รัสเซลล์สแควร์ ใจกลางกรุงลอนดอน ใกล้กับพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและหอสมุดแห่งชาต.
ดู วัฒนธรรมและวิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอน
วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับนานาชาติซึ่งเดิมเป็นหน้าที่ของสำนักงานวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งนี้ชื่อวิทยาลัยตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาล.
ดู วัฒนธรรมและวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วูวูเซลา
วูวูเซลา ทำด้วยพลาสติก ทีมแอฟริกาใต้ กำลังเป่าวูวูเซลา ระหว่างการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 เสียงของวูวูเซลา วูวูเซลา (vuvuzela, เป็นภาษาซูลู แปลว่า ทำให้เกิดเสียงดัง) หรือในบางครั้งเรียก เลปาตาตา (Lepatata ในภาษาสวานา) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าคล้ายทรัมเป็ต เป็นเครื่องดนตรีและวัฒนธรรมของชนพื้นเมืองแอฟริกาใต้ มีความยาวประมาณ 1 เมตร นอกจากนี้ ยังใช้ในการเชียร์กีฬา เช่น ฟุตบอลอีกด้วย ปัจจุบัน วูวูเซลานิยมทำจากพลาสติก เสียงของวูวูเซลา เป็นไปในลักษณะดังกึกก้อง คล้ายเสียงร้องของช้าง วูวูเซลาใช้ในการเชียร์กีฬาครั้งแรก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 โดยกลุ่มกองเชียร์ สโมสรฟุตบอลไกเซอร์ ชีฟส์ เอฟซี ในลีกแอฟริกาใต้ เริ่มนำมาใช้เป็น อุปกรณ์การเชียร์ทีมรักของตน ในสนามฟุตบอล แต่ยังเป็นที่รู้จักเฉพาะภายในแอฟริกาใต้เท่านั้น จากนั้น วูวูเซลา นำมาใช้อีกครั้ง ในการแข่งขันคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009 ที่แอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพ และได้รับการกล่าวถึง ในแง่ที่เป็นอุปกรณ์เชียร์ ที่สามารถข่มขวัญทีมคู่แข่ง และกองเชียร์คู่แข่งได้เป็นอย่างดี ด้วยเสียงอันกึกก้อง รวมถึงทำลายสมาธิของนักฟุตบอลคู่แข่ง จึงเกิดกระแสวิจารณ์ไปทั่ว และทำให้ชาติตะวันตกบางชาติ ถึงกับเรียกร้องให้ สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) สั่งห้ามใช้อุปกรณ์ชิ้นนี้ระหว่างแข่งขัน แต่ประธานฟีฟ่า เซปป์ แบลตเตอร์ มีความเห็นคัดค้าน โดยให้เหตุผลว่า เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมแอฟริกัน ในฟุตบอลโลก 2010 ที่แอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพ กองเชียร์ก็นำวูวูเซลามาใช้ และกลายเป็นที่วิจารณ์กันอย่างกว้างขวางอีกครั้ง เช่นกล่าวว่า เสียงเป่ากลบเสียงผู้พากษ์ และผู้ฝึกสอน หรือสร้างความรำคาญ บ้างก็บอกว่า เสียงดังคล้ายเสียงแมลงวัน หรือแมลงหวี่บินตอม เป็นต้น อย่างไรก็ดี งานวิจัยของคณะแพทย์ชาวเยอรมันกลุ่มหนึ่ง สนับสนุนการห้ามใช้วูวูเซลาอย่างถาวร โดยเตือนว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเสียง ที่ดังเกินพอดีของวูวูเซลา ควรรีบมาพบแพทย์ ภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อตรวจเช็คระบบการได้ยินเป็นการด่วน ก่อนที่อาจหูหนวกไปตลอดชีวิต นอกจากนี้แล้ว ยังมีแพทย์ชาวอังกฤษระบุว่า วูวูเซลาเป็นพาหะแพร่เชื้อโรคต่างๆ ได้ โดยรายงานว่า มีการทดสอบเป่า โดยอาสาสมัคร 8 ราย พบว่าในวูวูเซลา ชุ่มไปด้วยละอองน้ำลาย ซึ่งเป็นพาหะต่อเชื้อโรคต่างๆ และเชื้อโรคเหล่านี้ สามารถอยู่ในอากาศได้นานนับชั่วโมง ทำให้มีความเป็นไปได้อย่างมาก ที่จะมีการติดเชื้อต่อๆ กันไป และหากใช้วูวูเซลาอันเดียวกัน เป่าต่อๆ กันไป มากเท่าไร ก็ยิ่งมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายขึ้นอีก เป็นต้น.
วงศ์หนู
วงศ์หนู (Rat, Mice, Mouse; วงศ์: Muridae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Muridae นับเป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี และนับเป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะที่มีความหลากหลายและจำนวนสมาชิกมากที่สุดด้วย ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 700 ชนิด ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิลจนถึงปลายสุดของทวีปอเมริกาใต้ โดยยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง).
ศาลเจ้าชงมโย
ลเจ้าชงมโย คือหนึ่งในแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของประเทศเกาหลีใต้ ตั้งอยู่ในโซล สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าแทโจแห่งโชซอนในปี พ.ศ.
ศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา
กัมພູມາาเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ ความเป็นมากว่าพันปี โดยแต่เดิมเป็นดินแดนของกลุ่มชาติพันธ์มอญ-เขมร ที่มีหลักฐานว่าอพยพมาจากอินเดีย ในฐานะพ่อค้า หรือเพื่อการค้า ผ่านเข้ามาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรอินโดจีน และตั้งถิ่นฐาน ผสมผสานกับคนในท้องถิ่นเดิม และกับคนที่อพยพมาทีหลัง ทั้งในชาติพันธุ์ และทางวัฒนธรรมมีความเจริญเพิ่มขึ้นตามลำดับ ต่อมาได้มีชนอินเดียเข้ามาติดต่อค้าขาย และได้นำเอาวัฒนธรรมอินเดียมาเผยแผ่ด้วย ทำให้กัมพูชารับเอาวัฒนธรรมอินเดีย ซึ่งก็คือพระพุทธศาสนาด้วยเช่นกัน จากหลักฐานที่ปรากฏ กัมพูชาเป็นดินแดนแรก ๆ ที่รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเมื่อเข้ามาเผยแผ่เข้ามาสู่สุวรรณภูมิ รวมทั้งได้รับอิทธิพลในด้านความเจริญทางด้านจิตใจมาจากประเทศอินเดีย ศาสนาแรกที่เป็นศาสนาสำคัญของชาวกัมพูชา คือ ศาสนาพราหมณ์ และศาสนาที่รองลงมา คือ พระพุทธศาสนา ศาสนาทั้งสองนี้ ได้กลายเป็นศาสนาหลัก และศาสนารองในสังคมกัมพูชา ดังปรากฏหลักฐานทางด้านจารึก โบราณดคี และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏผ่านปราสาทนครวัต ปราสาทนครธม และพลวัฒน์ทางพระพุทธศาสนาสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน โดยพัฒนาการของพระพุทธศาสนาที่ปรากฏสามารถจัดเป็นลำดับในแต่ละช่วงเวลาได้เป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้.
ดู วัฒนธรรมและศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา
ศิลปะไทย
ลปะไทย สืบทอดยาวนานมาตั้งแต่อดีต บ่งบอกถึงวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น โดยมีพัฒนาการบนพื้นฐานของประเพณี ศาสนา และสังคมไทย สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม ดังนั้น จึงมีความผูกพันกับธรรมชาติ เป็นสิ่งหล่อหลอมให้เกิดความเชื่อประเพณีและวัฒนธรรม ที่ส่งผลต่ออิทธิพลของศิลปะไท.
ศิลปะเคลต์
อร์แลนด์ ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 ศิลปะเคลต์ (Celtic art) เกี่ยวข้องกับกลุ่มชนที่เรียกว่าเคลต์ ผู้พูดภาษากลุ่มเคลต์ในทวีปยุโรป เริ่มตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุคกลางและต่อมา รวมทั้งงานของชนโบราณที่เราไม่ทราบภาษาพูดแต่มีวัฒนธรรมและลักษณะคล้ายคลึงที่ทำให้สรุปได้ว่าอาจจะเกี่ยวข้องกับชาวเคลต์ และยังรวมถึงยุคฟื้นฟูศิลปะเคลต์จนถึงปัจจุบันซึ่งชาวเคลต์สมัยใหม่พยายามอนุรักษ์เพื่อความรักษาความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ศิลปะเคลต์เป็นศิลปะตกแต่ง หลีกเลี่ยงการใช้เส้นตรง และไม่ค่อยใช้ความสมมาตร และมิได้พยายามเลียนแบบธรรมชาติหรือจินตนิยมของธรรมชาติซึ่งเป็นหัวใจของศิลปะคลาสสิก เท่าที่เข้าใจกันจะเป็นศิลปะที่ซับซ้อนไปด้วยสัญลักษณ์ มีลักษณะหลายแบบและมักจะผสมลักษณะของวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้าไปด้วย ตัวอย่างที่เห็นคือการใช้ลายสอดประสานซ้อนบนและล่าง (over-and-under interlacing) ซึ่งนำมาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 6 หลังจากที่ลักษณะนี้เป็นที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้วโดยชาวเจอร์มานิค ศิลปะเคลต์แบ่งเป็นสามสมัย สมัยแรกเป็นศิลปะแผ่นดินใหญ่ยุโรปในสมัยยุคเหล็กซึ่งเกี่ยวกับศิลปะของวัฒนธรรมลาแตน ซึ่งมีอิทธิพลมาจากศิลปะท้องถิ่น ศิลปะคลาสสิก และอาจจะมาจากศิลปะตะวันออกที่มาทางเมดิเตอร์เรเนียน สมัยที่สองเป็นสมัยยุคเหล็กในอังกฤษและไอร์แลนด์ ซึ่งมีอิทธิพลมาจากศิลปะแผ่นดินใหญ่ยุโรปผสมกับศิลปะท้องถิ่นต่าง ๆ สมัยที่สามเป็นสมัยเคลต์ "เรอแนซ็องส์" เมื่อต้นยุคกลางที่ไอร์แลนด์ และบางส่วนของอังกฤษหรือที่เรียกว่า "ศิลปะเกาะ" ซึ่งมาจากคำว่า "เกาะ" ในภาษาละติน สมัยที่สามเป็นรากฐานของ "ศิลปะเคลต์ฟื้นฟู" ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation)) เป็นศูนย์ข้อมูลความรู้ทางด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ วัฒนธรรมและความรู้ท้องถิ่นของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำหน้าที่เก็บรวบรวมบันทึกความรู้ในรูปแบบต่างๆ สนับสนุนการสร้างความรู้ใหม่ และเผยแพร่ผลงานการค้นคว้าให้แก่ประชาชนทั่วไป.
ดู วัฒนธรรมและศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย
ูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย (Centre for Contemporary Cultural Studies) (ย่อว่า:CCCS) เป็นศูนย์วิจัยที่มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม อังกฤษ ก่อตั้งปี 1964 โดย ริชาร์ด ฮอกการ์ท ซึ่งเป็นผู้อำนวยการคนแรก เพื่อศึกษาสาขาวัฒนธรรมศึกษาซึ่งเป็นสาขาใหม่ในขณะนั้น ศูนย์ปิดตัวลงในปี 2002 ท่ามกลางการประท้วงของอาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก.
ดู วัฒนธรรมและศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย
ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
ูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) (Thai-Japan Bangkok Youth Center) หรือที่นิยมเรียกว่า สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อเวลา 16:45 นาฬิกา ของวันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
ส.พลายน้อย
.พลายน้อย เป็นนามปากกาที่รู้จักกันดีและใช้อย่างแพร่หลายของ สมบัติ พลายน้อย เป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประเพณี สังคมไทยด้านต่าง ๆ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ในปี พ.ศ.
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ
มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ (ภาษาอังกฤษ: Northern Renaissance) เป็นวลีที่หมายถึงยุคเรอเนสซองซ์ในทวีปยุโรปเหนือ หรือทั่วๆ ไปคือทวีปยุโรปนอกอิตาลี ก่อน ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส
มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส (French Renaissance) หมายถึงการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมและศิลปะ ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ที่นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มต้นขึ้นในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสตามปกติแล้วถือว่าเริ่มขึ้น ตั้งแต่การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลีในปี..
ดู วัฒนธรรมและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี
มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) คำว่า “เรอเนสซองซ์” เป็นคำสมัยใหม่ที่มาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในงานของนักประวัติศาสตร์เช่นเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jacob Burckhardt) ที่มาของขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเริ่มจากการวิวัฒนาการทางวรรณกรรมของผู้ก่อตั้งในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ วัฒนธรรมด้านอื่นๆของอิตาลีในขณะนั้นยังคงเป็นวัฒนธรรมของยุคกลาง ปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยามิได้แพร่หลายอย่างเต็มที่จนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 คำว่า “เรอเนสซองซ์” หรือ “Rinascimento” ในภาษาอิตาลีหมายความว่า “เกิดใหม่” และเป็นสมัยที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการฟื้นฟูความสนใจในวัฒนธรรมของกรีกโรมันหลังจากสมัยที่นักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ (Renaissance humanist) ตั้งชื่อว่ายุคมืด (Dark Ages) ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญแต่จำกัดอยู่แต่ในกลุ่มชนชั้นสูงและทิ้งให้ประชากรส่วนใหญ่ในยุโรปยังมีความเป็นอยู่ที่ไม่ต่างจากสมัยกลางที่ผ่านมา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเริ่มในทัสเคนีโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฟลอเรนซ์และเซียนา และต่อมาในเวนิสที่มีผลเป็นอันมาก เพราะงานต่างๆ ของกรีกโบราณถูกนำไปรวบรวมไว้ที่เวนิสซึ่งทำให้กลายเป็นแหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใหม่ๆ ให้แก่นักมนุษยนิยม ผู้คงแก่เรียนในเวนิสในขณะนั้น ต่อมาปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยาก็มามีอิทธิพลในกรุงโรม ที่ทำให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ มากมายที่ส่วนใหญ่โดยการอุปถัมภ์ของพระสันตปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากนั้นก็ลดถอยลงหลังจากการรุกรานจากต่างประเทศที่ก่อสงครามในอิตาลี แต่การฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีก็มิได้หยุดนิ่งลงแต่เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือของยุโรปและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษและประเทศอื่นๆ ในยุโรป สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในความสำเร็จทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรวมนักมนุษยนิยมผู้มีชื่อเสียงเช่นเปตรากที่รู้จักกันดีในงานซอนเน็ต “Il Canzoniere”; จิโอวานนิ บอคคาซิโอ (Giovanni Boccaccio) ในงานเรื่องเล่า “Decameron” และนักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์เช่นโปลิซิอาโน (Poliziano), มาร์ซิลิโอ ฟิซิโน (Marsilio Ficino), โลเร็นโซ วาลลา (Lorenzo Valla), อัลโด มานูซิโอ (Aldo Manuzio), โพจจิโอ บราชชิโอลินิ (Poggio Bracciolini) นอกจากนั้นก็มีนักประพันธ์มหากาพย์เรอเนสซองซ์เช่นบัลดัสซาเร คาสติกลิโอเน (Baldassare Castiglione) (“The Book of the Courtier”), ลุโดวิโค อริโอสโต (Ludovico Ariosto) (“Orlando Furioso”) และทอร์ควาโท ทาสโซ (Torquato Tasso) (“Jerusalem Delivered”) และนักประพันธ์ร้อยแก้วเช่นนิคโคโล มาเคียเวลลี (“The Prince”) จิตรกรรมเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นจิตรกรรมที่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมตะวันตกต่อมาอีกหลายร้อยปี โดยมีจิตรกรเช่นไมเคิล แอนเจโล, ราฟาเอล, ซานโดร บอตติเชลลี, ทิเชียน และเลโอนาร์โด ดา วินชี และเช่นเดียวกันกับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีสถาปนิกเช่นอันเดรอา ปัลลาดีโอ และงานเช่นมหาวิหารฟลอเรนซ์ และมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในขณะเดียวกันนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเห็นว่าเป็นสมัยของความหดตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมามีความก้าวหน้ามากกว่าในวัฒนธรรมของโปรเตสแตนต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17.
ดู วัฒนธรรมและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง
ในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Carolingian Renaissance) เกิดขึ้นเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยมีจุดที่รุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญและจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาพระราชโอรส ระหว่างช่วงเวลานี้ก็มีการศึกษาวรรณคดี, การเขียน, ศิลปะ, สถาปัตยกรรม, นิติศาสตร์, และหนังสือทางเทววิทยาศาสนาคริสต์กันอย่างแพร่หลาย นอกจากนั้นก็ยังเป็นสมัยของการวิวัฒนาการภาษาละตินสมัยกลาง และอักษรกาโรแล็งเฌียงกันขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างภาษาและวิธีการเขียนที่เป็นสามัญที่สามารถนำมาใช้ในการสื่อสารไปได้เกือบทั่วทั้งยุโรป การใช้คำว่า “renaissance” หรือ “สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา” ในการบรรยายช่วงเวลานี้ก็เป็นประเด็นที่โต้แย้งกัน เพราะการเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่จำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มนักบวชเท่านั้น และขาดการเคลื่อนไหวโยกย้ายอย่างกว้างขวางเช่นที่เกิดขึ้นในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาScott pg 30 แทนที่จะเป็นการรื้อฟื้นของขบวนการทางวัฒนธรรมใหม่ ยุคนี้เป็นเพียงการพยายามที่จะเลียนแบบวัฒนธรรมของจักรวรรดิโรมันก่อนหน้านั้น.
ดู วัฒนธรรมและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง
สมาคมสร้างคุณค่าสากล
มาคมสร้างคุณค่าสากล (อังกฤษ: Soka Gakkai International) เป็นองค์กรพุทธศาสนา ที่มีสมาชิกมากกว่า 12 ล้านคนใน 192 ประเทศและเขตปกครอง (ข้อมูลปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและสมาคมสร้างคุณค่าสากล
สมาคมดนตรีประชาธิปไตย
ำนักงานใหญ่ของสมาคมดนตรีประชาธิปไตย กรุงโตเกียว สมาคมดนตรีประชาธิปไตย (Democratic Music Association) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506 โดย ไดซาขุ อิเคดะ นายกสมาคมโซคา งัคไก ท่านที่ 3 มีจุดประสงค์คือเผยแผ่ดนตรีแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมศิลปะแต่ละประเทศ และในประเทศญี่ปุ่นด้ว.
ดู วัฒนธรรมและสมาคมดนตรีประชาธิปไตย
สมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก
มาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก (National Geographic Society) เป็นองค์กรด้านวิทยาศาสตร์และการศึกษาแห่งหนึ่งของโลกที่ไม่แสวงหาผลกำไร มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
ดู วัฒนธรรมและสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก
สมุทรโฆษคำฉันท์
มุทรโฆษคำฉันท์ เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องจาก วรรณคดีสโมสร ในสมัยรัชกาลที่ 6 ว่าเป็นเรื่องที่แต่งดีเป็นเยี่ยมในกระบวนคำฉันท์ เป็นวรรณกรรมขนาดย่อม มีความยาว ของเนื้อเรื่อง 2,218 บท (นับรวมแถลงท้ายเรื่อง 21 บท) กับโคลงท้ายเรื่องอีก 4 บท สมุทรโฆษคำฉันท์นับเป็นหนึ่งในวรรณคดีไทย ที่มีประวัติอันยาวนาน สืบเนื่องมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา จวบจนถึงช่วงต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อหาแบบนิยายไทยทั่วไป ที่มีความรักและการพลัดพราก กวีได้สอดแทรกขนบการแต่งเรื่องไว้อย่างสมบูรณ์ ขณะเดียวกัน นักประวัติศาสตร์ยังใช้วรรณคดีเล่มนี้สำหรับการอ้างอิงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ด้านขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมด้ว.
สลาวอย ชิเชค
ลาวอย ชิเชค (Slavoj Žižek) (เกิด 21 มีนาคม ค.ศ. 1949) เป็นนักปรัชญา นักวิพากษ์วัฒนธรรม และปัญญาชนมาร์กซิสต์ชาวสโลวีเนีย เขาเป็นนักวิจัยอาวุโสประจำสถาบันสังคมวิทยาและปรัชญา มหาวิทยาลัยลูบลิยานา เป็นศาสตราภิชานด้านภาษาเยอรมันที่มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก และเป็นผู้อำนวยการนานาชาติประจำสถาบันมนุษยศาสตร์แห่งเบิร์กเบค (Birkbeck Institute for the Humanities) มหาวิทยาลัยลอนดอน ชิเชคมีผลงานตีพิมพ์หลากหลายหัวข้อ อาทิ ทฤษฎีการเมือง จิตวิเคราะห์ ภาพยนตร์วิจารณ์ เทววิทยา ฯลฯ ชิเชคเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติภายหลังผลงานเล่มแรกเรื่อง The Sublime Object of Ideology (1989) ได้รับการตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ ในหนังสือเล่มดังกล่าว ชิเชคได้อาศัยกรอบการตีความแบบวัตถุนิยม ซึ่งพัฒนาขึ้นจากปรัชญาของจอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิลและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฌาคส์ ลากอง (Jacques Lacan) ในการทำความเข้าใจอุดมการณ์ในฐานะแฟนตาซีของจิตไร้สำนึกที่ทำหน้าที่ประกอบสร้างสภาพความเป็นจริงให้กับมนุษย์ นอกจากผลงานชิ้นดังกล่าว ชิเชคยังเป็นที่รู้จักในฐานะผู้วิพากษ์วิจารณ์ระบบทุนนิยม เสรีนิยมใหม่ รวมถึงวิจารณ์การวิพากษ์วิจารณ์ของฝ่ายซ้ายที่มีต่อทุนนิยมเองมาอย่างต่อเนื่อง.
สวนหลวง ร.9
ในหอรัชมงคล สวนหลวง ร.9 เป็นสวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 500 ไร่ อยู่ในแขวงหนองบอน เขตประเวศ ทางตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จัดสร้างเพื่อสร้างเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในศุภมงคลสมัยเจริญพระชนมพรรษาครบรอบ 60 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.
สะพานพระราม 8
นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.
สะเต๊ะ
ต๊ะไก่ในมาเลเซีย สะเต๊ะ (satay, saté) เป็นอาหารอย่างหนึ่งซึ่งทำจากเนื้อที่หั่นบางๆ หรือหั่นเป็นก้อน อาจจะเป็นเนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อแกะ เนื้อแพะ เนื้อปลา ฯลฯ เสียบด้วยไม้เสียบที่ทำจากไม้ไผ่ แล้วนำไปย่างบนเตาฟืนหรือเตาถ่าน เสิร์ฟพร้อมเครื่องปรุงรส ที่มีรสจัด (ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละตำรับ) สะเต๊ะมีจุดกำเนิดมาจากเกาะชวาหรือเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย แต่ก็ยังได้รับความนิยมในประเทศอื่นๆ ด้วย เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ รวมทั้งประเทศไทย หรือแม้แต่เนเธอร์แลนด์ซึ่งรับเอาวัฒนธรรมไปกับอาณานิคมของตน คำว่า "สะเต๊ะ" เชื่อว่ามีที่มาจากประเทศจีนในอดีต โดยมาจากภาษาหมิ่นใต้คำว่า "แซบัก" (จีน: 三疊肉; พินอิน: sae bak) หมายถึง "เนื้อสามชิ้น" อย่างไรก็ตามนักวิชาการร่วมสมัยกล่าวว่าคำว่า "สะเต๊ะ" ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาอินโดนีเซีย: "ซาเต" (sate) และภาษามลายู: "ซาเต" (saté) หรือ "ซาไท" (satai) ทั้งสองอย่างอาจจะมีที่มาจากภาษาทมิฬ สะเต๊ะของอินโดนีเซียอาจได้รับอิทธิพลจากคาบับที่เป็นอาหารพื้นเมืองของอินเดียภาคเหนือ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาวเตอร์กอีกต่อหนึ่ง ตำรับดั้งเดิมของชาวตุรกีเป็นเนื้อแพะหั่นเป็นชิ้นหมักแล้วเสียบเหล็กแหลมย่างไฟ ชาวเปอร์เซียและชาวอินเดียรับมาดัดแปลง อาจใช้เนื้อบดหรือเนื้อทั้งชิ้น จะเสียบหรือไม่เสียบไม้ก็ได้ เมื่อแพร่หลายมาถึงมลายู-ชวาจึงกลายเป็นสะเต๊ะอย่างที่เห็นในปัจจุบัน โดยร้านขายหมูสะเต๊ะร้านแรกในประเทศไทย คือ ร้านจึงอังลัก ย่านเยาวราช ข้างโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรี ปัจจุบันได้ย้ายร้านไปที่ย่านถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน.
สักวาปากหวาน
สักวาปากหวาน เป็นเพลงยอดนิยมเพลงหนึ่งในปีพ.ศ. 2548 ร้องโดยวงเอ็นโดรฟิน ในอัลบัมที่ 2 "สักวา 49" และเป็นเพลงเปิดตัวในอัลบัมที่ 2 ของวงเอ็นโดรฟินอีกด้วย สักวาปากหวาน เป็นเพลงที่ใช้คำประพันธ์แบบสักวาของไทยที่รู้จักกันดีชื่อ สักวาหวานอื่น หรือ สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ประพันธ์โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพูดของมนุษย์ โดยวงเอ็นโดรฟิน ยกตัวอย่างเกี่ยวกับความรัก และเพลงนี้ยังแสดงถึงวัฒนธรรมของไทยอีกด้วย หมวดหมู่:วงเอ็นโดรฟิน หมวดหมู่:เพลงไทยสากล หมวดหมู่:ซิงเกิลในปี พ.ศ.
สังคม
กลุ่มคนในสังคม สังคม หรือ สังคมมนุษย์ คือการอยู่รวมกันของมนุษย์โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหลายรูปแบบ เช่น อาชีพ อายุ เพศ ศาสนา ฐานะ ที่อยู่อาศัย ฯลฯ สำหรับระบบสังคมที่รวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นนอกเหนือจากมนุษย์อาจใช้คำว่าระบบนิเวศ ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆกับสภาพแวดล้อม สังคมของมนุษย์เกิดจากกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจร่วมกันไม่ว่าจะในด้านใด เช่น ประเทศ จังหวัด และอื่นๆ และมักจะมีวัฒนธรรมหรือประเพณีรวมถึงภาษา การละเล่นและอาหารการกินของตนเองในแต่ละสังคม การที่มนุษย์รวมกันเป็นสังคมนั้น ช่วยให้มนุษย์สามารถสร้างและพัฒนาสิ่งต่างๆ ให้ประสบความสำเร็จได้ ซึ่งอาจเป็นไปไม่ได้ถ้าต้องทำสิ่งนั้นโดยลำพัง ขณะเดียวกันสังคมที่พัฒนาหรือกำลังพัฒนาเป็นเมืองขนาดใหญ่ ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการทำงานอย่างมากนั้น ก็อาจส่งผลให้ประชากรที่ไม่สามารถปรับตัวตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวหรือความรู้สึกว่าตนเองไม่มีส่วนร่วมในสังคมขึ้นมาได้.
สังคมวิทยา
ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.
สารสนเทศศาสตร์สังคม
รสนเทศศาสตร์สังคม (Social informatics) เป็นการศึกษาเครื่องมือการสื่อสารและสารสนเทศในบริบทวัฒนธรรมและสถาบัน หรือการศึกษาแบบสหวิทยาการของการออกแบบ การใช้ และผลที่ตามมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งคำนึงถึงการปฏิสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีเหล่านั้นกับบริบททางสถาบันและทางวัฒนธรม ด้วยความเป็นสหวิทยาการของมัน สารสนเทศศาสตร์สังคมเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเชิงเศรษฐกิจสังคม ที่พิเคราะห์วิถีที่สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีและบริบททางสังคมของมนุษย์นั้นได้ร่วมกันสถาปนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งมวลขึ้นม.
ดู วัฒนธรรมและสารสนเทศศาสตร์สังคม
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
รานุกรมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสารานุกรมภาษาไทยจัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาบางส่วนเผยแพร่ในระบบออนไลน์ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำโดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน แต่ละเล่มรวบรวมเนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของเรื่องต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับ 3 ระดับความรู้ ให้แก่เด็กรุ่นเล็ก เด็กรุ่นกลาง และเด็กรุ่นใหญ่ รวมทั้งผู้ใหญ่ที่สนใจทั่วไป แต่ละเรื่องเริ่มต้นด้วยเนื้อหาของระดับเด็กรุ่นเล็ก ตามด้วยเนื้อหาของรุ่นกลางและรุ่นใหญ่ตามลำดับ เนื้อหาในแต่ละระดับพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดต่างกัน.
ดู วัฒนธรรมและสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
สารคดี
ำหรับนิตยสาร ดู สารคดี (นิตยสาร) สารคดี เป็นงานเขียนหรือวรรณกรรมร้อยแก้วในลักษณะตรงข้ามกับกับบันเทิงคดี (Fiction) ที่มุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นเบื้องต้น มีความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ที่มุ่งแสดงความรู้ ความคิด ความจริง ความกระจ่างแจ้ง และเหตุผลเป็นสำคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบาย เชิงวิจารณ์เชิงแนะนำสั่งสอน เป็นต้น.
สำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป
ำนักข่าวยูโรเปี้ยน เพรสโฟโต้ เอเจนซี่ เป็นหน่วยงานที่ทำการเผยแพร่ภาพข่าวเหตุการณ์จากประเทศต่าง ๆ ไปทั่วโลก รูปภาพจากทุกส่วนของโลกครอบคลุมข่าวการเมือง ข่าวกีฬา ข่าวธุรกิจการเงิน ตลอดจนข่าวศิลปวัฒนธรรมและการบันเทิง ซึ่งถ่ายภาพโดยช่างภาพข่าวมืออาชีพในเครือข่ายทั่วโลกกว่า 400 คนนำมารวมไว้ในบริการภาพของ epa บริการภาพข่าวของ epa ผลิตรายวันโดยช่างภาพที่เป็นพนักงานจากเครือข่ายที่สร้างขึ้นทั่วโลกรวมทั้งช่างภาพขององค์กรข่าวซึ่งเป็นสมาชิกและผู้นำการตลาดด้านภาพข่าวในแต่ละประเทศ ภาพถ่ายทั้งหมดจะถูกส่งเข้ามาที่กองบรรณาธิการใหญ่ ณ เมือง แฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ก่อนจะแจกจ่ายให้กับลูกค้าทั่วโลก กองบรรณาธิการภาพนี้มีการทำงานตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้ลูกค้าได้รับภาพข่าวและเหตุการณ์ที่ทันต่อสถานการณ.
ดู วัฒนธรรมและสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป
สิทธิ
ทธิ คือ หลักเสรีภาพหรือการให้สิทธิ์ทางกฎหมาย สังคมหรือจริยศาสตร์ นั่นคือ สิทธิเป็นกฎเชิงบรรทัดฐานพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่ประชาชนมีหรือเป็นของประชาชนตามบางระบบกฎหมาย ขนบธรรมเนียมทางสังคม หรือทฤษฎีจริยศาสตร์ สิทธิมีความสำคัญยิ่งในสาขาวิชาดังกล่าว เช่น กฎหมายและจริยศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีความยุติธรรมและกรณียกรรม มักถือว่าสิทธิเป็นพื้นฐานของอารยธรรม ถือว่าเป็นเสาหลักซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคมและวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ความขัดแย้งทางสังคมพบได้ในประวัติศาสตร์ของสิทธิแต่ละอย่างและพัฒนาการของมัน ตามสารานุกรมปรัชญาสแตนฟอร์ด "สิทธิให้โครงสร้างแก่ระบอบการปกครอง เนื้อหากฎหมาย และลักษณะของศีลธรรมซึ่งรับรู้ในปัจจุบัน".
สิทธิชนพื้นเมือง
ทธิชนพื้นเมือง (Indigenous Rights) หมายถึงสิทธิของกลุ่มชนซึ่งเป็นชนพื้นเมืองอยู่แต่ดั้งเดิมมาก่อนที่ประชาชนซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะอพยพมาตั้งถิ่นฐานหรือทำการรุกรานจับจองเป็นอาณานิคม เช่น ชาวอเมริกันพื้นเมือง (อินเดียนแดง) เผ่าต่าง ๆ ในอเมริกา ชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย ชาวมาวรีในนิวซีแลนด์ เป็นต้น โดยที่คำว่าชนพื้นเมือง หมายถึงกลุ่มชนซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่ก่อนการก่อตั้งอาณานิคมหรือรัฐชาติและมีระบบการเมืองและวัฒนธรรมต่างไปจากการเมืองและวัฒนธรรมหลักของรัฐซึ่งพื้นที่ของชนพื้นเมืองนั้นตั้งอยู่ หลักเกณฑ์ที่สหประชาชาติใช้ในการพิจารณาชนพื้นเมือง คือ (อ้างอิงจาก สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ).
ดู วัฒนธรรมและสิทธิชนพื้นเมือง
สิงโต
งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P.
สิงโตอินเดีย
งโตอินเดีย หรือ สิงโตเอเชีย หรือ สิงโตเปอร์เซีย (أسد آسيوي; Indian lion, Asiatic lion, Persian lion) เป็นชนิดย่อยของสิงโตที่ยังหลงเหลือในปัจจุบัน มีรูปร่างทั่วไปคล้ายสิงโตที่พบในทวีปแอฟริกา แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยตัวผู้เมื่อโตเต็มมีน้ำหนักประมาณ 160–190 กิโลกรัม ตัวเมียหนักประมาณ 110–120 กิโลกรัม ความยาวหัวถึงหางของตัวผู้ 2.92 เมตร ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของสิงโตอินเดีย คือ มีแผงคอทั้งตัวผู้และตัวเมีย และแผงคอของตัวผู้ไม่หนาและใหญ่เหมือนสิงโตในทวีปแอฟริกา มองเห็นใบหูเห็นชัดเจน ดังนั้นตัวผู้และตัวเมียจึงมีรูปลักษณ์ที่คล้ายกันมาก นอกจากนี้แล้วยังมีหนังทอดยาวตลอดใต้ลำตัวซึ่งไม่พบในสิงโตในทวีปแอฟริกา ทั้งนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ต่างกันเนื่องจากสิงโตอินเดียอาศัยอยู่ในป่าทึบไม่เหมือนกับสิงโตในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าโล่งกว้าง และทำให้สิงโตอินเดียเป็นสัตว์ที่แฝงตัวได้อย่างกลมกลืนกับธรรมชาติรอบตัวในศรีลังกามีสิงโตอีกสายพันธ์คือ สิงโตศรีลังกา แต่สูญพันธ์เมื่อ32,000ปีก่อนไปพร้อมกับ เสือศรีลังกา มีซากฟอสซิลบางส่วนในพิพิธภัณฑ์ในศรีลังกา ในอดีต มีการกระจายพันธุ์ในภูมิภาคตะวันออกกลาง, เปอร์เซีย, อิรัก, ซีเรีย, อัฟกานิสถาน, ปากีสถานไปจนถึงมาซิโดเนียในกรีซ และ ศรีลังกา ด้วยแต่ปัจจุบันพบเหลือเพียงแห่งเดียวในธรรมชาติ คือ อุทยานแห่งชาติป่ากีร์ ในรัฐคุชราตทางตอนเหนือของอินเดียเท่านั้น และอยู่ในสถานะวิกฤตต่อการสูญพันธุ์ แต่ได้เพิ่มจำนวนขึ้นจากเมื่อประมาณ 30 ปี ก่อนที่เหลือเพียงไม่กี่สิบตัวเท่านั้น เป็น 530 ตัวในปัจจุบัน และอยู่ในอัตราที่เพิ่มขึ้น พฤติกรรมการรวมฝูงของสิงโตอินเดีย แตกต่างไปจากสิงโตในทวีปแอฟริกา กล่าวคือ มีขนาดฝูงที่เล็กกว่า โดยมีจำนวนอย่างมากที่สุดเพียง 5 ตัวเท่านั้น และอาจมีตัวเมียเพียง 2 ตัว และอาจมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง 2 ตัวก็เป็นได้ โดยเป็นลักษณะร่วมปกครอง ขณะที่ตัวผู้จะเข้าร่วมฝูงก็ต่อเนื่องจะล่าเหยื่อหรือในการผสมพันธุ์เท่านั้น ในวัฒนธรรมของอินเดีย มีสิงโตอยู่มากมาย เช่น หัวเสาหินสลักในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชที่เป็นรูปสิงโตอินเดีย รวมถึงปรัมปราในศาสนาฮินดูที่เป็นศาสนาพื้นเมืองของอินเดีย ก็มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับสิงโตอยู่มาก หรือแม้กระทั่งในประวัติศาสตร์ยุโรปเอง ก็มีภาพโมเสกของอเล็กซานเดอร์มหาราชทรงร่วมล่าสิงโตกับพระสหาย ซึ่งเชื่อว่าเป็นแม่ทัพชื่อ เฮฟฟาฮิสเตียน เชื่อว่าสิงโตชนิดนั้นก็คือ สิงโตอินเดีย นั่นเอง ทางวัฒนธรรมจีน มีการละเล่นเชิดสิงโต ซึ่งในประเทศจีนเองไม่มีสิงโตเป็นสัตว์พื้นเมือง เชื่อว่าเป็นการรับมาจากเปอร์เซีย ด้วยการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันผ่านเส้นทางสายไหม สิงโตอินเดียตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 ปี ซึ่งมากกว่าสิงโตในทวีปแอฟริกา และจะออกลูกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนเมษายน และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 16–18 ปี ในตัวผู้ และตัวเมีย 17–18 ปี พบมากที่สุดคือ 21 ปี ถือว่ามากกว่าสิงโตทวีปแอฟริก.
สุลัยมานผู้เกรียงไกร
ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและสุลัยมานผู้เกรียงไกร
สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นสถาบันวิจัยในสังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีภารกิจหลักคือการศึกษาค้นคว้าเพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับสังคมไทย การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และการเผยแพร่ความรู้สู่สังคม.
ดู วัฒนธรรมและสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถาบันเกอเธ่
ันเกอเธ่ (Goethe-Institut) เป็นองค์กรทางด้านวัฒนธรรมที่ไม่แสวงหาผลกำไรของเยอรมนีที่มีสำนักงานอยู่ทั่วโลก มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาเยอรมัน สนับสนุนกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม และยังเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประเทศเยอรมนีทั้งทางด้วยวัฒนธรรม สังคม และการเมืองhttp://www.goethe.de/ins/th/ban/uun/thindex.htm.
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..
ดู วัฒนธรรมและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในเนปาล ทำจากดินและหิน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular architecture) หมายถึง สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละท้องถิ่นที่มีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อม เพื่อสนองความต้องการนั้น ๆ รูปแบบของสิ่งก่อสร้างอาจจะพัฒนาไปจากรูปแบบเดิม เพื่อให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต โดยใช้วัสดุก่อสร้างที่หามาได้ตามท้องถิ่นนั้น ๆ การก่อสร้างเป็นการช่วยเหลือกันในชุมชน จากบุคคลทุกเพศทุกวัยทั้ง เด็ก ผู้หญิง คนหนุ่ม-สาว คนเฒ่า-คนแก่ อาจเป็นผู้มีประสบการณ์ทางการก่อสร้างหรือไม่มีก็ได้ การทำงานร่วมกันในชุมชนเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต เรื่องราวต่าง ๆ ของชุมชนอย่างเป็นธรรมชาติ หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม.
ดู วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
สถาปัตยกรรมศาสตร์
ปัตยกรรมศาสตร์ เป็นการศึกษาสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานเทคนิควิทยาการทั้งทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน เพื่อตอบสนองความต้องการในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่อาศัย วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่นั้น สนองตอบในเชิงจิตวิทยา ซึ่งผู้ออกแบบต้องเข้าใจความต้องการในการใช้พื้นที่นั้น ๆ อย่างลึกซึ้งอันมีผลกับการออกแบบที่ดี และไม่ดี หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นศิลปวิทยาการ ในการออกแบบอาคารและสิ่งเกี่ยวเนื่อง เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เหมาะสมในการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ระดับมหัพภาค ถึงจุลภาค เช่น การวางผังชุมชน การออกแบบชุมชน ภูมิสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องรูปแบบศิลปะ เรื่องของชุมชน เรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ และเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย ถือเป็นศาสตร์ที่มีศาสตร์อื่นมาเกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก จนยากที่จะสรุปลงไปได้ว่ามี ศาสตร์สาขาใดมาเกี่ยวข้องบ้าง.
ดู วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
สะพานพระราม 8 วิหารยูนิตี (Unity Temple) โดย แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ ปี ค.ศ. 1906 ตึกเกอเธนนุมที่ 2 ใกล้เมืองบาเซล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ออกแบบโดย รูดอล์ฟ สไตน์เนอร์ ตึกบัทโล (Casa Batllo) โดยแอนโทนี กอดี สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ คือสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะที่เรียกว่า “สมัยใหม่” ซึ่งมิได้หมายถึงวิวัฒนาการล่าสุดของสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมสมัยใหม่มิใช่สถาปัตยกรรมร่วมสมัยแต่เป็นคำที่ใช้บรรยายสิ่งก่อสร้างที่มีองค์ประกอบคล้ายคลึงกันตามคำจำกัดความ ซึ่งโดยทั่วไปคือรูปทรงจะเกลี้ยงเกลาและปราศจากการตกแต่ง ลักษณะนี้เริ่มใช้กันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่โดยทั่วไปแล้วลักษณะเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันก็ยังสรุปกันไม่ได้และยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ สิ่งก่อสร้างตามแบบสมัยไหม่ที่ว่านี้มิได้เริ่มสร้างกันอย่างจริงจังจนกระทั่งครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่าสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อยู่ในชื่อหนังสือโดย ออตโต วากเนอร.
ดู วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมสมัยใหม่
สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน
นีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน China Central Television: CCTV 中国中央电视台) เป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์รายใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีจำนวนทั้งหมด 20 ช่องรายการ และสามารถเข้าถึงผู้ชมประมาณ 1,000 ล้านคน รูปแบบรายการส่วนมากจะผสมผสานกัน ประกอบด้วย สารคดีโทรทัศน์, ละครเบาสมอง, บันเทิง, กีฬา, ละครชุด ที่ส่วนมากจะเป็นแนวชีวิต และแนวประวัติศาสตร์ของประเทศต่างๆ รวมถึงรายการบันเทิง สถานีโทรทัศน์แห่งนี้ มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดสำนักงานโฆษกรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน.
ดู วัฒนธรรมและสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน
สงครามกลางเมือง
งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.
หมึก (สัตว์)
หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.
หมู่บ้านคุ้งตะเภา
หมู่บ้านคุ้งตะเภา หรือ บ้านคุ้งตะเภา เดิมชื่อว่า "ทุ่งบ้านคุ้งตะเภา" เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นหมู่บ้านในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนที่เคยอยู่ในการปกครองของหัวเมืองพิชัยที่เก่าแก่ที่สุดหมู่บ้านหนึ่ง รองจากเมืองฝางสว่างคบุรีที่มีที่ตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนเช่นเดียวกัน หมู่บ้านคุ้งตะเภาเป็นชุมชนคนไทยดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ปลายเหนือสุดของวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน ตัวหมู่บ้านอยู่ติดริมแม่น้ำน่านฝั่งตะวันออก มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสองระดับ โดยพื้นที่ติดริมแม่น้ำน่านจะเป็นที่ระดับต่ำมีชั้นลดจากที่ราบปกติ เดิมตัวหมู่บ้านตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มชั้นลดดินตะกอนแม่น้ำพัดดังกล่าว แต่ในปัจจุบันบ้านเรือนส่วนใหญ่ได้ย้ายขึ้นมาตั้งอยู่บนที่ราบภาคกลางริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 โดยพื้นที่เกษตรกรรมของหมู่บ้านส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ทิศตะวันออกของหมู่บ้านและที่ราบลุ่มตะกอนแม่น้ำพัดริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกของหมู่บ้าน ชาวบ้านคุ้งตะเภาในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายกับหมู่บ้านชนบททั่วไปในแถบภาคกลางตอนบน โดยมีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีอนามัย 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมหลักคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีนายสมชาย สำเภาทอง เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านคุ้งต.
ดู วัฒนธรรมและหมู่บ้านคุ้งตะเภา
หมู่สุสานโคกูรยอ
หมู่สุสานโคกูรยอ (Complex of Goguryeo Tombs) ตั้งอยู่ในประเทศเกาหลีเหนือ โดยสุสานทั้งหมดมี 30 สุสาน ยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก (World Heritage) ในเดือนกรกฎาคม..
ดู วัฒนธรรมและหมู่สุสานโคกูรยอ
หลวงไก่
หลวงไก่ เป็นนักร้องลูกทุ่ง สไตล์ที่เรียกว่าลูกทุ่งเพื่อชีวิตสำเนียงใต้ ที่มีผลงานเพลงออกมาแล้ว 2 ชุด และได้รับการตอบรับจากแฟนเพลงเป็นอย่างดี.
หลักสูตร
หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..
หอวัฒนธรรมนิทัศน์
หอวัฒนธรรมนิทัศน์ ตั้งอยู่ใกล้กับวัดศรีโคมคำ เป็นพิพิธภัณฑ์แสดงโบราณวัตถุเอกสารข้อมูลสำคัญทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดพะเยา เช่น ความเป็นมา วรรณกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และวิถีความเป็นอยู่ของชาวพะเยา โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เปิดให้ชมทุกวัน เวลา 09.00- 16.00 น.
ดู วัฒนธรรมและหอวัฒนธรรมนิทัศน์
หอนาฬิกาซัปโปะโระ
หอนาฬิกาซัปโปะโระ หอนาฬิกาซัปโปะโระในฤดูร้อน (ราวสิ้นเดือนกันยายน) หอนาฬิกาซัปโปะโระ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งเป็นอาคารที่สร้างขึ้นจากไม้ ตั้งอยู่ในเขตจูโอ เมืองซัปโปะโระ เมืองใหญ่ที่สุดของจังหวัดฮกไกโด ทางตอนเหนือของประเทศญี่ปุ่น ออกแบบด้วยศิลปะแบบอเมริกัน เป็นอาคารทรงตะวันตกแห่งหนึ่ง ในจำนวนน้อยที่หลงเหลืออยู่ในเมืองนี้ เป็นที่รู้จักในฐานะสัญลักษณ์ของเมือง และเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว ทั้งในและต่างประเทศแทบทุกคน ซึ่งนาฬิกาบนหอยังคงเดินอย่างเที่ยงตรง และมีเสียงระฆังในทุกชั่วโมง.
ดู วัฒนธรรมและหอนาฬิกาซัปโปะโระ
ห้าเผ่าอารยะ
ตัวแทนของชาวอเมริกันอินเดียนห้าเผ่าที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1775 ถึงปี ค.ศ. 1850 ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า (Five Civilized Tribes) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาห้ากลุ่มที่รวมทั้ง: เชอโรคี, ชิคาซอว์, ชอคทอว์, มัสคีกี (ครีค) และ เซมินโอเล (Seminole) ที่ผู้ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เป็นชาวผิวขาวในสหรัฐอเมริกาในสมัยนั้นถือว่าเป็นเผ่าที่มีวัฒนธรรมเพราะกลุ่มชนเหล่านี้ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาสร้างอาณานิคม และมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนบ้าน กระบวนการในการพยายามเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของกลุ่มชนพื้นเมืองเป็นนโยบายที่เสนอโดยจอร์จ วอชิงตัน และ เฮนรี น็อกซ์ผู้มีความเห็นว่าระบบด้านการสังคมของกลุ่มชนพื้นเมืองเป็นระบบที่ต่ำกว่าของชาวยุโรปผิวขาว เชอโรคีและชอคทอว์ถือว่าเป็นกลุ่มที่ได้รับความสำเร็จที่สุดในการรับวัฒนธรรมยุโรป-อเมริกัน กลุ่มชนพื้นเมืองทั้งห้าตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐก่อนที่จะถูกโยกย้ายไปส่วนต่างๆ ของประเทศโดยเฉพาะในบริเวณที่ต่อมาเป็นรัฐโอคลาโฮมา กลุ่มชนทั้งห้าเผ่านี้ถูกโยกย้ายจากที่ตั้งถิ่นฐานทางตะวันออกของแม่น้ำมิสซิสซิปปีระหว่างช่วงการอพยพเป็นเวลาหลายสิบปีที่ได้รับการอนุมัติตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนไปยังเขตสงวนอินเดียนที่ปัจจุบันคือทางตะวันออกของรัฐโอคลาโฮมา การโยกย้ายที่มีชื่อเสียงที่สุดคือการโยกย้ายบนเส้นทางธารน้ำตาของเชอโรคี (Cherokee removal) ในปี..
อรรถปริวรรตศาสตร์
อรรถปริวรรตศาสตร์ (ภาษาอังกฤษ: Hermeneutics แปลว่าเชิงตีความ) หรือ การตีความความหมาย สามารถมองได้ว่าเป็นทฤษฎีของการตีความและการทำความเข้าใจตัวบท ผ่านทางกระบวนการเชิงประจักษ์ (empirical) แนวทางนี้แตกต่างจากแนวปฏิบัติในการตีความที่เรียกว่านัยวิเคราะห์ ซึ่งพยายามแกะความหมายของตัวบท ขยายความ และเพิ่มเติมอรรถาธิบายของตัวบท ส่วนอรรถปริวรรตศาสตร์นั้น เน้นศึกษากระบวนการที่ทำให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจในผู้สร้างตัวบทนั้นและความสัมพันธ์ระหว่างผู้สร้างกับผู้อ่าน โดยไม่จำกัดว่าจะต้องเป็นในช่วงเวลาเดียวกัน หรือคนละช่วงเวลา การศึกษานี้ทำภายใต้เงื่อนไขของวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ดังนั้นศาสตร์สาขานี้จึงเป็นสาขาย่อยหนึ่งของปรัชญาที่สนใจความเข้าใจของมนุษย์และการตีความตัวบท ในปัจจุบัน ความหมายของคำว่าตัวบทนั้นถูกขยายออกไปจนเกินขอบเขตของเอกสาร งานเขียน โดยยังได้รวมไปถึง คำพูด การแสดง ผลงานศิลปะ หรือกระทั่งเหตุการณ์ คำว่า อรรถปริวรรตศาสตร์ หรือ Hermeneutics นอกวงการวิชาการมักถูกใช้ในความหมายของการตีความพระคัมภีร์ หมวดหมู่:ปรัชญาสังคม หมวดหมู่:วรรณคดีวิจารณ์ หมวดหมู่:ปรัชญาเชิงสังคม หมวดหมู่:ปรัชญา.
ดู วัฒนธรรมและอรรถปริวรรตศาสตร์
อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน
แองโกล-นอร์มัน (Anglo-Norman) คือผู้สืบเชื้อสายจากชาวนอร์มันผู้ปกครองอังกฤษหลังจากที่ได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดีในปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและอังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน
อันดับกบ
กบ เป็นอันดับของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anura (/อะ-นู-รา/) มีรูปร่างโดยรวม คือ เป็นสัตว์ไม่มีหาง เพราะกระดูกสันหลังส่วนหางได้เชื่อมรวมเป็นชิ้นเดียวยาว กระดูกสันหลังลดจำนวนลงมาจากสัตว์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เพราะมีไม่เกิน 9 ปล้อง มีขาหลังยาวจากการยืดของกระดูกทิเบียกับกระดูกฟิบูลาและของกระดูกแอสทรากากัสกับกระดูกแคลลาเนียม โดยมีบางส่วนเชื่อมติดกันและเต็มไปด้วยมัดกล้ามเนื้อแข็งแรง เพื่อใช้ในการกระโดด มีส่วนหัวที่ใหญ่และแบนราบ ปากกว้างมาก กบในระยะวัยอ่อนจะมีลักษณะแตกต่างไปจากตัวเต็มวัยอย่างชัดเจน เรียกว่า "ลูกอ๊อด" โดยมีรูปร่างคล้ายปลา มีส่วนหัวที่โตมาก มีหาง ไม่มีฟัน โดยในส่วนโครงสร้างของจะงอยปากเป็นสารประกอบเคอราติน หายใจด้วยเหงือกเหมือนซาลาแมนเดอร์ พฤติกรรมการกินอาหารของลูกอ๊อดจะแตกต่างกันไป โดยอาจจะกินแบบกรองกิน หรือกินพืช และกินสัตว์ เมื่อเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัยจึงเปลี่ยนลักษณะการกิน รวมทั้งเปลี่ยนสภาพโครงสร้างของอวัยวะระบบย่อยอาหารรวมทั้งระบบอวัยวะอย่างอื่น ซึ่งการเปลี่ยนรูปร่างของกบนั้นจะต่างจากซาลาแมนเดอร์เป็นอย่างมาก การสืบพันธุ์ของกบนั้นมีหลากหลายมาก ส่วนการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นภายนอกตัว โดยทั้ง 2 เพศมีพฤติกรรมกอดรัดกันระหว่างผสมพันธุ์ กบส่วนมากจะป้องกันดูแลไข่ นอกจากบางชนิดเท่านั้นที่เก็บไข่ไว้บนหลัง ที่ขา ในถุงบนหลัง หรือในช่องท้อง หรือบางชนิดวางไข่ติดไว้กับพืชน้ำที่เติบโตในน้ำหรือบนกิ่งไม้ของต้นไม้เหนือน้ำและเฝ้าไข่ไว้ การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นภายในตัวจะพบเพียงกับกบบางชนิดเท่านั้น เช่น Ascaphus truei เป็นต้น และการเจริญของเอมบริโอภายในไข่และวัยอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างเป็นเหมือนตัวเต็มวัยเลย โดยไม่ผ่านขั้นการเป็นลูกอ๊อดเกิดขึ้นกับหลายสกุลในหลายวงศ์ อาทิ สกุล Hemiphractus และStefania เป็นต้น กบ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดมาแล้วราว 200 ล้านปีก่อน และเป็นสัตว์ที่อยู่รอดพ้นมาได้จากการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ที่ทำให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ โดยนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาถึงเรื่องนี้ เชื่อว่า เพราะกบเป็นสัตว์ที่หลบซ่อนตัวอยู่ใต้ดินได้อย่างเป็นดี และเป็นสัตว์ที่ปรับตัวได้ดีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศแบบใหม่ จากการศึกษาพบว่า กบในยุคปัจจุบันราวร้อยละ 88 เป็นกบที่มีที่มาจากอดีตที่สามารถย้อนไปไกลได้ถึง 66–150 ล้านปีก่อน โดยศึกษาจากการตรวจสอบทางพันธุกรรมและเปรียบเทียบระดับยีนและโมเลกุลระหว่างกบในยุคปัจจุบัน และซากดึกดำบรรพ์ของกบในยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยพบว่า กบใน 3 วงศ์ คือ Microhylidae หรืออึ่งอ่าง, Natatanura ที่พบในทวีปแอฟริกา และHyloidea ที่พบในทวีปอเมริกาใต้ เป็นกบที่สืบสายพันธุ์มาจากกบในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และปัจจุบันได้มีการสืบสายพันธุ์และแตกแขนงทางชีววิทยาไปทั่วโลก ปัจจุบัน ได้มีการอนุกรมวิธานกบออกเป็นวงศ์ทั้งหมด 27 วงศ์ ใน 419 สกุล ปัจจุบันพบแล้วกว่า 6,700 ชนิด นับว่าเป็นอันดับที่มีความหลากหลายมากที่สุดของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และก็ยังคงมีการค้นพบชนิดใหม่ขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี ประมาณ 60 ชนิดต่อปี โดยกบส่วนใหญ่จะพบในเขตร้อน โดยใช้หลักการพิจารณาจาก โครงสร้างกระดูก, กล้ามเนื้อขา, รูปร่างลักษณะของลูกอ๊อด และรูปแบบการกอดรัด เป็นต้น.
อันดับด้วง
้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.
อารยธรรม
มือง เป็นสิ่งที่แสดงถึงอารยธรรมมนุษย์ อารยธรรม โดยทั่วไปอาจหมายถึงความเจริญทางวัฒนธรรม แต่สำหรับทางด้านประวัติศาสตร์ อารยธรรม อาจหมายถึงการศึกษาความซับซ้อนของระบบสังคม เพื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆในระบบสังคมนั้นๆ โดยมุ่งเน้นให้เห็นถึงเหตุปัจจัยการเกิดและการล่มสลายของอารยธรรมนั้น รวมถึงอิทธิพลของอารยธรรมนั้นต่ออารยธรรมอื่น.
อารยธรรมอีทรัสคัน
อารยธรรมอีทรัสคัน (Etruscan civilization) เป็นคำใหม่ที่ใช้เรียกอารยธรรมและวิธีการใช้ชีวิตของชนในอิตาลีโบราณและคอร์ซิกาที่ชาวโรมันเรียกว่า “อีทรัสคิ” (Etrusci) หรือ “ทัสคิ” (Tusci) ภาษากรีกแอตติคสำหรับชนกลุ่มนี้คือ “Τυρρήνιοι” (Tyrrhēnioi) ที่แผลงมาเป็นภาษาลาติน “Tyrrhēni” (อีทรัสคัน), “Tyrrhēnia” (อีทรูเรีย (Etruria)) และ “Mare Tyrrhēnum” (ทะเลไทเรเนียน (Tyrrhenian Sea)) ชาวอีทรัสคันเองเรียกตนเองว่า “Rasenna” (ราเซนา) ที่แผลงมาเป็น “Rasna” หรือ “Raśna” (ราซนา) ชาวอีทรัสคันมีภาษาและวัฒนธรรมที่เป็นของตนเองแต่ไม่ทราบที่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ก่อนการก่อตั้งกรุงโรมมาจนกระทั่งกลืนไปกับชาวโรมันโบราณในสาธารณรัฐโรมัน ในจุดที่รุ่งเรืองสูงสุดระหว่าสมัยการก่อตั้งกรุงโรมและราชอาณาจักรโรมันอีทรัสคันประกอบด้วยสามรัฐในสมาพันธรัฐ: ในอีทรูเรีย, ในบริเวณลุ่มแม่น้ำโป (Po Valley) กับทางตะวันออกของเทือกเขาแอลป์ และในบริเวณละติอุมและคัมปาเนีย กรุงโรมเองก็อยู่ในดินแดนที่เป็นของอีทรัสคัน และมีหลักฐานว่าในสมัยแรกของโรมเป็นสมัยที่ครอบคลุมโดยอีทรัสคันจนกระทั่งเวอิอิ (Veii) โจมตีกรุงโรมในปี 396 ก่อนคริสต์ศักราช อารยธรรมที่กล่าวว่าเป็นอารยธรรมอีทรัสคันอย่างแน่นอนวิวัฒนาการขึ้นในอิตาลีหลังจากราวปี 800 ก่อนคริสต์ศักราชในบริเวณที่เป็นอารยธรรมวิลลาโนวัน (Villanovan culture) ของยุคเหล็กก่อนหน้านั้น อารยธรรมอีทรัสคันมาเสื่อมโทรมลงราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสต์ศักราชเมื่อมาได้รับอิทธิพลจากนักการค้าชาวกรีกและเพื่อนบ้านของกรีซกรีซใหญ่ (Magna Graecia), อารยธรรมกรีกทางตอนใต้ของอิตาลี หลังจากปี 500 ก่อนคริสต์ศักราชอำนาจทางการเมืองของอีทรัสคันก็สิ้นสุดลงCary, M.; Scullard, H.
ดู วัฒนธรรมและอารยธรรมอีทรัสคัน
อารยธรรมไมนอส
วนหนึ่งของพระราชวังที่คนอสซอสที่สร้างขึ้นให้เห็นภาพจากการขุดค้นของนักโบราณคดี อารยธรรมไมนอส (Minoan civilization) เป็นวัฒนธรรมของยุคสำริดที่เกิดขึ้นในครีต อารยธรรมไมนอสรุ่งเรืองระหว่างราวศตวรรษที่ 27 จนถึงกลางศตวรรษที่ 15 ก่อนคริสต์ศักราช หลังจากนั้นอารยธรรมไมซีนี (Mycenaean civilization) ก็เข้ามาแทนที่ อารยธรรมไมนอสพบเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยนักโบราณคดีชาวอังกฤษชื่อเซอร์อาร์เธอร์ อีแวนส์ ตามคำกล่าวของวิลล์ ดูรันต์วัฒนธรรมครีตไมนอสมีตำแหน่งในประวัติศาสตร์ว่าเป็น “สิ่งแรกที่เชื่อมวัฒนธรรมยุโรป”.
อาณาจักรล้านนา
อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.
อินทรี
อินทรี เป็นนกจำพวกนกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ ในวงศ์ Accipitridae อันดับ Accipitriformes (วงศ์และอันดับเดียวกับ เหยี่ยว) มีโครงสร้างทางกายภาพที่แข็งแรง ประกอบด้วยโครงกระดูก กล้ามเนื้อ ส่วนต่าง ๆ ขน และกรงเล็บเป็นหลัก จัดอยู่ในประเภทนกที่ล่าเหยื่อเป็นอาหาร มีขนาด ปีก และ หาง ที่กว้าง ลักษณะปลายปีกแหลมหรือปีกแตก จะงอยปากงองุ้มเป็นตะขอ อินทรีเป็นนกที่มีลักษณะสวยงาม แข็งแรง สายตาคม บินเร็ว โจมตีแม่นยำ มองเห็นเป้าหมายได้จากระยะไกล มีเพดานบินตั้งแต่พื้นราบจนถึงความสูง 2,100 เมตร และจัดได้ว่าเป็นสัตว์ที่มีสายตาดีที่สุดในโลก อีกทั้งยังถือเป็นนกหรือสัตว์ปีกที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีอายุได้มากถึง 70 ปี ส่วนใหญ่จะมีสีเข้มและสร้างรังบนหน้าผาที่สูงชัน อินทรีเป็นนกที่มีขนาดใหญ่และแข็งแรง เป็นนกที่กินเนื้อเป็นอาหาร ซึ่งได้แก่ ปลา, งู, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็กเช่น หนู และเป็นนกนักล่าซึ่งล่านกด้วยกัน และไข่นกที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร อินทรีพบอาศัยกระจัดกระจายอยู่ตามพื้นที่เขตต่าง ๆ ทั่วทุกแห่งในโลก ยกเว้นพื้นที่ในทวีปแอนตาร์กติก ที่มีอากาศหนาวเย็น ในประเทศไทย มีอินทรีอยู่ด้วยกันจำนวนหนึ่ง อาทิ นกออก (Haliaeetus leucogaster), อินทรีหัวนวล (H.
อีเลียด
ปกมหากาพย์ ''อีเลียด'' เชื่อว่าพิมพ์ในปี ค.ศ. 1572 อีเลียด (Ἰλιάς Ilias; Iliad) เป็นหนึ่งในสองบทกวีมหากาพย์กรีกโบราณของโฮเมอร์ ซึ่งเล่าเรื่องราวของสงครามเมืองทรอยในช่วงปีที่สิบอันเป็นปีที่สิ้นสุดสงคราม เชื่อกันว่า อีเลียด ถูกแต่งขึ้นในช่วงศตวรรษที่แปดก่อนคริสตกาล นักวิชาการหลายคนเชื่อว่า บทกวีเรื่องนี้เป็นวรรณกรรมที่เก่าแก่ที่สุดในภาษากรีกโบราณ จึงถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นแรกของยุโรป แม้จะมีชื่อผู้ประพันธ์ปรากฏเพียงคนเดียว แต่จากลักษณะของบทกวีที่บอกเล่าสืบต่อกันมาแบบปากเปล่ารุ่นต่อรุ่น จึงมีความเป็นไปได้ว่ามีผู้ประพันธ์มากกว่าหนึ่งคน เรื่องราวในบทกวีบรรยายถึงเหตุการณ์ในปีที่สิบซึ่งเป็นปีสุดท้ายของเหตุการณ์ที่ชาวกรีกบุกยึดนครอีเลียน หรือเมืองทรอย คำว่า "อีเลียด" หมายถึง "เกี่ยวกับอีเลียน" (ภาษาละตินเรียก อีเลียม (Ilium)) อันเป็นชื่อเรียกส่วนนครหลวง ซึ่งแตกต่างกับ ทรอย (Truva; Τροία, Troía; Troia, Troiae) อันหมายถึงนครรัฐที่อยู่ล้อมรอบอีเลียม แต่คำทั้งสองคำนี้มักใช้รวมๆ กันหมายถึงสถานที่แห่งเดียวกัน.
องคชาตของมนุษย์
องคชาตของมนุษย์เป็นอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายนอก และยังทำหน้าที่เป็นท่อปัสสาวะ มีส่วนหลักคือ ส่วนราก (Root / Radix) ส่วนลำตัว (Corpus) และส่วนเนื้อเยื่อบุผิวขององคชาต รวมถึงหนังบริเวณก้าน และหนังหุ้มปลายซึ่งห่อหุ้มส่วนหัวขององคชาต (Glans) ด้วย ส่วนลำตัวขององคชาตเกิดจากเนื้อเยื่อสามต้น ประกอบด้วยกล้ามเนื้อคอร์ปัส คาเวอร์โนซัม (Corpus cavernosum) สองมัดที่ด้านบน และกล้ามเนื้อคอร์ปัส สปอนจิโอซัม (Corpus spongiosum) ซึ่งอยู่ระหว่างกลางของกล้ามเนื้อส่วนแรก ท่อปัสสาวะของมนุษย์เพศชายจะผ่านกลางต่อมลูกหมาก ที่ซึ่งเชื่อมกับท่อฉีดอสุจิ และจากนั้นจะผ่านไปที่องคชาต โดยท่อปัสสาวะจะทอดตัวข้ามกล้ามเนื้อคอร์ปัส สปอนจิโอซัม และออกสู่รูเปิดบริเวณรูปัสสาวะ (Meatus) ซึ่งตั้งอยู่บริเวณปลายของส่วนหัวองคชาต โดยทำหน้าที่เป็นทางผ่านของทั้งปัสสาวะและการหลั่งของน้ำอสุจิ การพัฒนาขององคชาตโดยส่วนใหญ่จะมาจากเนื้อเยื่อเดียวกันในตัวอ่อน เช่นเดียวกับคริตอริสของเพศหญิง ผิวหนังโดยรอบขององคชาตและท่อปัสสาวะ ก็มาจากเนื้อเยื่อตัวอ่อนเดียวกันกับที่จะพัฒนาไปเป็นแคมเล็กของเพศหญิง การแข็งตัวคือการแข็งและสูงขึ้นขององคชาต ซึ่งจะเกิดขึ้นในขณะมีอารมณ์ทางเพศ แต่ก็ยังสามารถเกิดขึ้นในขณะที่ไม่มีอารมณ์ทางเพศได้เช่นกัน รูปแบบการเปลี่ยนแปลงส่วนหัวองคชาตที่พบได้บ่อยที่สุดคือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ โดยเป็นการนำส่วนหนึ่ง หรือทั้งหมดของหนังหุ้มปลายออกไปด้วยเหตุผลทางวัฒนธรรม ศาสนา และไม่บ่อยนักด้วยเหตุผลทางการแพทย์ ซึ่งยังมีการถกเถียงกันในเรื่องของการขลิบหนังหุ้มปลายโดยรอบ ขณะที่ผลจากการศึกษาที่แตกต่างกัน ความคิดเห็นส่วนใหญ่ระบุว่าขนาดขณะแข็งตัวขององคชาตโดยความยาวอยู่ที่ประมาณ 12.9–15 ซม.
องค์การนานารัฐอเมริกัน
องค์การนานารัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือย่อว่า OAS) เป็นองค์การระหว่างประเทศของหน่วยงานต่างๆ ในอเมริกาตามกฎบัตรสหประชาชาติ ที่ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู วัฒนธรรมและองค์การนานารัฐอเมริกัน
อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
ร.อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ปริญญาโท (ภาษาบาลี) และปริญญาเอก (ภาษาไทย) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล หรือ ดร.อนันต์ มีความรู้ ความสนใจพิเศษในภาษาตะวันออกหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี, สันสกฤต, ภาษาจีน, ภาษาเขมร, ภาษามลายู โดยเฉพาะในส่วนที่สัมพันธ์กับภาษาไทย และมีความสนใจศึกษาถึงวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ชาวอินเดีย, ชาวไท มีผลงานด้านวิชาการที่เป็นการอธิบายศัพท์และสำนวนภาษาต่าง ๆ ซึ่งได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นระดับชาติ ประจำปี พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
อนารยชน
นักรบเจอร์มานิค” โดย ฟิลิปป์ คลือเวอร์ (Philipp Clüver) ใน “Germania Antiqua” (ค.ศ.1616) อนารยชน (barbarian) เป็นคำที่มีความหมายในทางเหยียดหยามสำหรับผู้ที่ถือกันว่าไม่มีวัฒนธรรมที่อาจจะเป็นการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงกลุ่มชนในชาติหรือกลุ่มชาติพันธุ์ (Ethnic group) โดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงกลุ่มชนที่มีลักษณะเป็นเผ่าพันธ์ (tribal society) จากมุมมองของวัฒนธรรมเมืองที่เห็นว่าเป็นวัฒนธรรมที่ด้อยกว่าหรือชื่นชมว่าเป็นคนเถื่อนใจธรรม (noble savage) เมื่อใช้เป็นสำนวน “อนารยชน” ก็อาจจะหมายถึงผู้ที่เป็นคนทารุณ, โหดร้าย, นิยมสงคราม และไร้ความรู้สึกต่อผู้อื่น การใช้คำว่า “อนารยชน” มาจากวัฒนธรรมกรีก-โรมันแต่คำทำนองเดียวกันก็พบในวัฒนธรรมอื่นๆ ด้ว.
อนุสัญญาแรมซาร์
ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.
อเมริกันอันตราย
อเมริกันอันตราย (The Ugly American) เป็นนวนิยายเชิงการเมืองในปี..
ฮิวแมนเวปปอน
วแมนเวปปอน (Human Weapon) เป็น รายการทีวีรายสัปดาห์ ออกอากาศทางช่อง "เดอะฮิสทรีแชนแนล" (The History Channel) โดยพิธีกรรายการ (เจสัน แชมเบอส์ กับ บิล ดัฟฟ์) ซึ่งจะเดินทางไปยังประเทศ หรือภูมิภาคที่เป็นแหล่งกำเนิดของศิลปะการต่อสู้ เพื่อนำเสนอประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของประเทศหรือภูมิภาค ผ่านศิลปะการต่อสู้ พิธีกรได้ตระเวนฝึกฝนศิลปะการต่อสู้จากอาจารย์ที่เชี่ยวชาญแต่ละด้าน และสุดท้าย หนึ่งในพิธีกร (หรือบางครั้งอาจจะทั้งสองคน) ก็จะต่อสู้กับนักสู้ผู้เชี่ยวชาญศิลปะการต่อสู้เจ้าถิ่น จุดเด่นอย่างหนึ่งของรายการคือ การนำเอาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ มาช่วยแสดงเทคนิคในด้านของการกระทำ แรง และผลกระทบ ซึ่งช่วยอธิบายประสิทธิภาพ และการทำงาน ของเทคนิคต่างๆของศิลปะการต่อสู้ในเชิงวิทยาศาสตร.
ฮิเดะโอะ ซะซะกิ
อะ ซะซะกิ ฮิเดะโอะ ซะซะกิ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 – 30 สิงหาคม พ.ศ. 2543) ภูมิสถาปนิกชาวอเมริกันเชื้อสายญี่ปุ่นผู้มีชื่อเสียง ผู้บุกเบิกแนวทางการออกแบบเชิงสหสาขาและนักการศึกษ.
ผลงานของวอลแตร์
ผลงานของวอลแตร์สามารถจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้.
ผู้บริหาร
ผู้บริหาร (executive) มี 3 แบบด้วยกันคือ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับล่าง.
ผู้หญิงผมทอง ฟัดหัวใจให้โลกตะลึง
ผู้หญิงผมทอง ฟัดหัวใจให้โลกตะลึง ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮ่องกงเรื่อง Chungking Express (อักษรจีนตัวย่อ: 重庆森林; อักษรจีนตัวเต็ม: 重慶森林; พินอิน: Chóngqìng Sēnlín) ออกฉายในปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและผู้หญิงผมทอง ฟัดหัวใจให้โลกตะลึง
ผีเสื้อ (แมลง)
ผีเสื้อ (ภาษาไทยถิ่นเหนือ: แมงก่ำเบ้อ) เป็นแมลงทุกชนิดในอันดับเลพิดอปเทรา (Lepidoptera) มีวงชีวิตเริ่มแรกตั้งแต่ระยะไข่ ระยะหนอน ระยะดักแด้ ตราบจนระยะการเปลี่ยนสัณฐานเข้าสู่ระยะการโตเต็มวัยที่มีปีกหลากสีต้องตาผู้คน ในทางกีฏวิทยาการจัดจำแนกแมลงกลุ่มนี้จะใช้เส้นปีกในการจัดจำแนก.
จริยธรรมแพทย์
ริยธรรมแพทย์ (medical ethics) เป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์ (applied ethics) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาจริยศาสตร์ (Ethics) ในวิชาปรัชญา (Philosophy) วิชานี้นำเสนอวิธีปฏิบัติบนพื้นฐานหลักจริยธรรมว่าแพทย์และพยาบาลควรปฏิบัติต่อคนใข้อย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม แต่ละประเทศก็จะมีองค์ความรู้ในสาขานี้แตกต่างกันบ้าง เหมือนกันบ้าง องค์ความรู้ที่ตกผลึกในสังคมตะวันตกนั้น ได้แนะนำให้ผู้อยู่ในสาขาแพทย์และพยาบาลปฏิบัติต่อผู้ป่วยดังต่อไปนี้.
จักรวรรดิ
ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..
จังหวัดสกลนคร
กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).
จิตรกรรมไทย
ตรกรรมไทย หมายถึง ภาพเขียนที่มีลักษณะเป็นแบบอย่างของไทยที่แตกต่างจากศิลปะของชนชาติอื่นอย่างชัดเจน ถึงแม้จะมีอิทธิพลศิลปะของชาติอื่นอยู่บ้าง แต่ก็ดัดแปลง คลี่คลาย ตัดทอน หรือเพิ่มเติมจนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเองได้อย่างสวยงามลงตัว มีวิวัฒนาการทางด้านรูปแบบและวิธีการมาตลอดจนถึงปัจจุบัน ซึ่งสามารถพัฒนาต่อไปอีกในอนาคต จิตรกรรมไทยเป็นลักษณะอุดมคติ เป็นภาพ 2 มิติ โดยนำสิ่งใกล้ไว้ตอนล่างของภาพ สิ่งไกลไว้ตอนบนของภาพ ใช้สีแบบเอกรงค์ คือ ใช้หลายสี แต่มีสีที่โดดเด่นเพียงสีเดียว ลายไทย เป็นส่วนประกอบของภาพเขียนไทยใช้ตกแต่งอาคาร สิ่งของ เครื่องใช้ ต่าง ๆ เครื่องประดับ ฯลฯ เป็นลวดลายที่มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันซึ่งนำเอารูปร่างจาก ธรรมชาติมาประกอบ เช่น ลายกระหนก ลายกระจัง ลายประจำยาม ลายเครือเถา เป็นต้น หรือเป็นรูปที่มาจากความเชื่อและคตินิยม เช่น รูปคน รูปเทวดา รูปสัตว์ รูปยักษ์ เป็นต้น จิตรกรรมไทย เป็นวิจิตรศิลป์อย่างหนึ่ง ซึ่งส่งผลสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ มีคุณค่าทางศิลปะและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า มีเรื่องที่เกี่ยวกับ ศาสนา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรมการแต่งกาย ตลอดจนการแสดงการเล่นพื้นเมืองต่าง ๆ ของแต่ละยุคสมัยและสาระอื่น ๆ ที่ประกอบกันเป็นภาพจิตรกรรมไทย วิวัฒนาการของงานจิตรกรรมไทย แบ่งออกตามลักษณะรูปแบบทางศิลปกรรมที่ปรากฏในปัจจุบันมีอยู่ 2 แบบ คือ.
จิ้งหรีด
้งหรีด หรือ จังหรีด (Cricket; วงศ์: Gryllidae) เป็นแมลงจำพวกหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Gryllidae ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยต่าง ๆ อีกจำนวนหนึ่ง (ดูในตาราง) จิ้งหรีดถือเป็นแมลงที่มีขนาดลำตัวปานกลางเมื่อเทียบกับแมลงโดยทั่วไป มีปีก 2 คู่ คู่หน้าเนื้อปีกหนากว่าคู่หลัง ปีกเมื่อพับจะหักเป็นมุมที่ด้านข้างของลำตัว ปีกคู่หลังบางพับได้แบบพัดสอดเข้าไปอยู่ใต้ปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน หัวกับอกมีขนาดกว้างไล่เลี่ยกัน ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรงใช้สำหรับกระโดด ตัวผู้มีอวัยวะพิเศษสำหรับทำเสียงเป็นฟันเล็ก ๆ อยู่ตามเส้นปีกบริเวณกลางปีก ใช้กรีดกับแผ่นทำเสียงที่อยู่บริเวณท้องปีกของปีกอีกข้างหนึ่ง อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันดีของจิ้งหรีด ขณะที่ตัวเมียจะไม่สามารถทำเสียงดังนั้นได้ และจะมีอวัยวะสำหรับใช้วางไข่เป็นท่อยาว ๆ บริเวณก้นคล้ายเข็ม เห็นได้ชัดเจน จิ้งหรีดสามารถพบได้ในทั่วโลก โดยเฉพาะในเขตร้อนชื้น พบแล้วประมาณ 900 ชนิด ในประเทศไทยก็พบได้หลายชนิด จิ้งหรีดเป็นแมลงที่กัดกินพืชชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร สามารถกินได้หลายชนิด มักออกหากินในเวลากลางคืน มักจะอาศัยโดยการขุดรูอยู่ในดินหรือทราย ในที่ ๆ เป็นพุ่มหญ้า แต่ก็มีจิ้งหรีดบางจำพวกเหมือนกันที่อาศัยบนต้นไม้เป็นหลัก สำหรับในประเทศไทย พบจิ้งหรีดได้ทั่วทุกภูมิภาค ชนิดของจิ้งหรีดที่พบ ได้แก่ จิ้งหรีดทองดำ (Gryllus bimaculatus), จิ้งหรีดทองแดง (G.
จิ้งหรีดทองดำ
้งหรีดทองดำ (House cricket, African cricket, Mediterranean field cricket, Two-spotted cricket) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง จำพวกจิ้งหรีด (Gryllidae) มีรูปร่างสั้น หัวกลม หนวดยาวแบบเส้นด้าย ลำตัวมีสีดำ ขาสีดำสนิท มีจุดเด่นคือ จุดสีเหลืองบริเวณโคนปีก 2 จุด มีปากแบบกัดกิน ส่วนปีกมีความยาว เท่ากับส่วนท้อง ขาหลังใหญ่แข็งแรง และกระโดดได้เก่ง ตัวผู้ทำเสียงโดยใช้ขอบปีกคู่หน้าที่มีรอยหยักเห็นชัดเจนสีกัน มีอวัยวะฟังเสียงอยู่ที่ขาคู่หน้า ตัวเมียมีอวัยวะวางไข่ยาวเท่ากับความยาวของลำตัว ไม่สามารถทำเสียงได้ เพราะขอบปีกไม่มีรอยหยัก ปกติขุดรูอาศัยตามทุ่งหญ้า ออกหากินในเวลากลางคืน ชอบเล่นแสงไฟ กินรากไม้และกล้าอ่อนเป็นอาหาร สามารถกัดกินพืชได้แทบทุกชนิด แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยตัวเมียจะใช้ท่อวางไข่ปักลงในดิน ลูกจิ้งหรีดเมื่อแรกเกิด ตัวจะสีขาวกว่าตัวเต็มวัย และจะยังไม่มีปีก จนกว่าจะลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย ระยะที่ไข่ฟักเป็นตัวตั้งแต่ 10-17 วัน ตามแต่ฤดูกาล จิ้งหรีดทองดำ นับเป็นจิ้งหรีดชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง เพื่อฟังเสียงร้อง และนำมากัดต่อสู้กัน นิยมกันในหลายวัฒนธรรมของหลายประเทศ ทั้ง ยุโรป, จีน, ญี่ปุ่น หรือไทย ปัจจุบัน มีการนำมาบริโภคกันทั้งทอด, คั่ว หรือเป็นอาหารสัตว์แก่สัตว์เลี้ยงชนิดต่าง ๆ เช่น ปลาอะโรวาน่า, แมงมุม, แมงป่อง, สัตว์เลื้อยคลาน จึงมีการส่งเสริมการเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐก.
จุฬาราชมนตรี
ฬาราชมนตรี เป็นผู้นำกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย และเป็นตำแหน่งฝ่ายมุสลิมให้ข้อปรึกษาด้านศาสนาอิสลามแก่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะแก่กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงวัฒนธรรม มีประวัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในทำเนียบศักดินาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทำเนียบตำแหน่งขุนนาง ซึ่งในชั้นหลังเรียกว่า "กรมท่าขวา" มี "พระจุลาราชมนตรี" เป็นหัวหน้าฝ่ายแขก คู่กับ "หลวงโชฎึกราชเศรษฐี" หัวหน้าฝ่ายจีน.
จุดผลิตน้ำมันสูงสุด
กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร.
ดู วัฒนธรรมและจุดผลิตน้ำมันสูงสุด
จูเลี่ยม กิ่งทอง
250px จูเลี่ยม กิ่งทอง หรือ จูเลี่ยม มีแก้ว นายหนังตะลุงนามกระเดื่องทั่วภาคใต้ เกิดเมื่อปี..
ดู วัฒนธรรมและจูเลี่ยม กิ่งทอง
จูเดโอ-คริสเตียน
“อาดัมและเอวาถูกขับจาก สวนเอเดน” โดย กุสตาฟว์ ดอเร (Gustave Doré) (ค.ศ. 1832-1883), เรื่อง“จูเดโอ-คริสเตียน” ของมนุษย์ชาย-หญิงคนแรกและความเชื่อเรื่องปฐมบาป (Original sin) จูเดโอ-คริสเตียน (Judeo-Christian หรือ Judaeo-Christian หรือ Judæo-Christian) เป็นคำที่ใช้บรรยายมโนทัศน์ หรือ แนวความคิดหรือค่านิยมที่เป็นของศาสนายูดาห์และต่อมามาปรับใช้ในศาสนาคริสต์ ที่บางความคิดเห็นมีส่วนเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมคลาสสิกกรีก-โรมันซึ่งเป็นรากฐานของกฎบัตร/กฎหมายต่างๆ และค่านิยมทางจริยธรรมของตะวันตก โดยเฉพาะคำนี้จะมาจากความเชื่อที่มีรากฐานมาจากพันธสัญญาเดิม หรือคัมภีร์ทานัค (Tanak) (อันเป็นพื้นฐานของจริยธรรม และโดยเฉพาะที่มาจากบัญญัติ 10 ประการ) ซึ่งเป็นแสดงถึงความเชื่อร่วมกันที่วิวัฒนาการมาเป็นวัฒนธรรมตะวันตกในปัจจุบัน คำนี้ได้รับการวิจารณ์ว่าเป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมของวัฒนธรรมทั้งสองที่มากไปกว่าที่มีจริงๆ (เปรียบเทียบระหว่าง เอบิออนไนท์ (Ebionite) และ จูไดเซอร์ (Judaizer).
ดู วัฒนธรรมและจูเดโอ-คริสเตียน
ธัชวิทยา
งของ ''Fédération internationale des associations vexillologiques''. ธัชวิทยา (vexillology) คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธง ชื่อวิชา Vexillology เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
ถนนคนเดิน
นนคนเดิน (Pedestrian mall) เป็นการใช้พื้นที่ถนนสำหรับการจัดกิจกรรม อาจมีการปิดการจราจรชั่วคราว หรือถาวร เพื่อให้คนเดินเท้าสามารถใช้พื้นที่ถนนในการทำกิจกรรมต่างๆได้ เช่น เป็นที่จัดงานทางด้านวัฒนธรรม การแสดง ขายสินค้า ขายอาหาร งานพาเรด ตัวอย่างถนนที่มีการจัดเป็นถนนคนเดินในกรุงเทพฯ เช่น ถนนสีลม, ถนนข้าวสาร, ถนนพระอาทิตย์, ถนนพระจันทร์, ซอยประชานฤมิตร (ตรอกข้าวหลาม), ถนนเยาวราช, ถนนราชดำเนิน, ฯลฯ นอกจากกรุงเทพแล้ว ต่างจังหวัดยังมีถนนคนเดินอีกเป็นจำนวนมาก เช่น.
ถ้ำซ็อกกูรัมและวัดพุลกุกซา
้ำซ็อกกูรัมและวัดพุลกุกซา คือหนึ่งในแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในจังหวัดคย็องซังเหนือ ประเทศเกาหลีใต้ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าคย็องด็อกแห่งราชอาณาจักรชิลลา ราวคริสต์ศตวรรษที่ 7.
ดู วัฒนธรรมและถ้ำซ็อกกูรัมและวัดพุลกุกซา
ทฤษฎีสมคบคิด
ทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy Theory) คือ เรื่องเล่า บทความที่สร้างขึ้นมาจากความคิดของคน หรือกลุ่มคน โดยนำเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาปะติดปะต่อเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจมีวัตถุประสงค์ซ่อนเร้นอื่นๆเพื่อให้ประโยชน์/ให้โทษต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลหนึ่งใด หรืออธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ลักษณะของทฤษฎีสมคบคิดโดยทั่วไปมีข้อเท็จจริงประกอบอยู่เพียงเล็กน้อย หรือส่วนหนึ่ง เพียงเพื่อเสริมให้เกิดความน่าเชื่อถือว่ามีหลักฐานสนับสนุนที่ดูเหมือนเกี่ยวข้องกันเท่านั้น อาจมีเหตุผลสนับสนุนจากความเชื่อส่วนบุคคล ความเชื่อเกี่ยวกับทางศาสนา การเมือง หรือวัฒนธรรมที่แตกต่างไป เรื่องเหล่านี้นักวิชาการจะไม่ใช้อ้างอิง ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณก่อนที่จะเชื่อเรื่องนั้นๆ ประเทศสหรัฐอเมริกามีหน่วยงานที่จะดูแล และกลั่นกรองเรื่องเหล่านี้โดยเฉพาะ เดิมพบได้ในคอลัมน์เล็กๆ ของหนังสือพิมพ์ประเภทแทบลอยด์ในต่างประเทศ ปัจจุบันพบได้มากในฟอร์เวิร์ดเมล เว็บไซต์ส่วนบุคคล และบล็อกต่าง.
ทวีปยูเรเชีย
ทวีปยูเรเชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรป กับทวีปเอเชียเข้าด้วยกัน โดยเส้นแบ่งของทวีปยุโรปกับเอเชียคือเทือกเขายูราล คำนี้ส่วนใหญ่จะใช้พูดถึงกับเรื่องในประวัติศาสตร์เมื่อครั้งโลกหลายร้อยล้านปีที่ทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียยังติดกัน ทวีปนี้ขยายตัวมาจากมหาทวีปพันเจีย โดยมีทวีปต่างๆที่แยกตัวออกมาคือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ (แยกออกมาจากทวีปแอฟริกา) ทวีปยูเรเชีย เกาะอินเดีย ออสเตรเลีย และขั้วโลกใต้ โดยที่ทวีปยูเรเชียนั้น ในปัจจุบันเรามักจะเรียกว่า ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย มากกว่าที่จะเรียกว่า ยูเรเชีย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากที่ การเรียกอย่างนี้จะทำให้เกิดการสับสนว่าเป็น ทวีปใดกันแน่ ทั้งวัฒนธรรม การเมือง ประเพณี ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ วิถีชีวิต อาหารการกิน ยังแตกต่างกันด้วย นอกจากเราจะยังพูดถึงโลกล้านปีแล้ว การที่ทวีปเอเชียและทวีปยุโรป ติดกันตรงพรมแดนของประเทศจีน-ประเทศรัสเซีย เป็นต้น เป็นเสมือนเกาะใหญ่ และการคมนาคม ประวัติศาสตร์ยังคล้ายคลึงกันอีกด้วย เราจึงยังจะคงเรียกอยู.
ทะเลสาบสงขลา
ทะเลสาบสงขลา หรือ ทะเลสาบพัทลุง หรือ ทะเลสาบลำปำ (ชื่อที่เรียกในเขตจังหวัดพัทลุง) เป็นทะเลสาบแห่งเดียวในประเทศไทยที่อยู่ติดกันถึง 3 จังหวัด มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ จังหวัดพัทลุง ในเขตอำเภอเมืองพัทลุง อำเภอปากพะยูน อำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสนและอำเภอควนขนุน, จังหวัดสงขลา ในเขตอำเภอระโนด อำเภอสทิงพระ อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสิงหนคร อำเภอเมืองสงขลา อำเภอควนเนียง อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ทะเลสาบสงขลาตอนล่างมีเกาะขนาดใหญ่อยู่เกาะหนึ่ง คือ เกาะยอ และมีเกาะต่าง ๆ อีก ที่เป็นแหล่งสัมปทานเก็บรังนก คือ เกาะสี่ เกาะห้.
ทัชชกร ยีรัมย์
ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..
ทุติยเพ็ญ
วงจันทร์สีน้ำเงิน ทุติยเพ็ญ หรือบลูมูน (blue moon) คือดวงจันทร์เต็มดวงที่มีกำหนดเวลาเกิดไม่แน่นอน โดยส่วนใหญ่ในแต่ละปีจะมีดวงจันทร์เต็มดวง 12 ครั้ง เฉลี่ยเกิดประมาณเดือนละหนึ่งครั้ง แต่ถ้าคิดเฉพาะระยะเวลาที่เกิดดวงจันทร์เต็มดวง 12 ครั้ง (รอบ) ในหนึ่งปีของปฏิทินตามระบบสุริยคติจะมีจำนวนวันมากกว่าประมาณ 11 วัน ซึ่งเมื่อนำมาสะสมรวมกัน จะทำให้ทุกสองหรือสามปีมีดวงจันทร์เต็มดวงเพิ่มขึ้นหนึ่งครั้ง (กล่าวคือจะเกิดขึ้น 2.71722874 ปี) ดวงจันทร์เต็มดวงที่เพิ่มขึ้นมานี้เรียกว่า “ดวงจันทร์สีน้ำเงิน" แต่เนื่องจากมีการนิยามความหมายของดวงจันทร์ “ที่เพิ่มขึ้นมานี้" ต่างกัน จึงทำให้การกำหนดวันที่เกิดดวงจันทร์นี้ต่างกัน โดยส่วนใหญ่ดวงจันทร์สีน้ำเงินหมายถึงดวงจันทร์เต็มดวงที่เกิดครั้งที่สองของเดือน.
ทุนทางสังคม
ทุนทางสังคม (Social Capital) เป็นคำอธิบาย “ทุน” ในลักษณะใหม่ที่ไม่ใช่เพียงทุนทางเศรษฐกิจที่มุ่งหวังในการทำกำไรหรือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตัวเอง แต่ทุนทางสังคมมีลักษณะเป็นผลประโยชน์หรือต้นทุนส่วนรวมที่มาจากการช่วยเหลือและความร่วมมือกันระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่มต่างๆในสังคม (Putnum, 2000) โดยธนาคารโลก (World Bank) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ สถาบัน ระบบ ความสัมพันธ์และบรรทัดฐานการปฏิบัติ (norm) ที่นำมาซึ่งปฏิสัมพันธ์ของสังคมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เน้นถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกันไม่ใช่สถาบันหรือตัวบุคคลโดดๆ หรือจำนวนรวมกัน อีกทั้งองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ การเชื่อมโยงของบุคคลเป็นเครือข่ายทางสังคมบนพื้นฐานความเชื่อถือ ไว้วางใจซึ่งกันและกัน (trust) และมีมาตรฐานในการทำงานร่วมกัน.
ท้อ
ลูกท้อ (桃; Peach; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus persica) เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน จัดเป็นไม้พุ่มผลัดใบ อยู่ในสกุล Prunus อันเป็นสกุลเดียวกันกับ ซากุระ, บ๊วย, เชอร์รี่ หรือนางพญาเสือโคร่ง ท้อจัดเป็นไม้เมืองหนาวที่จะขึ้นได้ดีในที่ ๆ มีความสูงตั้งแต่ 3,000 ฟุตขึ้นไป อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 10 องศาเซลเซียส ทนแล้งได้ดี เป็นไม้ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบจัก ดอกเดี่ยว มักออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรืออาจเป็นสีแดง หรือชมพู ดอกจะแตกออกมาก่อนใบ ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยว มีขนปกคลุมทั่วบริเวณผิว ท้อนับเป็นผลไม้ที่ใช้ประโยชน์ในการรับประทานมาอย่างยาวนาน และได้รับความนิยมไปทั่วโลก นอกจากนี้แล้วในวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ จะมีท้อเข้ามาร่วมอยู่ด้วย ได้แก่ ชาวจีนมีความเชื่อว่า ท้อเป็นสัญลักษณ์ของการมีอายุยืนยาว และเกี่ยวข้องกับการกับการป้องกันสิ่งชั่วร้าย ถ้าดอกท้อของบานในระหว่างการฉลองวันปีใหม่ หมายถึง ปีต่อไปจะเป็นปีของโชคลาภ และดอกท้อยังใช้ประดับตกแต่งภายในบ้านเพื่อความเป็นสิริมงคล ป้องกันสิ่งชั่วร้ายอีกด้วย นอกจากนี้แล้วในสมัยโบราณ การเขียนป้ายคำอวยพรก็นิยมเขียนลงไม้ที่ทำมาจากต้นท้อ ในนิทานพื้นบ้านของญี่ปุ่น โมโมทาโร่ (桃太郎) ซึ่งเป็นเด็กชายที่มีพละกำลังมากมายและเป็นผู้นำในการปราบปีศาจ ก็กำนิดมาจากลูกท้อ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทย ท้อมีการนำเข้ามาปลูกในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น โครงการหลวง โดยมีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มะฟุ้ง, มักม่น, มักม่วน, หุงคอบ, หุงหม่น เป็นต้น.
ขรัวอินโข่ง
ตรกรรมฝาผนังโดยขรัวอินโข่ง ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 (ไม่ปรากฏวันเดือนปีเกิด) ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินในสมณเพศ ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบปริศนาธรรม ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิว.
ขอม
อม เป็นชื่อทางวัฒนธรรม ไม่ใช่ชื่อชนชาติ หมายถึงคนกลุ่มหนึ่งที่อยู่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ทางใต้ของแคว้นสุโขทัย อาจจะหมายถึงพวก ละโว้ (หรือ ลพบุรี) เอกสารทางล้านนา เช่น จารึกและตำนานต่างๆ ล้วนระบุสอดคล้องกันว่าขอมคือพวกที่อยู่ทางใต้ของล้านนา(ในสมัยอาณาจักรสุโขทัย) เนื่องจากคำว่า ขอม สัญนิษฐานว่ามาจากคำว่า “เขมร”+”กรอม” (ที่แปลว่าใต้) พูดเร็วๆ กลายเป็น “ขอม” พวกนี้ตัดผมเกรียน และนุ่งโจงกระเบน กินข้าวเจ้า ฯลฯ แคว้นละโว้มีชื่อในตำนาน และพงศาวดารว่า กัมโพช เลียนอย่างชื่อ กัมพูชา ของเขมร นับถือทั้งฮินดูและพุทธมหายาน อาจารย์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยเขียนอธิบายไว้ว่า ขอมเป็นพวกนับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ใครเข้ารีตเป็นฮินดู หรือพุทธมหายาน เป็นได้ชื่อว่า ขอม ทั้งหมด ขอมไม่ใช่ชื่อชนชาติ เพราะไม่มีชนชาติขอม แต่เป็นชื่อทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ สยาม.
ดอกไม้ไฟ
ลุแสดงแสงสีต่างๆในท้องฟ้า ดอกไม้ไฟ หรือ พลุ (Feuerwerk;Feu d'artifice;Fireworks) เป็นอุปกรณ์ในหมวดหมู่วัตถุระเบิดชนิดหนึ่ง ลักษณะของพลุประกอบด้วย เสียง แสง ควัน และเถ้า พลุถูกออกแบบให้เผาไหม้และจุดระเบิดที่แสงสีต่างๆ พลุถูกใช้ในเกือบทุกประเทศทั่วโลก เชื่อกันว่าชาวจีนเป็นผู้ค้นคิดพลุและดอกไม้ไฟก่อนชาติอื่นๆ (อันเป็นผลสืบเนื่องจากการประดิษฐ์คิดค้นดินปืนของชาติจีนนั่นเอง) เพื่อใช้ในงานรื่นเริง เช่น วันตรุษจีน หรือวันสารทจีน และยังนิยมใช้สืบมาจนปัจจุบัน.
ดาวทะเล
วทะเล หรือ ปลาดาว เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง ที่อยู่ในชั้น Asteroidea ลักษณะทั่วไป มีลำตัวแยกเป็นห้าแฉกคล้ายรูปดาวเรียกว่า แขน ส่วนกลาง มีลักษณะเป็นจานกลม ด้านหลังมีตุ่มหินปูน ขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไป มีปากอยู่ด้านล่างบริเวณ จุดกึ่งกลางของ ลำตัว ใต้แขนแต่ละข้างมีหนวดสั้น ๆ เรียงตามส่วนยาว ของแขนเป็นคู่ ๆ มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อที่เหนียวและแข็งแรงเรียกว่า โปเดีย ใช้สำหรับยึดเกาะกับเคลื่อนที่ มีสีต่าง ๆ ออกไป ทั้ง ขาว, ชมพู, แดง, ดำ, ม่วง หรือน้ำเงิน เป็นต้น พบอยู่ตามชายฝั่งทะเล โขดหิน และบางส่วนอาจพบได้ถึงพื้นทะเลลึก กินหอยสองฝา โดยเฉพาะ หอยนางรม, กุ้ง, ปู หนอน และ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เช่น ฟองน้ำหรือปะการัง เป็นอาหาร.
ดิอะเมซิ่งเรซ
ลโก้รายการที่ใช้ในฉบับอเมริกา สำหรับโลโก้ในฉบับอื่น ๆ จะถูกดัดแปลงจากโลโก้นี้ ดิ อะเมซิ่ง เรซ (The Amazing Race หรือในบางครั้งรู้จักกันในตัวย่อ TAR มีชื่อภาษาไทยตามที่ออกอากาศทางช่องเอเอกซ์เอ็นในประเทศไทยว่า คนแกร่งแข่งอึด) เป็นเรียลลิตี้โชว์ ทางโทรทัศน์ ที่สมาชิกในทีม ทีมละสองคน ที่รู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันกับทีมอื่นโดยการเดินทางรอบโลก โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องพยายามเข้าเป็นทีมแรกที่จุดหยุดพักในแต่ละเลกให้ได้ เพื่อเป็นผู้ชนะในเลกนั้น ๆ และหลีกเลี่ยงการมาถึงเป็นทีมสุดท้าย ที่อาจจะทำให้ทีมถูกคัดออกจากการแข่งขัน หรืออาจทำให้ทีมประสบอุปสรรคตามมาในเลกต่อไป ผู้เข้าแข่งขันจะเดินทางระหว่างประเทศหลายประเทศ ด้วยวิธีการเดินทางที่แตกต่างกันออกไป เช่น เครื่องบิน แท็กซี่ รถเช่า รถไฟ รถประจำทาง และเรือ คำสั่งในแต่ละช่วงของเลกจะสั่งให้ทีมไปยังจุดหมายต่อไป หรือทำงาน ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือสองคนก็ตาม ซึ่งงานที่ทีมทำนั้นจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมารยาท หรือวัฒนธรรม ท้องถิ่นในประเทศที่พวกเขาไปเยือน โดยแต่ละทีมจะทะยอยถูกคัดออก จนกระทั่งเหลืออยู่ 3 ทีมสุดท้าย ณ จุดนั้น ทีมที่มาถึงเป็นทีมแรกในเลกสุดท้ายจะได้รับเงินรางวัลก้อนใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีมูลค่า 1 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ในเวอร์ชันสหรัฐอเมริกา สร้างโดย อลิส ดอร์แกนเลอร์ และ เบ็นตั้น แวนด์ มัสเตอร์ และได้ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ค.ศ.
ดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionária
อะเมซิ่ง เรซ: A Corrida Milionária (The Amazing Race: The Million Dollar Race; ดิ อะเมซิ่ง เรซ: การแข่งขันสู่เงินล้าน) เป็นเวอร์ชันบราซิลของรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ โดยมีพิธีกรประจำรายการคือโรนี่ เซิร์ฟเวอร์โร่ รายการนี้มีการผลิตและออกอากาศเป็นอิสระ ในช่วงที่ต้องมีการซื้อเวลาของเครือข่ายโทรทัศน์บราซิล RedeTV! สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionária
คราวซึมเศร้า
ราวซึมเศร้า หรือ คราวแสดงอาการซึมเศร้า หรือ ภาวะซึมเศร้า (major depressive episode) เป็นช่วงเวลาที่มีอาการของโรคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) โดยหลักก็คือมีอารมณ์เศร้าเป็นเวลา 2 อาทิตย์หรือมากกว่านั้น และการสูญเสียความสนใจหรือความสุขในชีวิตประจำวัน ประกอบด้วยอาการอื่น ๆ เช่น ความรู้สึกว่าไร้ความหมาย ไม่มีหวัง วิตกกังวล ตนไม่มีค่า ความรู้สึกผิดและ/หรือความฉุนเฉียวง่าย ความเปลี่ยนแปลงต่อความอยากอาหาร ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถจำรายละเอียดหรือตัดสินใจได้ และความคิดเกี่ยวกับหรือความพยายามที่จะฆ่าตัวตาย อาการนอนไม่หลับหรือการนอนมากเกินไป (hypersomnia) ความเจ็บปวด หรือปัญหาย่อยอาหารที่แก้ไม่ได้ ก็อาจจะมีด้วย นี้เป็นคำอธิบายดังที่ใช้ในเกณฑ์วินิจฉัยทางจิตเวช ดังที่พบในคู่มือ DSM-5 และ ICD-10 ความซึมเศร้าก่อทั้งปัญหาทางอารมณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจ ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ค่าเสียหายที่สัมพันธ์กับโรคซึมเศร้าเทียบได้กับที่เกิดจากโรคหัวใจ โรคเบาหวาน และปัญหาเกี่ยวกับเจ็บหลัง และเสียหายมากกว่าโรคความดันโลหิตสูง ตามงานวิจัยหนึ่ง คราวซึมเศร้ามีสหสัมพันธ์โดยตรงกับความว่างงาน การรักษารวมทั้งการออกกำลังกาย จิตบำบัด และยาแก้ซึมเศร้า แม้ว่าในกรณีที่รุนแรง การเข้าโรงพยาบาลอาจจำเป็น มีทฤษฎีมากมายว่าความซึมเศร้าเกิดขึ้นได้อย่างไร ทฤษฎีหนึ่งก็คือว่า สารสื่อประสาทในสมองไม่สมดุล ก่อความรู้สึกว่าตนไม่มีค่าและสิ้นหวัง การสร้างภาพในสมองด้วย MRI แสดงว่า สมองของผู้ซึมเศร้าต่างจากของคนที่ไม่มีอาการ การมีประวัติของโรคในครอบครัวเพิ่มความเสี่ยง.
คลาส (แก้ความกำกวม)
ลาส (Class) อาจแปลว่า ชั้น ชุด กลุ่ม โดยอาจหมายถึง.
ดู วัฒนธรรมและคลาส (แก้ความกำกวม)
ความหมายของชีวิต
วามหมายของชีวิต เป็นคำถามปรัชญาว่าด้วยความสำคัญของชีวิตหรือการดำรงอยู่โดยทั่วไป คำถามนี้สามารถแสดงได้หลายรูปแบบ เช่น "ทำไมเราจึงอยู่ที่นี่" "ชีวิตเกี่ยวกับอะไรกันแน่" และ "อะไรคือจุดประสงค์ของการดำรงอยู่" ความหมายของชีวิตเป็นหัวข้อการคาดคะเนทางปรัชญา วิทยาศาสตร์และเทววิทยามากมายตลอดประวัติศาสตร์ มีการเสนอคำตอบจำนวนมากของคำถามนี้จากภูมิหลังทางวัฒนธรรมและอุดมการณ์ต่าง ๆ ความหมายของชีวิตอยู่ในแนวคิดทางปรัชญาและศาสนาเรื่องการดำรงอยู่ ความสัมพันธ์ทางสังคม พิชานและความสุข และคล้ายกับประเด็นอื่นอีกมาก เช่น ความหมายเชิงสัญลักษณ์ ภววิทยา คุณค่า จุดประสงค์ จริยศาสตร์ ความดีและความชั่ว เจตจำนงเสรี การดำรงอยู่ของพระเป็นเจ้าหนึ่งหรือหลายองค์ แนวคิดพระเป็นเจ้า วิญญาณและชีวิตหลังความตาย ผลงานวิทยาศาสตร์มุ่งอธิบายข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ที่สัมพันธ์กันเกี่ยวกับจักรวาล สำรวจบริบทและตัวแปรเสริมเกี่ยวกับ "อย่างไร" ของชีวิต (how of life) วิทยาศาสต์ยังศึกษาและสามารถให้การแนะนำการแสวงความเป็นอยู่ดี (well-being) และแนวคิดศีลธรรมที่สัมพันธ์กัน แนวเข้าสู่การศึกษาแบบมนุษยนิยมตั้งคำถามว่า "อะไรคือความหมายของชีวิตฉัน" คุณค่าของคำถามนี้อาจพ้องกับการบรรลุความเป็นจริงอันติมะ (ultimate reality) หรือความรู้สึกรวมเป็นหนึ่ง (oneness) หรือกระทั่งความรู้สึกศักดิ์สิทธิ์ (sacredness).
ดู วัฒนธรรมและความหมายของชีวิต
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
วามหลากหลายทางวัฒนธรรม (cultural diversity) เป็นความเชื่อที่ค่อนข้างตรงกันในหมู่นักมานุษยวิทยาว่ามนุษย์มีกำเนิดในทวีปแอฟริกาเมื่อประมาณ 2 ล้านมาแล้ว จากนั้นได้เริ่มกระจายตัวไปทั่วโลก ประสบความสำเร็จในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพการณ์ที่แตกต่างหลากหลาย และบ่อยครั้งที่ต้องประสบกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากภัยพิบัติร้ายแรงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศทั้งในระดับพื้นถิ่นและระดับทั่วโลก สังคมที่แยกจากห่างกันที่เกิดขึ้นในที่ต่างๆ ของโลกมีความแตกต่างกันชัดเจน และความแตกต่างกันระหว่างวัฒนธรรมยังคงมีความต่อเนื่องสืบมาถึงปัจจุบัน แม้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมหรือเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมระหว่างหมู่ชนจะยังคงมีอยู่ เช่นความแตกต่างทางภาษา การแต่งกายและประเพณีก็ตาม แต่ในความแตกต่างที่หลากหลายในสังคมต่างๆ ก็ยังปรากฏให้เห็นความคล้ายในตัวของสังคมที่หลากหลาย คือแนวคิดทางศีลธรรมและวิธีที่กลุ่มชนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โจ เนลสันจากแสตมฟอร์ด เวอร์จิเนียเป็นผู้ทำให้วลี "วัฒนธรรมและความหลากหลาย" เป็นที่รู้จักแพร่หลายในช่วงที่เขาอยู่ในแอฟริกา เป็นที่ถกเถียงกันว่าความแตกต่างเหล่านี้เป็นเพียงสิ่งมนุษย์สร้างที่เกิดขึ้นตามธรรมดาอยู่แล้วตามรูปแบบของการย้ายถิ่นของมนุษย์ไปในที่ต่างๆ หรือว่านี่คือตัวการที่เป็นหัวใจของของการสืบสายพันธ์ในช่วงวิวัฒนาการที่ทำให้สายพันธุ์ของมนุษย์ประสบความสำเร็จมากกว่าสัตว์พันธุ์อื่นๆ ด้วยการเทียบเทียบแนวกับ "ความหลากหลายทางชีวภาพ" ที่เชื่อกันว่ามีความสำคัญยิ่งยวดต่อการมีชีวิตรอดในระยะยาวของทุกชีวิตบนโลก ความหลากหลายทางวัฒนธรรมย่อมมีความสำคัญยิ่งต่อการอยู่รอดในระยะยาวของมวลมนุษยชาติด้วย นั่นคือ การอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นถิ่นไว้ย่อมมีความสำคัญเท่าๆ กันกับกับการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์และระบบนิเวศเพื่อให้สิ่งมีชีวิตบนโลกโดยรวมอยู่ได้ บทอภิปรายนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากหลายฝ่ายด้วยเหตุผลที่แตกต่างกัน ประการแรก เช่นเดียวกับความน่าเชื่อของการวิวัฒนาการตามธรรมชาติของมนุษย์ ความสำคัญของความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งทำให้มนุษย์อยู่รอดได้ยังคงเป็นสมมุติฐานที่ยังไม่ได้รับการทดสอบซึ่งอาจไม่มีความชอบธรรมทางจรรยาบรรณที่จะอนุรักษ์ "สังคมที่ยังพัฒนาน้อย" ไว้เพราะอาจเป็นการห้ามผู้คนในสังคมนั้นไม่ให้ได้รับประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการแพทย์ที่สร้างความสะดวกสบายและสวัสดิภาพแก่ "สังคมพัฒนาแล้ว" ประการสุดท้าย มีชนหลายหมู่โดยเฉพาะที่หมู่ชนมีความเชื่อทางศาสนาอย่างแรงกล้า ที่เชื่อว่าศาสนานั้นคือสิ่งที่ให้คุณประโยชน์ที่ดีที่สุดแก่ตัวบุคคลและมวลมนุษย์โดยรวม ดังนั้นจึงควรมุ่งติดอยู่กับรูปแบบการดำรงชีวิตเพียงแบบเดียวที่หมู่ชนนั้นๆ เห็นว่าถูกต้องที่สุด ตัวอย่างเช่น องค์การสอนศาสนา "ฟันดาเมนทอลลิสต์อีแวนเจลิสต์" เช่น "นิวไทรบ์มิสชัน" ซึ่งทำงานอย่างแข็งขันเพื่อลดความหลากหลายทางวัฒนธรรมโดยการเลือกสังคมชนเผ่าที่อยู่ห่างไกล จับพวกชนเผ่าเหล่านั้นเข้ารีตกับความเชื่อของพวกเขาเองแล้วโน้มนำให้ชนเผ่าเหล่านั้นปรับเปลี่ยนรูปแบบสังคมของตนเองตามหลักการของพวกเขาเอง การแจงนับความหลากหลายทางวัฒนธรรมนับเป็นเรื่องยุ่งยาก แต่ตัวบ่งชี้ที่นับได้ว่าใช้ได้ดีตัวหนึ่งคือการนับจำนวนภาษาที่ใช้พูดในภูมิภาคนั้น หรือในโลกโดยรวม วิธีการนี้ จะช่วยให้มองเห็นระยะของการถดถอยที่รวดเร็วขึ้นในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของโลก งานวิจัยที่ทำเมื่อช่วงทศวรรษ 1990 (พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
วามผิดปกติทางบุคลิกภาพ (personality disorders, ตัวย่อ PD) เป็นหมวดหมู่ของความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นรูปแบบพฤติกรรม รูปแบบทางประชาน และรูปแบบประสบการณ์ทางใจที่ปรับตัวอย่างไม่เหมาะสม (maladaptive) ที่ยั่งยืน โดยปรากฏในสถานการณ์ต่าง ๆ หลายอย่าง และออกนอกลู่นอกทางอย่างสำคัญจากที่ยอมรับได้ในสังคมและวัฒนธรรมของบุคคลนั้น รูปแบบเหล่านี้จะพัฒนาขึ้นตั้งแต่เบื้องต้นของชีวิต ยืดหยุ่นไม่ได้ และสัมพันธ์กับความทุกข์กับความพิการในระดับสำคัญ แต่ว่านิยามที่จำเพาะอาจจะต่างกันได้แล้วแต่ที่มา เกณฑ์วินิจฉัยความผิดปกติทางบุคลิกภาพอยู่ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ที่จัดพิมพ์โดยสมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychiatric Association ตัวย่อ APA) และในหัวข้อ "ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders)" ในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ตัวย่อ ICD) ที่เผยแพร่โดยองค์การอนามัยโลก DSM-5 รุ่นที่พิมพ์ในปี 2556 กำหนดความผิดปกติทางบุคลิกภาพเช่นเดียวกับความผิดปกติทางจิต (mental disorders) อื่น ๆ แทนที่จะอยู่ใน "axis" ที่ต่างกันตามที่เคยทำมาก่อน ๆ บุคลิกภาพตามนิยามของจิตวิทยา เป็นเซตของลักษณะทางพฤติกรรมและทางจิตที่คงทน ที่ทำให้มนุษย์แต่ละคนต่างกัน ดังนั้น ความผิดปกติทางบุคลิกภาพจึงกำหนดโดยประสบการณ์ (ทางใจ) และพฤติกรรม ที่ต่างจากมาตรฐานและความคาดหวังของสังคม คนผิดปกติเช่นนี้ อาจประสบความยากลำบากทางประชาน (cognition) ความไวอารมณ์ (emotiveness) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal functioning) และการควบคุมความหุนหันพลันแล่น (impulse control) โดยทั่วไปแล้ว คนไข้จิตเวชร้อยละ 40-60 จะได้รับวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติเช่นนี้ จึงเป็นกลุ่มโรคที่วินิจฉัยบ่อยครั้งที่สุดในบรรดาโรคจิตเวช ความผิดปกติทางบุคลิกภาพกำหนดโดยรูปแบบพฤติกรรมที่คงทน บ่อยครั้งสัมพันธ์กับความขัดข้องในชีวิตส่วนตัว ชีวิตทางสังคม หรือทางอาชีพ นอกจากนั้นแล้ว ความผิดปกติเช่นนี้ยืดหยุ่นไม่ได้ และแพร่กระจายไปในสถานการณ์มากมาย ซึ่งส่วนใหญ่อาจจะมาจากเหตุที่ว่า พฤติกรรมเช่นนี้เข้ากับทัศนคติเกี่ยวกับตน (ego-syntonic) ของบุคคลนั้นได้ ดังนั้น บุคคลนั้นจึงพิจารณาว่าเป็นพฤติกรรมที่เหมาะสม แต่เป็นพฤติกรรมที่อาจมีผลเป็นทักษะจัดการปัญหาและความเครียด (coping skill) ที่ปรับตัวได้อย่างไม่เหมาะสม และนำไปสู่ปัญหาส่วนตัวที่สร้างความวิตกกังวล ความทุกข์ และความเศร้าซึมอย่างรุนแรง รูปแบบพฤติกรรมเช่นนี้จะกำหนดได้ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นและต้นวัยผู้ใหญ่ และในบางกรณีที่พิเศษ ในช่วงวัยเด็ก มีประเด็นปัญหาหลายอย่างในการจัดหมวดหมู่ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ คือมีนิยามต่าง ๆ หลายแบบ และเพราะว่าทฤษฎีและการวินิจฉัยเกี่ยวกับความผิดปกติจะต้องเกิดภายในความคาดหวังปกติของสังคม นักวิชาการบางท่านจึงคัดค้านความสมเหตุสมผลของทฤษฎีและการวินิจฉัย เพราะว่าเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องอาศัยมูลฐานบางอย่างที่เป็นอัตวิสัย (subjective) คือพวกเขาอ้างว่า ทฤษฎีและการวินิจฉัยมีมูลฐานอยู่ที่พิจารณาญาณทางสังคม หรือทางสังคม-การเมืองและทางเศรษฐกิจ (ดังนั้น จึงอาจจะไม่ใช่ปัญหาทางการแพทย์).
ดู วัฒนธรรมและความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
ความผิดปกติทางจิต
วามผิดปกติทางจิต หรือ การป่วยทางจิต เป็นรูปแบบทางจิตวิทยาหรือวิกลภาพ ซึ่งอาจสะท้อนออกมาทางพฤติกรรม ที่โดยทั่วไปเกี่ยวข้องกับความทุกข์ทรมาน (distress) หรือความพิการ และไม่ถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาการปกติของวัฒนธรรมของบุคคล ความผิดปกติทางจิตโดยทั่วไปนิยามโดยการรวมว่าบุคคลรู้สึก กระทำ คิดหรือรับรู้อย่างไร ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับบริเวณใดบริเวณหนึ่งหรือการทำหน้าที่ของสมองหรือระบบประสาทส่วนที่เหลือ มักในบริบททางสังคม การยอมรับและการเข้าใจภาวะสุขภาพจิตเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและวัฒนธรรม และยังมีข้อแตกต่างในการนิยาม ประเมินและจำแนกอยู่บ้าง แม้เกณฑ์แนวปฏิบัติมาตรฐานจะใช้กันอย่างกว้างขวางก็ตาม ในหลายกรณี ดูเหมือนจะมีความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพจิตและการป่วยทางจิต ทำให้การวินิจฉัยซับซ้อน ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ประชาชนกว่าหนึ่งในสามในประเทศส่วนใหญ่รายงานปัญหาที่เกิดขึ้นช่วงใดช่วงหนึ่งในชีวิตของเขา ซึ่งเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยประเภทความผิดปกติทางจิตที่พบทั่วไปหนึ่งชนิดหรือมากกว่าWHO International Consortium in Psychiatric Epidemiology (2000), Bulletin of the World Health Organization v.78 n.4 สาเหตุของความผิดปกติทางจิตมีหลากหลายและไม่ชัดเจนในบางกรณี และหลายทฤษฎีอาจรวมเอาการค้นพบจากหลายสาขาเข้าด้วยกัน มีการบริหารอยู่ในโรงพยาบาลจิตเวชหรือในชุมชน และการประเมินกระทำโดยจิตแพทย์ นักจิตวิทยาคลินิก และนักสังคมสงเคราะห์คลินิก โดยใช้หลายวิธี แต่มักอาศัยการสังเกตและการถาม ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตจำนวนมากเป็นผู้ให้การรักษาทางคลินิก จิตบำบัดและการเยียวยาจิตเวชเป็นสองทางเลือกหลักในการรักษา เช่นเดียวกับการแทรกแซงทางสังคม การสนับสนุนจากเพื่อนและการช่วยเหลือตนเอง ในกรณีส่วนน้อยอาจมีการกักขังโดยไม่สมัครใจหรือการรักษาโดยไม่สมัครใจ ตามที่กฎหมายอนุญาต การประทับตราทางสังคม (social stigma) และการเลือกปฏิบัติเพราะสภาพจิต (mentalism หรือ sanism) สามารถซ้ำเติมความทุกข์ทรมานและความพิการที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางจิต (หรือที่ถูกวินิจฉัยหรือตัดสินว่ามีความผิดปกติทางจิต) นำไปสู่ขบวนการทางสังคมจำนวนมากที่พยายามเพิ่มความเข้าใจและคัดค้านการกีดกันทางสังคม ปัจจุบันการป้องกันปรากฏในยุทธศาสตร์สุขภาพจิตบ้างแล้ว.
ดู วัฒนธรรมและความผิดปกติทางจิต
ความทรงจำพื้นบ้าน
กุสตาฟ ดอเร ความทรงจำพื้นบ้าน (Folk memory) เป็นคำที่ใช้บรรยายเรื่องราว, ตำนานพื้นบ้าน หรือ ประมวลเรื่องปรัมปราเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่เล่าขานกันต่อๆ มาจนชั่วลูกชั่วหลาน เหตุการณ์ที่บรรยายอาจจะเป็นความทรงจำของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นหลายสิบ, หลายร้อย หรือ หลายพันปีมาแล้ว ที่มักจะเป็นเหตุการณ์ที่มีความสำคัญต่อท้องถิ่น เรื่องราวที่เล่าอาจจะเป็นการอธิบายถึงรูปลักษณ์ของสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น, เป็นการให้เหตุผลเกี่ยวกับประเพณีนิยมทางวัฒนธรรม หรือ เป็นการอธิบายที่มาของที่มาของชื่อสถานที่ในท้องถิ่น ความทรงจำพื้นบ้านอันเก่าแก่ก็ได้แก่:ตำนานน้ำท่วมโลก.
ดู วัฒนธรรมและความทรงจำพื้นบ้าน
ความคิดแทรกซอน
วามคิดแทรกซอน (Intrusive thought) เป็นความคิดแบบไม่ได้ตั้งใจและไม่พึงประสงค์ เป็นความคิดที่ไม่น่าพอใจซึ่งอาจกลายเป็นเรื่องย้ำคิด ทำให้ว้าวุ่นหรือทุกข์ใจ และรู้สึกว่าจัดการหรือหยุดได้ยาก เมื่อความคิดสัมพันธ์กับโรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) โรคซึมเศร้า (MDD) โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ (BDD) และบางครั้ง โรคสมาธิสั้น (ADHD) ก็อาจทำให้ทำอะไรไม่ได้ วิตกกังวล หรืออาจคงยืน ความคิดอาจสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งความจำอาศัยเหตุการณ์, ความวิตกกังวลหรือความจำที่ไม่ต้องการเพราะ OCD, ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD), โรควิตกกังวลอื่น ๆ, โรคเกี่ยวกับการรับประทาน (eating disorder), หรือโรคจิต (psychosis) อาการต่าง ๆ รวมทั้งความคิด แรงกระตุ้นให้ทำ และจินตภาพแทรกซอน จะเป็นไปในเรื่องที่ไม่เหมาะสม เกิดในเวลาที่ไม่เหมาะสม และทั่วไปจะเป็นไปในทางก้าวร้าว เกี่ยวกับทางเพศ หรือดูหมิ่นศาสน.
ความตลกขบขัน
การยิ้มอาจจะแสดงอารมณ์ขำ ดังที่เห็นในจิตรกรรมตัวละคร Falstaff ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดย Eduard von Grützner ความตลกขบขัน (humour, humor) เป็นประสบการณ์ทางการรู้คิดที่มักทำให้หัวเราะและสร้างความบันเทิงสนุกสนาน คำจากภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ทางการแพทย์ของชาวกรีกโบราณ ซึ่งสอนว่า ความสมดุลของธาตุน้ำต่าง ๆ ในร่างกายที่เรียกในภาษาละติน ว่า humor (แปลว่า ของเหลวในร่างกาย) เป็นตัวควบคุมสุขภาพและอารมณ์ของมนุษย์ มนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกวัฒนธรรมตอบสนองต่อเรื่องขบขัน มนุษย์โดยมากประสบความขำขัน คือรู้สึกบันเทิงใจ ยิ้ม หรือหัวเราะต่ออะไรที่ขำ ๆ และดังนั้น จึงเรียกได้ว่าเป็นคนมีอารมณ์ขำ (คือมี sense of humour) คนสมมุติที่ไม่มีอารมณ์ขำน่าจะพบเหตุการณ์ที่ทำให้ขำว่า อธิบายไม่ได้ แปลก หรือว่าไม่สมเหตุผล แม้ว่าปกติความขำขันจะขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว ขอบเขตที่บุคคลพบว่าอะไรน่าขำจะขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง รวมทั้งอยู่ในภูมิประเทศไหน ในวัฒนธรรมอะไร อายุ ระดับการศึกษา ความเฉลียวฉลาด และพื้นเพหรือบริบท ยกตัวอย่างเช่น เด็กเล็ก ๆ อาจชอบเรื่องตลกที่มีการตีกัน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า slapstick) ดังที่พบในการ์ตูน เช่นรายการ ทอมกับเจอร์รี่ ที่การกระทบกระทั่งทางกายทำให้เด็กเข้าใจได้ เทียบกับเรื่องตลกที่ซับซ้อนกว่า เช่น แบบที่ใช้การล้อเลียนเสียดสี (satire) ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสถานะทางสังคมและดังนั้น ผู้ใหญ่จะชอบใจมากกว.
ความเสมอภาคทางสังคม
วามเสมอภาค (Equality) เป็นมโนทัศน์พื้นฐานที่สุดเรื่องหนึ่งไม่ว่าจะกล่าวในมิติทางการเมืองหรือในทางเศรษฐกิจ คนทั่วไปมักสับสนคำว่า “เสมอภาค” กับ “เหมือนกัน” (sameness) กล่าวคือ คิดว่าการรับรองความเสมอภาคของมนุษย์เท่ากับการทำให้มนุษย์ทุกคนเท่ากัน จนมักโต้แย้งว่าความเสมอภาคไม่มีทางเป็นไปได้ จึงควรทำความเข้าใจเบื้องต้นว่าหลักการของความเสมอภาค ไม่ได้และไม่เคยเรียกร้องให้มนุษย์ทุกคนต้องเหมือนกันหมด เพราะมนุษย์ย่อมแตกต่างกันเป็นธรรมชาติทั้งโดยชาติพันธุ์ รูปร่าง ผิวพรรณ เพศสภาพ บุคลิก ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม และอื่นๆ แต่ความแตกต่างนั้นไม่ได้เป็นเหตุผลทำให้มนุษย์ต้องไม่เสมอภาคกัน เพราะความเสมอภาค (Equality) ตรงข้ามกับความไม่เสมอภาค (Inequality) ไม่ได้ตรงข้ามกับคำว่าความแตกต่าง (Difference) อย่างที่หลายคนทึกทัก นั่นหมายความว่า มนุษย์เราแตกต่างกันโดยธรรมชาติ แต่ก็สามารถและควรเท่าเทียมกันได้ (different but Equal) ดังนั้นเมื่อกล่าวว่า คนเสมอภาคกัน จึงไม่ได้หมายความว่าคนเหมือนกันทุกด้านไม่ว่าจะเป็นชาติตระกูล หน้าตา ความสามารถ สติปัญญา แต่การที่บอกว่าเสมอภาคกันมีความหมายว่า มนุษย์เท่าเทียมกันทั้งในความเป็นมนุษย์ และตามกฎหมายของรัฐ (Kurian, 2011: 515) ดังที่มีวลีสำคัญที่สะท้อนความเสมอภาคคือ “Equality Before the Law” ซึ่งหมายความว่าบุคคลทุกผู้ทุกนามย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกระบวนของกฎหมายอย่างเป็นธรรม หรือความเสมอภาคกันในทางการเมืองคือ พลเมืองที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดย่อมสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างเท่าเทียมกัน ในบางกรณี ที่ความเสมอภาคยึดโยงเข้ากับหลักความเป็นธรรม (Justice) จะนำไปสู่การปฏิบัติต่อผู้คนที่แตกต่างกันด้วยมาตรการเฉพาะเพื่อช่วยให้ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติได้รับการแก้ไขให้เกิดความเสมอภาคมากขึ้น เช่น มาตรการช่วยเหลือคนด้อยโอกาส คนทุพพลภาพ เพื่อความเสมอภาคในสังคม ดังนั้น การมองอย่างฉาบฉวยว่าการเรียกร้องให้คนเท่ากันหมายถึงการเรียกร้องให้คนเหมือนกันนั้น จึงเป็นความเข้าใจผิดในประเด็นพื้นฐาน.
ดู วัฒนธรรมและความเสมอภาคทางสังคม
ความเอนเอียง
วามเอนเอียง (Bias) เป็นความโน้มไปของภาวะจิตใจหรือทัศนคติ ที่จะแสดงหรือยึดถือความคิดเห็นที่ไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งพร้อมกับการปฏิเสธที่จะแม้พิจารณาความเป็นไปได้ของความคิดเห็นที่ต่างออกไป เราอาจจะมีความเอนเอียงต่อบุคคล ต่อเชื้อชาติ ต่อศาสนา ต่อชนชั้นในสังคม หรือต่อพรรคการเมือง การมีความเอนเอียงหมายถึง เอนไปข้างเดียว ไม่มีความเป็นกลาง ไม่เปิดใจ ความเอนเอียงมาในหลายรูปแบบ และคำว่า Bias ในภาษาอังกฤษอาจใช้เป็นไวพจน์ของคำว่า prejudice (ความเดียดฉันท์) และ bigotry (ความหัวดื้อ ความมีทิฏฐิมานะ).
ความเจ็บปวด
วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.
ความเป็นพลเมือง
วามเป็นพลเมือง (citizenship) คือ สถานภาพของบุคคลที่จารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรับรองซึ่งให้แก่สิทธิและหน้าที่แห่งความเป็นพลเมืองแก่บุคคล (เรียก พลเมือง) ซึ่งอาจรวมสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง การทำงานและอาศัยอยู่ในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย์ การคุ้มครองทางกฎหมายต่อรัฐบาลของประเทศ และการคุ้มครองผ่านกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหน้าที่บางอย่าง เช่น หน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ จ่ายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคลอาจมีความเป็นพลเมืองมาก และบุคคลที่ไม่มีความเป็นพลเมือง เรียก ผู้ไร้สัญชาติ (stateless) สัญชาติมักใช้เป็นคำพ้องกับความเป็นพลเมืองในภาษาอังกฤษ ที่สำคัญในกฎหมายระหว่างประเทศ แม้คำนี้บางครั้งเข้าใจว่าหมายถึงการเป็นสมาชิกชาติ (กลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่) ของบุคคล ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สัญชาติและความเป็นพลเมืองมีความหมายต่างกัน หมวดหมู่:สัญชาติ หมวดหมู่:การปกครอง หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางการเมือง หมวดหมู่:กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง.
คำยืม
ำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะศัพท์เฉพาะทางเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน.
คำหยาบ
การพูด'''หมายถึงคำหยาบ'''ในการ์ตูนมักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวแทนของคำหยาบ คำหยาบคาย หรือ คำหยาบ หมายถึงคำที่สื่อถึงความไม่สุภาพ สื่อความความหมายในแง่ที่ไม่ดี หรือ ฟังไม่ไพเราะ ซึ่งรวมถึงคำที่สื่อเรื่องเพศ การด่าทอ การดูหมิ่น โดยมารยาททางสังคม การใช้คำหยาบเป็นเรื่องที่น่ารังเกียจ สำหรับภาษาไทยอาจระบุเนื้อหาของคำหยาบไม่เหมือนกันตามแต่ละระดับสังคมและภาษาของแต่ละท้องถิ่น การใช้คำหยาบขึ้นอยู่กับวาระและกลุ่มบุคคลที่สื่อสาร โดยในแต่ละยุคจะมีการถือเรื่องศัพท์แสลงต่างกัน.
คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย
ณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เป็นคณะสงฆ์นิกายมหายานของชาวไทยเชื้อสายจีน ถือกำเนิดมาจากชาวจีนที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบนผืนแผ่นดินไทย ได้นำเอาวัฒนธรรม ศาสนา และความเชื่อดั้งเดิมของตนเข้ามาประพฤติปฏิบัติ แรกเริ่มที่ยังไม่มีพระภิกษุ ชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าจีนขึ้นก่อนเพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระภิกษุจีนแถบมณฑลกวางตุ้งจาริกเข้ามาปฏิบัติศาสนกิจมากขึ้น นำไปสู่การจัดระเบียบการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์จีนได้ถือกำเนิดขึ้นบนแผ่นดินไทยและมีความเจริญสืบเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน ในปัจจุบันการปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย
คณะเยสุอิต
ณะเยสุอิต.
คติชนวิทยา
รมวิเศษใช้เป็นพาหนะเดินทางได้ตามใจหมาย Tōshō-gū ประเทศญี่ปุ่น คติชนวิทยา (folkloristics) เป็นสาขาหนึ่งที่ศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมของมนุษย์ที่มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมา ทั้งในสังคมชนบทและในสังคมเมือง ไม่ว่าจะเป็นตำนาน นิทาน นิยายประจำถิ่น เพลง ปริศนาคำทาย สำนวนภาษิต คำพังเพย การละเล่น การแสดง เครื่องมือเครื่องใช้ อาหารการกิน ยาพื้นบ้าน ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม สำหรับผู้ที่ศึกษาความรู้ด้านคติชนวิทยา จะเรียกว่า "นักคติชนวิทยา" (folklorist).
คนอสซอส
วนหนึ่งของพระราชวังที่คนอสซอสที่สร้างขึ้นให้เห็นภาพจากการขุดค้นของนักโบราณคดี คนอสซอส (Knossos,; Κνωσός) หรือที่เรียกว่า "ลายวงกต" หรือ "พระราชวังคนอสซอส" คือแหล่งโบราณคดีที่ใหญ่ที่สุดของยุคสัมฤทธิ์บนเกาะครีตที่อาจจะใช้เป็นสถานที่สำหรับบริหารราชการและทำพระราชพิธีของอารยธรรมและวัฒนธรรมไมนวน พระราชวังเป็นกลุ่มห้องอันซับซ้อนที่ประกอบด้วยห้องทำงาน ที่อยู่อาศัย และที่เก็บของไม่ไกลจากจตุรัสกลางพระราชวัง บนผนังของพระราชวังเป็นภาพรายละเอียดของชีวิตชาวครีตในปลายยุคสัมริด ในปัจจุบันคนอสซอสเป็นสถานที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวเพราะตั้งอยู่ใกล้กับเมืองใหญ่ฮีราคลีออน คนอสซอสได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เป็นอันมากโดยนักโบราณคดีชาวอังกฤษเซอร์อาร์เทอร์ อีแวนส์ เมืองคนอสซอสมีความสำคัญจนตลอดสมัยคลาสสิกและสมัยโรมัน แต่ชาวเมืองย้ายไปอยู่ในเมืองคันดักส์ซึ่งเป็นเมืองใหม่ (ฮีราคลีออนในปัจจุบัน) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 คนอสซอสก็มีชื่อใหม่ว่า "มาครีเทคอส" (Makryteikhos หรือ "กำแพงยาว") แต่บิชอปแห่งกอร์ทินยังคงเรียกตนเองว่าบิชอปแห่งคนอสซอสมาจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปัจจุบันคำว่า "คนอสซอส" ใช้เฉพาะในการเรียกแหล่งโบราณคดีที่ตั้งอยู่ที่ปริมณฑลของเมืองฮีราคลีออนเท่านั้น.
งูเห่า
งูเห่า (Cobras) เป็นงูพิษขนาดกลางที่อยู่ในสกุล Naja ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) วงศ์ย่อย Elapinae ซึ่งเป็นสกุลของงูพิษที่อาจเรียกได้ว่าเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดอย่างหนึ่ง.
ตะวันออกกลาง
แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.
ตำบลน้ำขาว
ตำบลน้ำขาว มักมีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า บ้านน้ำขาว ซึ่งเป็นอีกตำบลหนึ่งที่ตั้งอยู่ใน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ตำบลน้ำขาวเป็นตำบลใหญ่ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ มีระบบเครือญาติเป็นห่วงเรียงร้อยต่อกันเป็นลูกโซ่ จากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง จากครอบครัวหนึ่งไปสู่อีกครอบครัวหนึ่ง และจากบ้านหนึ่ง ไปสู่อีกบ้านหนึ่ง ทุกคนมีอารมณ์ ความรู้สึกลึก ๆ ที่ใกล้เคียงกัน ทั้งด้านความเชื่อ ความศรัทธา วัฒนธรรม ประเพณี.
ต้นสมัยกลาง
ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg.
ซามูไร อโยธยา
ซามูไร อโยธยา (YAMADA) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของไทย โดยเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับยามาดะ นางามาสะ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีอยู่จริงในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดยเซกิ โอเซกิ กำกับโดยนพพร วาทิน และกำหนดฉายในประเทศไทยครั้งแรก 2 ธันวาคม..
ซาลซ์บูร์ก
ซาลซ์บูร์ก (Salzburg) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดลำดับที่ 4 ในประเทศออสเตรีย และเป็นเมืองหลวงของรัฐซาลซ์บูร์ก เมืองเก่าของซาลซ์บูร์กและสถาปัตยกรรมบาโรกเป็นหนึ่งในใจกลางเมืองที่ถูกดูแลรักษาอย่างดีที่สุดในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาเยอรมันด้วยกัน และได้รับการยูเนสโกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก ในปี พ.ศ.
ปฏิทินสุริยจันทรคติ
ปฏิทินสุริยจันทรคติ (lunisolar calendar) เป็นคำใช้เรียกรูปแบบการใช้ปฏิทินรูปแบบหนึ่ง มีใช้กันในหลายวัฒนธรรม โดยใช้ดิถีของดวงจันทร์เพื่อบอกข้างขึ้นข้างแรม บอกเดือน ตามแบบปฏิทินจันทรคติ โดยมากจะใช้บอกวันสำคัญทางศาสนา หรือเทศกาลฉลองตามประเพณีดั้งเดิม และมีการกำหนดวันตามแบบปฏิทินสุริยคติ เพื่อบอกเดือน และปี ในรูปแบบผสมนี้มักกำหนดปีตามรอบสุริยคติ คือปีหนึ่งมี 365 วัน หรือ 366 วัน.
ดู วัฒนธรรมและปฏิทินสุริยจันทรคติ
ประชาสังคม
ประชาสังคม หรือ Civil Society เป็นแนวคิดที่มีเป้าหมายเพื่อการมีสังคมและชุมชนที่เข้มแข็ง ด้วยเป็นแนวคิดที่กว้าง จึงมีผู้ให้คำนิยามไว้หลากหลาย โดยทั่วไปประชาสังคม หมายถึง พื้นที่หรือส่วนของสังคมที่มีประชาชนเป็นผู้แสดงบทบาทหลัก พื้นที่ดังกล่าวจึงไม่ใช่ภาครัฐ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่โดยมีกฎหมายรองรับ และภาคธุรกิจเอกชนที่เน้นดำเนินงานโดยมุ่งแสวงหาผลกำไรในพื้นที่ประชาสังคม ประชาชนทั่วไปเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดำเนินการที่เป็นอิสระจากภาครัฐ และอยู่นอกบริบทการแข่งขันทางการเมือง ซึ่งกลุ่มและผู้กระทำการทางสังคม อาจมีวัฒนธรรม วิถีชีวิต วิธีคิดอันหลากหลายมาร่วมกันในกิจกรรมที่มีเป้าหมายเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูล ถกเถียงแลกเปลี่ยนความคิด สร้างเอกลักษณ์และความเห็นร่วมกัน รวมถึงต้องมีจุดมุ่งหมายร่วมในการพิทักษ์หรือเพิ่มพูนผลประโยชน์สาธารณะบางประการให้กับสังคม โดยลักษณะของพื้นที่ดังกล่าวสามารถเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับพื้นที่ทางการเมือง และทางเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจระหว่างสามพื้นที่ดังกล่าวนี้ด้ว.
ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา
ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา (Substantive Democracy) เป็นรูปแบบหนึ่งของประชาธิปไตยที่เน้นเรื่องของผลลัพธ์ (outcome) ของกระบวนการและกลไกต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย โดยเกณฑ์หรือมาตรวัดความเป็นประชาธิปไตยเชิงเนื้อหามักประกอบด้ว.
ดู วัฒนธรรมและประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา
ประชาธิปไตยเสรีนิยม
รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและประชาธิปไตยเสรีนิยม
ประภาส ชลศรานนท์
ประภาส ชลศรานนท์ (18 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 -) เป็นนักคิด นักเขียน นักแต่งเพลง ผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานบริษัท และร่วมก่อตั้งสถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ (ช่องเวิร์คพอยท์) หมายเลข 23.
ดู วัฒนธรรมและประภาส ชลศรานนท์
ประวัติศาสตร์กรีซ
"ประวัติศาสตร์กรีซ" แบ่งออกเป็นหลายช่วงดังนี้.
ดู วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์กรีซ
ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (History of science and technology, HST) เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมนุษย์ หากไม่มีการศึกษาด้านนี้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ อาจไม่เกิดขึ้น นอกจากนั้นยังศึกษาผลกระทบของนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง วิทยาศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์และวิศวกรรมเชิงฟิสิกส์ที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน ก่อร่างมาจากการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ แต่มีรากฐานจากผลงานของอารยธรรมกรีกและอิสลาม ซึ่งรับช่วงต่อมาจากอารยธรรมอียิปต์ เมโสโปเตเมีย และอินเดีย ส่วนในด้านเทคโนโลยี ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้ามากที่สุดในสมัยนั้น หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์.
ดู วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย
วิวัฒนาการเงินตราไทยในอดีต วิวัฒนาการเงินตราไทย เริ่มตั้งแต่กลุ่มชนดั้งเดิมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันตั้งแต่ราว 38,000 ปีมาแล้ว ก่อนจะได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียนั้น กลุ่มชนเหล่านี้ติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน โดยใช้สิ่งของเป็นสื่อกลาง เมื่อวัฒนธรรมอินเดียแพร่เข้ามาจึงเริ่มผลิตเงินตราเป็นสื่อกลางค้าขาย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-16 ในวัฒนธรรมแบบฟูนัน-ทวารวดี ได้ผลิตเหรียญกลมแบนจากโลหะเงิน ดีบุก ทองแดง โดยใช้แม่พิมพ์ตราสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น พระอาทิตย์ สังข์ แพะ ปูรณกลศ ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งสื่อถึงความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ อำนาจรัฐ กษัตริย์ และความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 อาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเป็นเมืองท่าค้าขายบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีอำนาจควบคุมเส้นทางการค้าทางทะเล มีการผลิตเงินดอกจันทน์และเงินนโม เพื่อระบบเศรษฐกิจอย่างแพร่หลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 19 ราชอาณาจักรสุโขทัยและล้านนาก็ถือกำเนิดขึ้นและได้ติดต่อค้าขายกับราชอาณาจักรในลุ่มเจ้าพระยา คือ กรุงศรีอยุธยา ตลอดจนดำเนินการค้าทางทะเลกับจีน อินเดีย ยุโรป และได้ติดต่อค้าขายกับกลุ่มชนทางตอนเหนือของไทย เช่น ล้านช้าง ยูนาน น่านเจ้า เป็นต้น และไปไกลถึงเปอร์เซีย อาหรับ ในดินแดนตะวันออกกลาง ราชอาณาจักรสุโขทัย ล้านนา กรุงศรีอยุธยา ได้ผลิตคิดค้นเงินตราขึ้นใช้ในระบบเศรษฐกิจ พร้อมกันนั้นก็ยอมรับเงินตราของต่างชาติด้วย เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรล้านนา ได้แก่ เงินไซซี เงินกำไล เงินเจียง เงินท้อก เงินดอกไม้ ส่วนราชอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยาได้ผลิตเงินพดด้วง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของตนเองขึ้นใช้ และใช้เบี้ยหอยแทนเงินปลีกย่อย บางครั้งเบี้ยหอยขาดแคลนก็ได้ผลิตเบี้ยโลหะและประกับดินเผาขึ้นใช้ร่วมด้วย ภายหลังราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสลายลง กรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ถือกำเนิดขึ้นตามลำดับ ก็ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 การเปิดประเทศสยามสู่อารยประเทศ มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบเงินตราให้เป็นสากล นำไปสู่การผลิตเงินตราในลักษณะเหรียญกลมแบนออกใช้เป็นครั้งแรก ต่อมารัชกาลที่ 5 จึงทรงประกาศยกเลิกการใช้เงินพดด้วง นับตั้งแต่นั้นเงินตราไทยจึงคงลักษณะเป็นเหรียญกลมแบนต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน.
ดู วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย
ประเพณี
ประเพณี (Tradition) เป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์และมีความสำคัญต่อสังคม เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมเชื้อชาติต่างๆ กลายเป็นประเพณีประจำชาติและถ่ายทอดกันมาโดยลำดับ หากประเพณีนั้นดีอยู่แล้วก็รักษาไว้เป็นวัฒนธรรมประจำชาติ หากไม่ดีก็แก้ไขเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเท.
ประเทศบาห์เรน
ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ประเทศแอลเบเนีย
แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.
ปราสาทหินวัดพู
ปราสาทวัดพู ปราสาทวัดพู เป็นโบราณสถานในประเทศลาว ซึ่งเป็นมรดกโลกแห่งที่สองของประเทศลาว เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างถวายพระศิวะ ตั้งอยู่บนเนินเขาภู หรือเรียกกันว่าภูควาย ห่างจากตัวเมืองเก่าจำปาศักดิ์ประมาณ 6 กิโลเมตร ลักษณะของปราสาทเป็นเทวสถานขอม คล้ายกับเขาพระวิหาร สร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ในสมัยของพระเจ้ามเหนทรวรมัน ถือว่าเป็นปราสาทหินที่มีอายุเก่าแก่ที.
ปราโมทย์ สุขุม
ปราโมทย์ สุขุม (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายาว่า “สุภาพบุรุษนักการเมือง” จากสื่อมวลชน.
ปลา
ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.
ปัญญาชน
รูปวาดของ Ludwik Rydygier กับผู้ช่วยโดย Leon Wyczółkowski ปัญญาชน () คือ ชนชั้นทางสังคมของคนซึ่งใช้ปัญญาชั้นสูงมุ้งไปที่การนำหรือวิจารณ์ ไม่ก็เล่นบทบาทผู้นำในการสร้างรูปแบบของวัฒนธรรมและการเมืองของสังคม in Merriam-Webster Online ดังนั้นปัญญาชนจึงใช้ได้กับใครก็ได้ไม่ว่าจะเป็นศิลปินหรือครูในโรงเรียน รวมไปถึง นักวิชาการ นักเขียน นักข่าว ปัญญาชนเป็นประเด็นที่ถูกนำมาถกเถียงอยู่เสมอทางด้านบทบาทในการพัฒนาของสังคมสมัยใหม่ซึ่งในประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการก้าวหน้าทว่าไม่ได้มีแต่ในด้านบวกเท่านั้น บางครั้งก็มีผลในการย้อนหลังเช่นกัน ในมุมมองทางสังคม ชนชั้นของปัญญาชนนั้นเกิดขึ้นครั้งแรกในโปแลนด์ซึ่งถูกคุมโดยชาวรัสเซียในยุกต์ของการแบ่งแยก ชื่อถูกยืมมาจากจอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิลประมาณช่วงปี..
ปัจจัยสี่
ปัจจัยสี่ เป็นสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต่อการดำรงชีวิต โดยไม่ต้องพึ่งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ เช่นคอมพิวเตอร์ รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น โดยปัจจัยทั้งสี่อย่างนี้มนุษย์ไม่สามารถขาดได้ เพราะเมื่อขาดแล้วอาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ปัจจัยสี่ประกอบไปด้วย 4 ปัจจัยดังต่อไปนี้.
ปีเอตะ
ปีเอตะ" โดย มีเกลันเจโล ปีเอตะโดยลุยส์ จิเมเนซ ปีเอตะ (Pietà; pietas) มาจากภาษาอิตาลี ที่แปลว่า ความสงสาร คือหัวเรื่องของศิลปะในศาสนาคริสต์ที่เป็นรูปพระแม่มารีย์ประคองร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากกางเขน ส่วนใหญ่จะพบในงานประติมากรรม Pietà เป็นหัวเรื่องหนึ่งในชุด “แม่พระระทมทุกข์” (Our Lady of Sorrows) และเป็นฉากหนึ่งใน “พระทรมานของพระเยซู” ซึ่งเป็นฉากที่มีพระแม่มารีย์ นางมารีย์ชาวมักดาลา และบุคคลอื่นล้อมพระศพพระเยซู (หลังจากที่อัญเชิญลงจากกางเขน) ด้วยความความโศกเศร้า ฉากนี้ตามความเป็นจริงแล้วควรจะเรียกว่า “Lamentation” แต่บางที่ก็จะใช้คำว่า “Pietà” แทน คำว่า “pietas” สืบมาจากประเพณีของชาวโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการตึอกชกหัวและ "แสดงอารมณ...ความรักอันใหญ่หลวงและความกลัวอำนาจของเทพเจ้าโรมัน" ปีเอตะเริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปีเอตะแบบเยอรมันและโปแลนด์จะเน้นรอยแผลของพระเยซู.
ปีเตอร์ ซุนเด
ปีเตอร์ ซุนเด โกลมิซอปปิ (Peter Sunde Kolmisoppi) เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2521 นามแฝง โบรค เป็น นักการเมือง ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์ และโฆษก ที่มีต้นตระกูลจากประเทศนอร์เวย์และประเทศฟินแลนด์ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตโฆษกของเว็ปไซต์เดอะไพเรตเบย์ ซึ่งเป็นเสิร์ชเอนจินบิตทอร์เรนต์ เขาเป็นผู้สนับสนุนความเท่าเทียมและแสดงความกัลวลเกี่ยวกับการรวมตัวของอำนาจในสหภาพยุโรปในบล็อกของเขา ซุนเดได้เข้าร่วม พรรคไพเรตแห่งประเทศฟินแลนด์ (Pirate Party of Finland) อีกด้ว.
นกกาน้ำ
นกกาน้ำ (Cormorant, Shag) เป็นนกที่อยู่ในวงศ์ Phalacrocoracidae ซึ่งมีเพียงสกุลเดียว คือ Phalacrocorax.
นกเค้า
นกเค้า หรือ นกเค้าแมว หรือ นกฮูก (Owl) เป็นนกที่อยู่ในอันดับ Strigiformes มีรูปใบหน้าคล้ายแมว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ จับสัตว์เล็ก ๆ กินเป็นอาหาร เช่น หนู, งู หรือสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเล็ก ๆ ในขณะที่บางชนิดที่มีขนาดใหญ่อาจจับปลา หรือปูกินได้ด้วย จัดเป็นนกล่าเหยื่อจำพวกหนึ่งเหมือนเหยี่ยว, อินทรี และแร้ง ที่หากินในเวลากลางวัน ส่วนนกเค้าแมวนั้นมักหากินในเวลากลางคืน ทำให้มีเล็บโค้งแหลมและมีปากงุ้มแหลมสำหรับจับสัตว์กิน เหตุที่หากินในเวลากลางคืน เป็นเพราะนกเค้าแมวเป็นนกที่ไม่อาจสู้กับนกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน อย่าง เหยี่ยวหรืออินทรีได้ อีกทั้งบางครั้งยังถูกนกที่มีขนาดเล็กกว่าอย่าง นกเอี้ยงหรือนกกิ้งโครงไล่จิกตีอีกต่างหาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน จึงมีดวงตาโตกว่าเหยี่ยวและอินทรีมาก ดวงตาอยู่ด้านหน้าของใบหน้าเหมือนมนุษย์และสัตว์ตระกูลแมว หัวหมุนได้เกือบรอบตัวได้ถึง 270 องศา เนื่องจากมีกระดูกสันหลังตรงคอ 14 ชิ้น ซึ่งมากกว่าสัตว์ชนิดใด ๆ ในโลก หูของนกเค้าแมวมีความไวมากเป็นพิเศษสำหรับการฟังเสียงในเวลากลางคืนและหาเหยื่อ มีขนปีกอ่อนนุ่ม บินได้เงียบเพื่อไม่ให้เหยื่อรู้ตัว และมีประสาทสายตาที่มองเห็นได้ดีกว่ามนุษย์ถึง 100 เท่าโดยปกติแล้วตัวเมียมีขนาดโตกว่าตัวผู้ ตัวเมียเป็นตัวที่กกไข่ ตัวผู้ไม่กกไข่ มักพบก้อนที่สำรอกคายออกทิ้งลงมาที่พื้นเบื้องล่างในรังหรือบริเวณใกล้เคียงกับรัง เพราะนกเค้าแมวมักกลืนเหยื่อเข้าไปทั้งตัว กระดูกและขนที่ไม่ย่อยก็สำรอกออกมาเป็นก้อนทิ้งทีหลัง.
นอสเฟอราตู
นอสเฟอราตู อะ ซิมโฟนี ออฟ ฮอร์เรอร์ หรือ ที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า นอสเฟอราตู (อังกฤษ: Nosferatu: A Symphony of Horror, Nosferatu; เยอรมัน: Nosferatu, eine Symphonie des Grauens) ภาพยนตร์สยองขวัญสัญชาติเยอรมนี ออกฉายในปี ค.ศ.
นัยน์ตาปีศาจ
นัยน์ตาปีศาจนาซาร์” ที่ใช้ในการเป็นเครื่องรางในการป้องกันจากนัยน์ตาปีศาจที่ขายกันแพร่หลายในตุรกี นัยน์ตาปีศาจ (Evil eye) เป็นการมองที่เชื่อกันในหลายวัฒนธรรมว่าสามารถทำให้ผู้ถูกมองได้รับการบาดเจ็บหรือโชคร้าย อันเกิดจากการจ้องมองด้วยความอิจฉาหรือความเดียดฉันท์ คำนี้มักจะหมายถึงอำนาจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในการก่อให้เกิดสิ่งที่เลวร้ายได้ด้วยการมองอย่างประสงค์ร้าย ความเชื่อดังกล่าวทำให้วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมพยายามหาทางป้องกันก่อนที่จะเกิดสิ่งที่เลวร้ายขึ้น ความคิดและความสำคัญของนัยน์ตาปีศาจก็แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ความเชื่อนี้ปรากฏหลายครั้งในบทแปลของพันธสัญญาเดิม และแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางในบรรดาอารยธรรมของกลุ่มชนต่าง ๆ ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน กรีซคลาสสิกอาจจะเรียนรู้จากอียิปต์โบราณ และต่อมาก็ผ่านความเชื่อนี้ต่อไปยังโรมันโบราณ.
นครนิวยอร์ก
นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.
แร็มบรันต์
แร็มบรันต์ 100px แร็มบรันต์ ฮาร์เมินส์โซน ฟัน ไรน์ (Rembrandt Harmenszoon van Rijn; 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2149 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2212) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ในประวัติศาสตร์ศิลปะยุโรปและเป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดรายหนึ่งของโลก ผลงานของแร็มบรันต์ทำให้เนเธอร์แลนด์รุ่งเรืองสุดขีดหรือที่เรียกว่ายุคทองในช่วงศตวรรษที่ 17 และเป็นผู้มีอำนาจทั้งด้านอิทธิพลการเมือง วิทยาศาสตร์ พาณิชย์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องจิตรกรรม เขาเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัวเจ้าของโรงงานและหุ้นส่วนโรงสีลมในเมืองไลเดิน เนเธอร์แลนด์ พี่น้องของแร็มบรันต์ถูกฝึกหัดเป็นเจ้าของโรงงาน คนทำขนมปัง หรือช่างทำรองเท้า แต่พ่อแม่ส่งลูกคนเล็กสุดของพวกเขาตอนอายุเจ็ดขวบไปที่โรงเรียนประถมมัธยมศึกษาโปรเตสแตนต์ที่ซึ่งเขาเรียนภาษาละติน เมื่อเขาอายุ 14 ปี แร็มบรันต์ลงทะเบียนที่มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของไลเดิน แต่เขาแทบจะไม่เรียนมากเพราะว่าในขณะเดียวกันเขาขอให้พ่อแม่ของเขาฝึกหัดเขาให้เป็นจิตรกร ความหวังของเขาได้รับการเติมเต็ม และเขากลายเป็นลูกศิษย์ของศิลปินท้องถิ่น ยาโกบ ฟัน สวาเนินบืร์ค (Jacob van Swanenburgh) ซึ่งเพิ่งกลับมาหลังจากการอยู่อาศัยที่ยาวนานในอิตาลี ระหว่างช่วงนี้เขาได้วาดฉากมากมายของแม่มดและนรก เขาสอนแร็มบรันต์ว่าถ่ายความรู้สึกของมนุษย์ลงในภาพอย่างไร ใช้แสงและความมืดเพื่อแบ่งแยกองค์ประกอบสำคัญจากสิ่งเล็กน้อยอย่างไร หลังจากเสร็จการฝึกหัดของเขา แร็มบรันต์ในวัยเยาว์ไปอัมสเตอร์ดัมเป็นครั้งแรก รับการสอนจากปีเตอร์ ลัสต์มัน เป็นไปได้ว่าแร็มบรันต์ใช้เวลาไม่เกินหกเดือนกับลัสต์มันก่อนกลับไปบ้านเดิมของเขาที่ไลเดิน แร็มบรันต์ฝึกงานครั้งแรกของเขา เขาใช้จ่ายร้อยกิลเดอร์ต่อปี ไม่รวมอาหารและที่พัก ต่อมาเขาควบคุมสตูดิโอขนาดใหญ่กับผู้ช่วยและเด็กฝึกงานประมาณ 50 คน พ่อของแร็มบรันต์เสียชีวิตในเดือนเมษายน..
แร้ง
แร้งสีน้ำตาล (''Gyps indicus'') แร้ง หรือ อีแร้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง อยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังคม-วัฒนธรรมของมนุษย์ได้สืบเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรมบ้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้องค์การยูเนสโกจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก.
ดู วัฒนธรรมและแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ
แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.
ดู วัฒนธรรมและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ
แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
แผนที่เฉพาะเรื่อง
แผนที่เฉพาะเรื่อง ของเอดมอนด์ แฮลลีย์ แผนที่เฉพาะเรื่อง (thematic map) เป็นแผนที่ที่แสดงเฉพาะสิ่งที่สนใจในบริเวณพื้นที่ภูมิศาสตร์ที่สนใจ แผนที่นี้สามารถแสดงลักษณะต่างๆ เช่น การเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเกษตร หรือลักษณะเฉพาะของเมือง เช่น เขตการปกครอง หรือ ความหนาแน่นของประชากร.
ดู วัฒนธรรมและแผนที่เฉพาะเรื่อง
แจ็ส (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)
มนสเตอร์ (Meister) หรือ แจส (Jazz) เป็นตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร.
ดู วัฒนธรรมและแจ็ส (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)
แคมฟรอก
แคมฟรอก (Camfrog) เป็นซอฟต์แวร์ของบริษัทแคมแชร์ (Camshare) สามารถให้ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนภาพจากเว็บแคมและเสียงผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมนี้สามารถใช้ให้มีการประชุมออนไลน์ได้หลายคนพร้อมกัน แคมฟรอกแตกต่างจากโปรแกรมทั่วไปโดยผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมบนเซิร์ฟเวอร์ของตัวเองได้ ในปัจจุบัน แคมฟรอกมีการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิด และการแสดงวิดีโอ หลายอย่างรวมถึงเรื่อง การท่องเที่ยว กีฬา ภาษา วัฒนธรรม เล่นเกมตอบปัญหาออนไลน์ แม้แต่เรื่องทางเพศ หรือการร่วมเพศออนไลน์ ในแคมฟรอก แคมฟรอกมีการใช้งานแบ่งออกเป็นห้องโดยแต่ละห้องจะแบ่งออกตามหัวข้อในการสนทนา เช่นห้องสำหรับพูดคุยภาษาอังกฤษ ภาษาอิตาลี ภาษาเยอรมัน สำหรับฝึกภาษา ซึ่งรวมไปถึงภาษามือสำหรับคนพิการที่มีการเปิดไว้ให้คนพิการได้มีโอกาสคุยกันออนไลน์หลายห้อง นอกจากนี้ยังมีห้องสำหรับพูดคุยเรื่องเพลง หรือเล่าเรื่องผี อย่างไรก็ตามการใช้งานส่วนใหญ่ในแคมฟรอกเป็นการใช้งานสำหรับชมและแสดงลามกทางอินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย คนไทยเป็นกลุ่มผู้ใช้บริการโปรแกรมแคมฟรอกมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก โดยส่วนหนึ่งใช้เพื่อรับชมการแสดงลามกอนาจารทางอินเทอร์เน็ต หรือไม่ก็แสดงลามกเสียเอง แคมฟรอกเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากในประเทศไทยระยะหนึ่ง โดยเฉพาะการใช้แคมฟรอกในทางลามกอนาจาร จึงได้มีข่าวออกมาว่าทางกระทรวงไอซีทีพยายามห้ามการใช้งานแคมฟรอกในประเทศไทย โดยเห็นว่าแคมฟรอกสามารถก่อให้เกิดปัญหาการค้าประเวณีในรูปแบบต่าง ๆ เช่นการแสดงลามกแลกกับเงินหรือรหัสบัตรเติมเงิน หรือสิ่งของอื่น หรือการติดต่อซื้อขายบริการทางเพศผ่านโปรแกรมแคมฟรอก ในปัจจุบัน CamfrogThailand ได้ร่วมมือกับทาง ICT แก้ปัญหาการโชว์ลามกอนาจาร โดยการ จัดแยกโซนของไทยแลนด์ออกมา และทำการ ล๊อค IP Address ของผู้เล่นที่มาจากประเทศไทย ให้ไม่สามารถไปยังโซนอื่นๆได้นอกจากโซน Thailand หรือมองเห็นโซน 18+ นอกเสียจากจะต้องเสียเงินซื้อโค๊ดพิเศษมาใช้มี มีเจ้าหน้าที่ มาดูแลรหัสผู้เล่น ThailandTOS (TOS ย่อมาจากTerms Of Service) มาควบคุมดูแลห้องแคมฟรอกเฉพาะโซนไทย และจัดให้มีห้องสนทนาพิเศษที่ขึ้นตรงกับทาง Camfrog จำนวน 2 ห้องคือ ห้องสนทนา CamfrogThailand สำหรับผู้ที่หัดเล่นใหม่ได้เข้ามาผู้คุยและซักถามวิธีการใช้งาน และห้องสนทนา ThailandHelper สำหรับทีมปฏิบัติงานช่วยเหลือ เจ้าหน้าที่ ThailandTOS ซึ่งการติดต่อกันในครั้งนี้ นำมาซึ่งการใช้งานของโปรแกรม Camfrog ในแนวทางที่ดีขึ้นจนถึงวันนี้ และ อาจเป็นกรณีศึกษาที่ดีสำหรับโปรแกรมสนทนาที่มีปัญหาในเรื่องของการโชว์ลามกอนาจารแบบโปรแกรม Camfrog ลักษณะการทำงานของ เจ้าหน้าที่ ThailandTOS เจ้าหน้าที่ สามารถที่จะทำการ ปิดห้อง สนทนาที่พบว่ามีการโชว์ลามกอนาจาร และ แบนไอดีที่ทำการโชว์ลามกอนาจาร พร้อมกับ การแบนโค๊ดในการเปิดห้องสนทนานั้นๆทิ้ง ซึ่งโค๊ดที่กล่าวมาข้างต้นนี้ หากไม่มีการซื้อก็จะไม่สามารถเปิดห้องสนทนาได้ เพื่อให้เจ้าของห้องมีสามัญ สำนึกและเกรงกลัวต่อการโชว์ลามกอนาจารเพิ่มขึ้น.
แคว้นตอสคานา
ตอสคานา (Toscana) หรือ ทัสกานี (Tuscany) เป็นแคว้นหนึ่งของประเทศอิตาลี มีเมืองฟลอเรนซ์ (ฟีเรนเซ) เป็นเมืองหลัก มีเนื้อที่ทั้งหมด 22,990 ตารางกิโลเมตร และมีผู้คนอาศัยอยู่ 3.6 ล้านคน แคว้นตอสคานามีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม (เนื่องจากเป็นที่กำเนิดของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา) สถาปัตยกรรม ศาสนา วัฒนธรรม และอุตสาหกรรม (เนื่องจากมีโรงงานผลิตเสื้อผ้า เสื้อนุ่งห่ม เครื่องหนังจำนวนมาก) ของประเทศอิตาลี แคว้นแห่งนี้เองที่เป็นที่ตั้งของหอเอนเมืองปิซาอันโด่งดัง นอกจากนี้ แคว้นตอสคานายังขึ้นชื่อว่ามีทิวทัศน์งดงามมาก และมีไวน์รสชาติดีเยี่ยม ภาษาอิตาลีที่พูดกันในแคว้นตอสคานาเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการพูดแบบชาวอิตาลีโดยแท้จริงและยอมรับให้เป็นสำเนียงราชการ สำหรับชื่อแคว้น ชาวอิตาลีเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ตอสคานา" แต่ภาษาอังกฤษเรียกชื่อแคว้นนี้ว่า "ทัสกานี" ในภาษาอื่น ๆ ก็มีชื่อเรียกต่างกันไปอีก เช่น ภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า Toscane ในภาษาละตินเรียกว่า Toscia เป็นต้น.
แนวคิดวิวัฒนาการเกี่ยวกับความซึมเศร้า
แนวคิดวิวัฒนาการเกี่ยวกับความซึมเศร้า (Evolutionary approaches to depression) เป็นความพยายามของนักจิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการที่จะใช้ทฤษฎีวิวัฒนาการเพื่อเข้าใจปัญหาของความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) คือ แม้ว่าความซึมเศร้าจะพิจารณาว่าเป็นการทำหน้าที่ผิดปกติของร่างกาย แต่ว่า มันไม่ได้เพิ่มขึ้นตามอายุเหมือนกับความผิดปกติทางกายอื่นมักจะเป็น ดังนั้น นักวิจัยบางพวกจึงสันนิษฐานว่า ความผิดปกติมีรากฐานทางวิวัฒนาการ เหมือนกับทฤษฎีทางวิวัฒนาการของโรคอื่น ๆ รวมทั้งโรคจิตเภทและโรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว แต่ว่าจิตวิทยาและจิตเวชโดยทั่วไปไม่ยอมรับคำอธิบายทางวิวัฒนาการของพฤติกรรม และดังนั้น คำอธิบายต่อไปนี้จึงเป็นเรื่องขัดแย้ง.
ดู วัฒนธรรมและแนวคิดวิวัฒนาการเกี่ยวกับความซึมเศร้า
แนวป้องกันของอัมสเตอร์ดัม
แนวป้องกันของอัมสเตอร์ดัม สร้างขึ้นระหว่างปีคริสต์ศักราช 1880 ถึง 1920 ทอดยาวเป็นระยะทาง 135 กิโลเมตรรอบเมืองอัมสเตอร์ดัม เป็นตัวอย่างเพียงหนึ่งเดียวของปราการที่สร้างอยู่บนหลักของการควบคุมน้ำ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ชาวเนเธอร์แลนด์ได้ใช้ความรู้อันเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฮดรอลิกในการป้องกันเมือง ศูนย์กลางของประเทศได้รับการปกป้องโดยโครงข่ายของป้อมติดอาวุธ 45 ป้อม ที่ทำงานร่วมกับการปล่อยน้ำท่วมชั่วคราวจากพื้นที่ถมทะเล และระบบที่ซับซ้อนของคลองและประตูน้ำ.
ดู วัฒนธรรมและแนวป้องกันของอัมสเตอร์ดัม
โรมโบราณ
ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.
โรคนิ่วไต
รคนิ่วไต (kidney stone disease, urolithiasis) เป็นก้อนวัสดุแข็งที่เกิดในทางเดินปัสสาวะ นิ่วไตปกติจะเกิดในไตแล้วออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะ โดยก้อนเล็ก ๆ อาจจะผ่านออกโดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าใหญ่เกินกว่า 5 มิลลิเมตร ก็อาจขวางท่อไตมีผลให้เจ็บอย่างรุนแรงที่หลังหรือท้องส่วนล่าง นิ่วยังอาจทำให้เลือดออกในปัสสาวะ ทำให้อาเจียน หรือทำให้เจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ (dysuria) คนไข้ประมาณครึ่งหนึ่งจะเกิดนิ่วอีกภายใน 10 ปี นิ่วโดยมากมีเหตุจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งระดับแคลเซียมสูงในปัสสาวะ (hypercalciuria) โรคอ้วน อาหารบางชนิด ยาบางชนิด การทานแคลเซียมเป็นอาหารเสริม ระดับฮอร์โมนพาราไทรอยด์เกินในเลือด (hyperparathyroidism) โรคเกาต์ และดื่มน้ำไม่พอ นิ่วจะเกิดในไตเมื่อแร่ในปัสสาวะเข้มข้นมาก การวินิจฉัยปกติจะอาศัยอาการ การตรวจปัสสาวะ และภาพฉายรังสี โดยการตรวจเลือดอาจมีประโยชน์ นิ่วมักจะจัดกลุ่มตามตำแหน่งที่อยู่ คือ nephrolithiasis (ในไต) ureterolithiasis (ในท่อไต) cystolithiasis (ในกระเพาะปัสสาวะ) หรือโดยองค์ประกอบของนิ่ว เช่น แคลเซียมออกซาเลต (calcium oxalate), กรดยูริก, สตรูไวท์ (struvite), ซิสทีน (cystine) เป็นต้น คนไข้ที่มีนิ่วสามารถป้องกันโดยดื่มน้ำให้ผลิตปัสสาวะมากกว่า 2 ลิตรต่อวัน ถ้ายังไม่พอ อาจทานยาไทอะไซด์ (thiazide), ไซเตรต (citrate, กรดไซตริก) หรืออัลโลพิวรีนอล (allopurinol) คนไข้ควรเลี่ยงดื่มน้ำอัดลม (เช่น โคลา) ถ้านิ่วไม่มีอาการ ก็ไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่เช่นนั้นแล้ว ยาแก้ปวดเป็นการรักษาเบื้องต้น โดยใช้ยาเช่น ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) หรือโอปิออยด์ นิ่วที่ใหญ่เพิ่มขึ้นอาจขับออกได้โดยใช้ยา tamsulosin หรืออาจต้องปฏิบัติการอื่น ๆ เช่น การใช้คลื่นเสียงนอกกายสลายนิ่ว (extracorporeal shock wave lithotripsy), การส่องกล้องท่อไต (ureteroscopy), หรือการผ่าตัดนิ่วผ่านผิวหนัง (percutaneous nephrolithotomy) คนทั่วโลกประมาณ 1-15% จะมีนิ่วไตในช่วงหนึ่งของชีวิต ในปี 2558 มีคนไข้ 22.1 ล้านราย ทำให้เสียชีวิต 16,100 ราย เป็นโรคที่สามัญยิ่งขึ้นในโลกตะวันตกตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยทั่วไป ชายจะเป็นมากกว่าหญิง นิ่วไตเป็นโรคที่ปรากฏตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมีการกล่าวถึงการผ่าตัดเพื่อเอาออกเริ่มตั้งแต่ 600 ปีก่อน..
โรงละครเทศกาลไบรอยท์
รงละครเทศกาลไบรอยท์ (Bayreuth Festspielhaus; Bayreuth Festival Theatre) เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรที่ตั้งอยู่ที่ทางเหนือของเมืองไบรอยท์ ในแคว้นบาวาเรียในประเทศเยอรมนี สร้างเมื่อปี ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและโรงละครเทศกาลไบรอยท์
โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย
กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย
โรงเรียนวัดบางหญ้าแพรก
รงเรียนวัดบางหญ้าแพรก (สมุทรปราการ) ตั้งอยู่หมู่ที่ 16 ต.บางหญ้าแพรก อ.พระประแดง.
ดู วัฒนธรรมและโรงเรียนวัดบางหญ้าแพรก
โรงเรียนวัดพระมหาธาตุ
รงเรียนวัดพระมหาธาตุ โรงเรียนวัดพระมหาธาตุ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช เลขที่ ๔๓๗ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๑ จัดตั้งขึ้นในที่ดินวัดร้างของวัดมังคุดและวัดพระเดิม ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร มีเนื้อที่ ๗ ไร่ ๓ งาน ๒๓ ตารางวา เปิดทำการสอนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน.
ดู วัฒนธรรมและโรงเรียนวัดพระมหาธาตุ
โรงเรียนวิถีพุทธ
รงเรียนวิถีพุทธ มุ่งเน้นการเรียนการเรียนการสอนโดยให้โรงเรียนเป็นดุจกัลยาณมิตร หรือสหายทางปัญญา ภายใต้การพัฒนาตามหลักไตรสิกขา โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โรงเรียนวิถีพุทธ (Buddhist Oriented Schools) หมายถึงโรงเรียนในระบบปกติทุกระดับ ภายใต้การกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ ที่เน้นการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตามหลักไตรสิกขามาบูรณาการประยุกต์ใช้ในการบริหาร และการพัฒนาผู้เรียนในภาพรวมของสถานศึกษา โดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา ผ่านกระบวนการทางวัฒนธรรม แสวงหาปัญญา และมีเมตตา สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม.
ดู วัฒนธรรมและโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์
รงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์ (Srisamrongchanupatham School) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 เป็นโรงเรียนประจำอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2501 ณ ทุ่งคลองกระบาย (โรงเรียนอนุบาลศรีสำโรงในปัจจุบัน) ตำบลสามเรือน อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ก่อนที่จะย้ายมาตั้งอยู่ ณ บ้านเลขที่ 97 หมู่ที่ 6 ตำบลคลองตาล อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ในปัจจุบัน โรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา เป็นสถานศึกษาประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ จัดการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน..
ดู วัฒนธรรมและโรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์
โรงเรียนอันนาลัย
อาคารเทโอฟิลโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน อาคารเทโอฟิลโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน อาคารนักบุญอันนาโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน อาคารนักบุญอันนาโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน โรงเรียนอันนาลัย ตั้งอยู่ที่ 79 ม.4 ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง.
ดู วัฒนธรรมและโรงเรียนอันนาลัย
โลก
"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.
โลกาภิวัตน์
ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
โว้ก (นิตยสาร)
ว้ก (Vogue) เป็นนิตยสารแฟชั่นและครรลองชีวิตของชาวอเมริกัน ที่ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น แฟชั่น ความงาม วัฒนธรรม การใช้ชีวิต และเวทีเดินแบบ โว้กเริ่มทำนิตยสารรายสัปดาห์ในปี..
โอลิมปิกฤดูหนาว 2014
กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 (XXII Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 จัดขึ้น ณ เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ถึง 23 กุมภาพัน..
ดู วัฒนธรรมและโอลิมปิกฤดูหนาว 2014
โอแพร์
อแพร์ (au pair) คือตำแหน่งผู้ช่วยงานที่เป็นชาวต่างชาติและพักอาศัยร่วมภายในบ้าน โดยทั่วไปโอแพร์จะมีหน้าที่ในการเลี้ยงเด็กและทำงานบ้าน โดยได้รับเงินค่าแรง โอแพร์เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า "โอแปร์" (au pair) แปลตรงตัวว่า "เท่าเทียมกัน" ซึ่งหมายความว่าผู้ช่วยงานจะมีความเท่าเทียมกับบุคคลภายในบ้าน แตกต่างจากพนักงานรับใช้ ในขณะเดียวกันเจ้าของบ้านและคนทำงานโอแพร์นั้นจะได้มีการเรียนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ในสหรัฐอเมริกา รัฐบาลได้มีการสนับสนุนโครงการโอแพร์ โดยนอกเหนือจากการให้มาช่วยทำงานแล้ว ยังมีการส่งเสริมให้เรียนต่อในระยะเวลาหนึ่งถึงสองปีเป็นการแลกเปลี่ยน.
โอเซจิ
อเซจิ (御節/ お節) หรือ โอเซจิเรียวริ (御節料理/ お節料理) (เรียวริ แปลว่า การทำอาหาร) เป็นสำรับอาหารสำหรับเทศกาลปีใหม่ในญี่ปุ่น เป็นขนบประเพณีที่มีมาตั้งแต่ยุคเฮอัง โอเซจิ นั้นจะถูกจัดเรียงอยู่ในกล่องสี่เหลี่ยม 3-4 กล่องที่เรียกว่า จูบาโกะ (重箱) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับกล่องเบ็นโต จูบาโกะจะถูกซ้อนเก็บไว้ทั้งก่อนการใช้งานและหลังใช้งาน โอเซจินั้นมักรับประทานร่วมกับโทโซะ ชาวญี่ปุ่นจะรับประทานโอเซจิเรียวริกันในช่วงเวลา 3 วันหลังวันขึ้นปีใหม่ (1 มกราคม) ซึ่งนิยมรับประทานโอเซจิเรียวริเป็นมื้อแรกของปีพร้อมกับครอบครัว.
โจรกรรมทางวรรณกรรม
รกรรมทางวรรณกรรม หรือ การลอกเลียนวรรณกรรม (plagiarism) หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง ในวงวิชาการ โจรกรรมทางวรรณกรรมโดยนิสิตนักศึกษา อาจารย์หรือนักวิจัยถือเป็น “ความไม่สุจริตทางวิชาการ” (en:academic dishonesty) หรือ “การฉ้อฉลทางวิชาการ” (en:academic fraud) และผู้กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (academic censure) โจรกรรมทางวรรณกรรมในงานสื่อสารมวลชนถือเป็นละเมิดจรรยาบรรณทางวารสารศาสตร์ (en:journalistic ethics) นักข่าวที่ถูกจับได้โดยทั่วไปจะถูกลงโทษทางวินัยตั้งแต่พักงานถึงการถูกให้ออกจากงาน สำหรับบุคคลทั่วไปที่ถูกจับได้ว่าทำโจรกรรมทางวรรณกรรมทางวิชาการหรือทางงานหนังสือพิมพ์มักอ้างว่าได้กระทำลงไปโดยไม่ได้ตั้งใจ โดยลืมใส่อ้างอิง หรือใส่คำประกาศกิตติคุณ (en:citation) ที่เหมาะสมไว้ ปัญหาโจรกรรมทางวรรณกรรมเป็นปัญหาที่เกิดมานานนับศตวรรษมาแล้วซึ่งเป็นแบบรูปเล่ม การพัฒนาทางอินเทอร์เน็ตที่บทความปรากฏในรูปของอีเล็กทรอนิกส์ ทำให้งานคัดลอกทำได้เพียง “ลอก” ข้อความในเว็บมา “ใส่” ไว้ในอีกเว็บหนึ่งอย่างง่ายดายที่เรียกว่า “การคัดลอก-แปะ” (en:copying and pasting) โจรกรรมทางวรรณกรรมต่างกับการละเมิดลิขสิทธิ์แม้ทั้งสองคำนี้ใช้กับพฤติกรรมที่คล้าย ๆ กัน เพียงแต่เน้นการละเมิดที่ต่างมุมกัน การละเมิดลิขสิทธิ์เป็นการละเมิดสิทธิ์ด้วยการไม่บอกกล่าวกับผู้ถือลิขสิทธิ์ แต่ขณะเดียวกัน ในอีกด้านหนึ่งโจรกรรมทางวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับการสร้างชื่อเสียงให้ตนเองของผู้กระทำด้วยการแอบอ้างว่าตนเป็นผู้เขียน.
ดู วัฒนธรรมและโจรกรรมทางวรรณกรรม
โขน
น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท.
โครงสร้างส่วนบน
ในสาขาสังคมศาสตร์ โครงสร้างส่วนบน คือกลุ่มของกรอบควบคุมเชิงสังคมและจิตวิทยาที่รักษาโครงสร้างที่เป็นเอกภาพ และมีความหมายภายในสังคม โครงสร้างนี้รวมถึงวัฒนธรรม, สถาบัน, โครงสร้างของอำนาจ, บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในสังคม, รวมไปถึงขนบต่างๆ โครงสร้างดังกล่าวนี้สามารถกำหนดกฎเกณฑ์และแนวปฏิบัติของกิจกรรมต่างๆ ผ่านทางรูปแบบของพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมวดหมู่:สังคมศาสตร์ it:Sovrastruttura pl:Nadbudowa społeczeństwa.
โซเฟีย คอปโปลา
ซเฟีย คาร์มินา คอปโปลา (Sofia Carmina Coppola) เป็นนักเขียนบท ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เป็นอดีตนักแสดง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์สตรีคนที่สาม และสตรีชาวอเมริกันคนแรกที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากเรื่อง Lost in Translation (2003) ต่อจากลินา เวิร์ทมูลเลอร์ (ชาวอิตาเลียน-สวิส ปี 1975 จากเรื่อง Seven Beauties) และเจน แคมเปียน (ชาวนิวซีแลนด์ ปี 1993 จากเรื่อง The Piano) โซเฟีย คอปโปลาเกิดที่นิวยอร์ก เป็นบุตรคนสุดท้องของฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา และเอเลนอร์ คอปโปลา จบการศึกษาด้านการออกแบบเสื้อผ้า และเคยเปิดบริษัทผลิตเสื้อผ้า "Milkfed" วางจำหน่ายเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น.
ไฟลต์แจ็กเกต
MA-1 ที่ผลิตจากไนลอน ไฟลต์แจ็กเกต (flight jacket) หรือ บอมเมอร์แจ็กเกต (bomber jacket) เป็นเครื่องแต่งกายที่สร้างมาจากชุดนักบินสิ่งที่สำคัญที่สุดได้กลายมาเป็นวัฒนธรรมและการแต่งตัว ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่วนมากเครื่องบินจะไม่มีที่ปิดห้องคนขับเครื่องบิน เสื้อผ้าเป็นสิ่งสำคัญของคนขับเครื่องบินสามารถเก็บความอบอุ่นได้อย่างเพียงพอ ในขณะที่ข้าราชการในประเทศฝรั่งเศสและเบลเยียม กลุ่มนักบินยอดเยี่ยมได้เกิดขึ้นแล้วการสวมเสื้อคลุมหนังฟอกยาวในปี 1915 และได้รับความนิยมดีขั้น กองทัพสหรัฐแสดงให้เห็นถึงเสื้อผ้าเป็นศิลปศาสตร์แห่งการบิน ในเดือนกันยายน 1917 และเริ่มแจกจ่ายเสื้อแจ็กเกตการบินหนังฟอกมีความทนทาน ปลอกคอที่พันรอบร่างกาย ปิดซิป กับปีกกันลม ข้อมือและเอวอบอุ่น ตะเข็บและซับในมีความนุ่มและหนา เสื้อแจ็กเก็ตนักบินสหรัฐอเมริกาได้ถูกเกิดขึ้นจนถึงทุกวันนี้.
ไม้จิ้มฟัน
ม้จิ้มฟัน ไม้จิ้มฟัน พร้อมไหมขัดฟัน ในชิ้นเดียวกัน ไม้จิ้มฟัน คือชิ้นไม้หรือพลาสติกหรือวัสดุอื่น ลักษณะเป็นแท่งสั้น ๆ ขนาดเล็ก มีปลายแหลมหนึ่งหรือสองข้าง เป็นอุปกรณ์เพื่อใช้กำจัดเศษอาหารหรือสิ่งสกปรกตามซอกฟัน โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหาร ในประเทศไทยไม้จิ้มฟันมักทำมาจากไม้ไผ่ โดยการฝานไม้ไผ่ให้บาง ตัดพอดีชิ้น สุดท้ายลับและเหลาให้คม ปัจจุบันมักผลิตโดยเครื่องจักร.
ไดซะกุ อิเกะดะ
ซาขุ อิเคดะ หรือ เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม..
ไซเบอร์พังก์
ซเบอร์พังก์ (Cyberpunk) เป็นแนวนิยายวิทยาศาสตร์ชนิดหนึ่ง ที่เน้นในเรื่อง "ความไฮเทคและชีวิตคุณภาพต่ำ" ชื่อนี้เป็นคำผสมของคำว่า cybernetics (มีความหมายว่า วิทยาเกี่ยวกับการติดต่อและควบคุมของสัตว์และเครื่องจักร) และ พังก์ เกิดขึ้นโดย Bruce Bethke โดยเขาใช้ในเรื่องสั้นที่ชื่อ "Cyberpunk" ตีพิมพ์ในปี 1983 โดยมีเนื้อหาเรื่องราววิทยาศาสตร์ล้ำยุค อย่างเช่นเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาเกี่ยวกับการติดต่อและควบคุมของสัตว์และเครื่องจักร ซึ่งทั้งสองอย่างอยู่ในช่วงที่ล้มเหลวหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในสังคม เนื้อเรื่องของไซเบอร์พังก์ จะมุ่งเน้นไปที่ความขัดแย้งกันของเหล่าบรรดาแฮกเกอร์ ปัญญาประดิษฐ์ และ Megacorporation และมีแนวโน้มว่าเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ของโลกมนุษย์ มากกว่าอนาคตอันไกลโพ้น ทัศนคติเกี่ยวกับกับกาแล็กซี่ พบในบทประพันธ์อย่างเช่น สถาบันสถาปนา ของ ไอแซค อสิมอฟ และ ดูน ของแฟรงค์ เฮอร์เบิร์ต โดยเกิดขึ้นในยุคหลังยุคอุตสาหกรรมดีสโตเพียส (โลกอนาคตที่ไม่พึงประสงค์) แต่มีแนวโน้มที่จะท่าทีเกิดความอลหม่านทางวัฒนธรรมผิดธรรมดา และการใช้เทคโนโลยีในทางที่คาดการณ์ไม่ได้ของผู้สร้างGibson, William from Burning Chrome published in 1981 แนวทางบรรยากาศเช่นนี้ยังยังสะท้อนรูปแบบฟิล์มนัวร์ และผู้เขียนผลงานในประเภทนี้มักจะเทคนิคการเขียนแบบการสืบสวน.
เชียงตุง
ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.
เพลงลูกทุ่ง
ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
เพศสภาพของมนุษย์
องมนุษย์ (Human sexuality) เป็นประสบการณ์ซึ่งกระตุ้นความรู้สึกทางเพศและการปลดปล่อยด้านเพศของมนุษย์Rathus, Spencer A., Jeffrey S. Nevid, and Lois Fichner-Rathus.
ดู วัฒนธรรมและเพศสภาพของมนุษย์
เกมส์ซ่าท้ากึ๋น
กมซ่าท้ากึ๋น (欽ちゃん&香取慎吾の全日本仮装大賞; Kinchan and Katori Shingo's All Japan Costume Grand Prix) หรือ คาโซ ไทโช (Kasou Taisho) เกมโชว์ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์นิปปอน เปิดโอกาสให้ผู้เข้าประกวด ที่มีความคิดสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ เช่น ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พระอาทิตย์ขึ้น ปีศาจ ดอกไม้ไฟ สัตว์ประหลาด อาหารหลากหลายแบบ งานเทศกาล ส่วนของร่างกาย ฤดู การเดินทางด้วยยานพาหนะ ผี ละคร ผจญภัย วัฒนธรรม โลกใต้ทะเล การ์ตูนดังต่างๆ สัตว์ กิจวัตรประจำวัน ฮีโร่ การแปลงร่าง บุคคลสำคัญของโลก กีฬาทุกประเภท ภาพล้อเลียน อารมณ์ต่างๆ เป็นต้น รายการนี้ ออกอากาศในประเทศไทยทุกวันอังคาร เวลา 20.40 น.
เกย์เกมส์
กย์เกมส์ (Gay Games) เป็นการแข่งขันที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทางด้านกีฬาและวัฒนธรรมซึ่งจัดและเพื่อนักกีฬากลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ศิลปิน นักดนตรี และอื่น ๆ ที่ต้อนรับผู้ร่วมแข่งขันในทุก ๆ รสนิยมทางเพศ และทุกระดับความสามารถ เดิมทีเรียกว่า เกย์โอลิมปิกส์ โดยเริ่มต้นที่เมืองซานฟรานซิสโก ในปี..
เมืองพี่น้องและเมืองแฝด
ฟีนิกซ์ รัฐแอริโซนา เมืองพี่น้อง (Sister cities) และเมืองแฝด (Twin cities) เป็นคำที่ใช้เรียกเมืองที่การเจริญสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน (ส่วนใหญ่จะเป็นเมืองที่อยู่กันคนละประเทศ) โดยมีความร่วมมือกันระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาเมืองในด้านต่าง ๆ และสนับสนุนความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรม มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ถ่ายทอดซึ่งกันและกัน นำสิ่งดีๆที่อีกฝ่ายหนึ่งมี มาพัฒนาต่อยอดเมืองของตนเอง หรือในบางครั้ง เมืองพี่เมืองน้อง มักจะถูกตีความไปตามลักษณะเมืองที่มีความคล้ายคลึงกัน ทางด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี ชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกัน เราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้องได้ อย่างเช่น เมืองปายกับวังเวียง ที่มีบรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรืออย่าง จังหวัดยโสธรกับเมืองโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝด เพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญความสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพี่เมืองน้องกับเมืองต่างๆทั่วโลก หรือเป็นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายในประเทศ อย่างกรุงเทพมหานคร ที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องระหว่างกรุงเทพมหานคร.กับจังหวัดแพร่ ภายหลังจากที่ กรุงเทพฯได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดแพร่ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู วัฒนธรรมและเมืองพี่น้องและเมืองแฝด
เมคีกาลี
มคีกาลี (Mexicali) เป็นเมืองหลวงของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก เมืองมีประชากร 689,775 คน (ค.ศ. 2010) ขณะที่มหานครมีประชากร 996,826 คน เมืองมีประชากรที่มีระดับการศึกษาสูงและมีความชำนาญทางวิชาชีพ มีความทันสมัยและกลายเป็นศูนย์กลางสำคัญในเขตทะเลทราย แต่เดิมเศรษฐกิจของเมืองขึ้นกับสินค้าการเกษตร ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงเป็นส่วนที่สำคัญทางเศรษฐกิจของเมืองเช่นกัน แต่ยังคงพัฒนาด้านอื่นไปด้วยไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรม เป็นที่ตั้งของบริษัทสำคัญอาทิ มิตซูบิชิ, ออโตไลต์, เนสท์เล่, โคคา-โคล่า และ กูดริชคอร์ปอเรชัน เมืองก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 มีนาคม..
เยรูซาเลม
รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H.
เยติ
รคดี เยติ หรือ มนุษย์หิมะ (เนปาลี: हिममानव himamānav, คำแปล "มนุษย์หิมะ") เป็นชื่อที่ใช้เรียกสัตว์ประหลาดชนิดหนึ่ง ในความเชื่อของชาวเชอร์ปา ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่แถบเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล, ภูฏาน, ธิเบต, จีน จนถึงบางพื้นที่ในมองโกเลียและรัสเซีย โดยเชื่อว่าเยติ เป็นสัตว์ขนาดใหญ่สูงตั้งแต่ 5–8 ฟุต น้ำหนักประมาณ 600 ปอนด์ ที่คล้ายมนุษย์ผสมกับลิงไม่มีหางคล้าย กอริลลา มีขนยาวสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำหรือสีเทาหรือเทาเข้มปกคลุมทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีคล้ำ มีเสียงร้องที่น่าสะพรึงกลัว โดยปรกติแล้ว เยติเป็นสัตว์ที่มีนิสัยสงบเสงี่ยม แต่อาจดุร้ายโจมตีใส่มนุษย์และสัตว์เลี้ยง เช่น จามรี ได้ในบางครั้ง เยติ ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของชาวเชอร์ปามาอย่างช้านาน โดยถูกกล่าวถึงในนิทานและเพลงพื้นบ้าน และเรื่องเล่าขานต่อกันมาถึงผู้ที่เคยพบมัน นอกจากนี้แล้วยังปรากฏในศิลปะของพุทธศาสนานิกายมหายานแบบธิเบต โดยปรากฏเป็นภาพในพรมธิเบตที่แขวนไว้ที่ฝาผนังเหมือนจิตรกรรมฝาผนังในวัดลามะอายุกว่า 400 ปี เป็นภาพของสิ่งมีชีวิตประหลาดอย่างหนึ่งที่ขนดกอยู่ด้านมุมภาพและในมือถือกะโหลกมนุษย์อยู่ และปัจจุบันนี้ ก็มีสิ่งที่เชื่อว่าเป็นหนังหัวของเยติถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในวัดลามะแห่งหนึ่งในคุมจุง ซึ่งนับว่าเยติเป็นสัตว์ที่ถูกกล่าวอ้างถึงยาวนานกว่าสัตว์ประหลาดที่มีลักษณะคล้ายกันชนิดอื่นที่พบในอีกซีกโลก เช่น บิ๊กฟุต หรือ ซาสควาทช์ ในทวีปอเมริกาเหนือ, ยาวี ในทวีปออสเตรเลีย หรืออัลมาส์ ในเอเชียกลาง หากแต่หลักฐานเกี่ยวกับเยติเมื่อเทียบกับบิ๊กฟุตแล้วพบน้อยกว่ามาก แต่มีหลายกรณีที่บ่งชี้ว่าเป็นสัตว์ที่ดุร้าย ก้าวร้าวกว่ามาก นอกจากคำว่าเยติแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ที่เรียกเยติ เช่น เธลม่า (Thelma), แปลว่า "ชายตัวเล็ก" เชื่อว่ามีนิสัยรักสงบ ชอบสะสมกิ่งไม้และชอบร้องเพลงขณะที่เดินไป, ดซูท์เทห์ (Dzuteh) เป็นเยติขนาดใหญ่ มีขนหยาบกร้านรุงรัง มีนิสัยดุร้ายชอบโจมตีใส่มนุษย์, มิห์เทห์ (Mith-teh) มีนิสัยคล้ายดซูท์เทห์ คือ ดุร้าย มีขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำ, เมียกา (Mirka) แปลว่า "คนป่า" เชื่อว่าหากมันพบเห็นสิ่งใดไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ มันจะทำร้ายจนถึงแก่ความตาย, คัง แอดมี (Kang Admi) แปลว่า "มนุษย์หิมะ" และ โจบราน (JoBran) แปลว่า "ตัวกินคน" ขณะที่ในภูฏานเรียกว่า มิกอย (Migoi) หรือ นากอย (Nagoi) ส่วนชื่อ มนุษย์หิมะ นั้น ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ.
เรอูนียง
รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.
เสรี หวังในธรรม
นายเสรี หวังในธรรม (3 มกราคม พ.ศ. 2480 — 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี พ.ศ.
เสือ
ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.
เสือจากัวร์
ือจากัวร์ จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ วงศ์เสือและแมว (Felidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera onca เป็นเสือขนาดใหญ่รองลงมาจากเสือโคร่ง (P.
เสือโคร่ง
ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.
เสื้อผ้า
็กทารกสวมเสื้อผ้ากันหนาว เสื้อผ้า หรือ เครื่องแต่งกาย หรือ เครื่องนุ่งห่ม เป็นสิ่งที่มนุษย์สวมใส่เพื่อปกป้องร่างกายจากสภาวะอากาศ สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย ความสะดวกสบาย ความสุภาพ และเพื่อสะท้อนถึง สังคม ศาสนา วัฒนธรรม รวมถึง รสนิยมเฉพาะตัวบุคคลด้วย เสื้อผ้าบางชนิดอาจออกแบบให้สวมใส่เฉพาะเพศ แต่ไม่นับกรณีการแต่งตัวข้ามเพศ เสื้อผ้าที่ใส่เพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐาน ใส่ไว้เพื่อป้องกันร่างกายไม่ให้ได้รับความอันตรายจากสิ่งแวดล้อมอย่างอากาศ แสงแดดที่รุนแรง ความหนาวสุดขั้ว ฝน กันแมลง สารเคมี อาวุธ และอันตรายอย่างอื่น มนุษย์ยังประดิษฐ์เสื้อผ้าเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ต่าง ๆ การใช้ทำงาน เช่น ชุดอวกาศ, ชุดเกราะ, ชุดว่ายน้ำ, ชุดดำน้ำ, ชุดกันผึ้ง, เสื้อหนังขับมอเตอร์ไซค์ เป็นต้น คนเรายังประดิษฐ์ ประดับสิ่งต่าง ๆ ในร่างกาย อย่าง หมวก ก็อาจจะเรียกว่าเครื่องแต่งก.
เส้นเวลาของอนาคตไกล
ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.
ดู วัฒนธรรมและเส้นเวลาของอนาคตไกล
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
อกลักษณ์ทางวัฒนธรรม (Cultural identity) คือ (ความรู้สึกถึง) เอกลักษณ์ของกลุ่มหรือวัฒนธรรม หรือของปัจเจกบุคคลที่ได้รับอิทธิพลจากการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือวัฒนธรรม เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมมีความคล้ายคลึงและทับซ้อนแต่มีความหมายต่างกันกับ "เอกลักษณ์ทางการเมือง".
ดู วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
เอมิล เคร็บส์
อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.
เอลิเนอร์แห่งอากีแตน
อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน
เอ็มทีวี
ลโก้เอ็มทีวี เอ็มทีวี ย่อมาจาก Music Television เป็นสถานีโทรทัศน์สำหรับวัยรุ่น โดยมีบริษัทแม่อยู่ที่นิวยอร์ก แรกเดิมจะเน้นเปิดมิวสิกวีดีโอ ต่อมาเพิ่มความหลากหลาย สร้างเรียลลิตี้โชว์จำนวนมาก และงานอวอร์ดสต่างๆ โดยเอ็มทีวีได้กลายเป็น Pop Culture ของวัยรุ่นอเมริกัน และทั่วโลกในเวลาต่อมา เอ็มทีวีออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ.
เอเชียใต้
แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.
เฮอร์คิวลีส
อร์คิวลีสและสิงห์โตเนเมียน (รายละเอียด), บนถาดเงินจากคริสต์ศตวรรษที่ 6 เฮอร์คิวลีสและหลานชายหนุ่ม (eromenos) ไอโอลอส (Iolaus) งานโมเสกร้อยปีก่อนคริสต์ศตวรรษจากอันซิโอ นิมฟเฟอุม, โรม บรอนซ์โรมันพบใกล้โรงละครปอมเปย์ในปี ค.ศ.
เผ่าทอง ทองเจือ
ผ่าทอง ทองเจือ หรือที่รู้จักในนาม อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ท่านเป็นบุตรของ นายพานทอง ทองเจือ กับ นางไพบูลย์บุญ ทองเจือ สกุลเดิม: เนติกุล อาจารย์เผ่าทองจึงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ พระยาไพชยนต์เทพ (ทองเจือ ทองเจือ) ท่านเป็นต้นสกุล "ทองเจือ" และ ท้าวอนงค์รักษา (พร้อง ทองเจือ) อาจารย์เผ่าทองเป็นนักประวัติศาสตร์ไทย นักโบราณคดี พิธีกรและวิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ไทย ท่านมีชื่อเล่นว่า "แพน" เป็นน้องชายคนละแม่กับ ภิญโญ ทองเจือ อดีตนักแสดงละครโทรทัศน์ และ ปรางค์ทิพย์ ทวีพาณิชย์ เผ่าทองจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ระดับอุดมศึกษาจากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้วยความชอบในเรื่องโบราณคดีมาแต่เด็ก ๆ ขณะที่ศึกษาอยู่นั้นถืออาจารย์เผ่าทองเป็นบุคคลคณะแรก ๆ ที่ได้เข้าไปขุดค้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ที่จังหวัดอุดรธานีด้วย ในทางวิชาการเคยเป็นอาจารย์ในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทั่งอาจารย์เผ่าทองได้เป็นคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษตามสถาบันต่าง ๆ เช่น โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนจิตรลดา เป็นต้น ก่อนอาจารย์เผ่าทองจะเกษียณตัวเองออกมาก่อนอายุครบ 60 ปี ในแวดวงบันเทิงเคยเป็นนายแบบ พิธีกรและวิทยากรที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของไทยหลายรายการ อาทิ คุณพระช่วย ทางช่อง 9,มิติลี้ลับ ทางช่อง 7 อาจารย์เผ่าทองเคยเป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง ศิลามณี ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ.
เทศบาลตำบลชะรัด
ทศบาลตำบลชะรัด เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง อยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ตำบลชะรัด เป็นตำบลดั้งเดิมของอำเภอกงหรา มีตำนานการสร้างเมืองชะรัด มีทวดมรโหม ซึ่งเป็นผู้ก่อกำเนิดชุมชน อิสลามครั้งแรกที่ชุมชนบ้านชะรัด ชุมชนบ้านชะรัดเป็นชุมชนใหญ่ มีประเพณีวัฒนธรรมที่ถือแบบอย่างมาจากเมืองปัตตานี และได้ขยายออกเป็นชุมชนหลายชุมชนในเวลาต่อม.
เทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.
เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..
ดู วัฒนธรรมและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
เดอะซิมป์สันส์
อะซิมป์สันส์ (The Simpsons) เป็นรายการการ์ตูนซิตคอมในสหรัฐอเมริกา สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง สำหรับ บริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง มีเนื้อเรื่องตลกเสียดสีวิถีชีวิตชนชั้นกลางของชาวอเมริกัน โดยผ่านตัวละครในครอบครัวคือ โฮเมอร์, มาร์จ, บาร์ต, ลิซา และ แม็กกี โดยมีเนื้อหาเกิดที่เมืองที่ชื่อ สปริงฟิลด์ ที่ถากถางมุมมองของสังคมมนุษย์ วัฒนธรรมอเมริกัน สังคมทั้งหมดและวงการโทรทัศน์ แนวความคิดเรื่องตัวละครเกิดจากเกรนิง ก่อนที่เขาจะนำไปสร้างขึ้นเป็นตอนสั้น ๆ โดยผู้สร้าง เจมส์ แอล.
เครื่องเทศ
รื่องเทศนานาชนิด เครื่องเทศ หมายถึง ส่วนต่างๆ ของพืชเช่น เมล็ด เปลือกเมล็ด ผล ผิวนอกของผล ใบ ราก ลำต้น ฯลฯ ที่ทำให้แห้ง แล้วนำมาเป็นเครื่องปรุงในอาหาร เพื่อให้ได้รสชาติ สีสัน กลิ่น หรือคุณสมบัติอื่นๆ ที่ต้องการ ด้วยเหตุนี้เราจึงมีเครื่องเทศเป็นจำนวนมาก เช่น กระวาน กานพลู จันทน์เทศ ดีปลี ยี่หร่า หญ้าฝรั่น มะกรูด พริก พริกไทย อบเชย แม้กระทั่ง งา เครื่องเทศมีปรากฏในหลายวัฒนธรรมมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เครื่องเทศของไทยแต่เดิมอาศัยพืชผักที่ปรากฏเฉพาะในท้องถิ่นของเรา แต่เมื่อได้ติดต่อกับต่างชาติ ทำให้เรารับเอาเครื่องเทศจากชาติอื่นมาใช้ด้วย ขึ้นชื่อว่าเครื่องเทศมีอยู่ 1 ชนิดที่ถูกกล่าวขานกันว่าเป็นราชาของเครื่องเทศนั้นก็คือพริกไทยมีรสชาติเผ็ดร้อนนิยมใช้กันเป็นเครื่องปรุงและเป็นส่วนประกอบในการทำอาหารชนิดต่างๆ อย่างไรก็ตามในชาติตะวันตก ถือว่าเครื่องเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญของอาหาร จึงมีการเดินทางเสาะหาเครื่องเทศจากทั่วโลก ทำให้เกิดการค้าเครื่องเทศขึ้นอย่างจริงจัง และเป็นสาเหตุหนึ่งของการเดินทางสำรวจโลกของชาติตะวันตก นอกจากนี้ยังก่อให้เกิด "เส้นทางสายเครื่องเทศ" ขึ้นอีกด้ว.
เปตรา
right เปตรา (จากภาษากรีก πέτρα แปลว่าหิน ภาษาอารบิก البتراء) คือนครหินแกะสลักโบราณที่ซ่อนตัวอย่างลึกลับในหุบเขาวาดี มูซา หุบเขาที่ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเดดซีกับอ่าวอะกาบาในประเทศจอร์แดน นครนี้แต่เดิมนั้นเป็นนครแห่งการค้าขนาดใหญ่ซึ่งต่อมาถูกละทิ้งเป็นเวลานานกว่า 700 ปี จนเมื่อมีนักสำรวจชาวสวิตเซอร์แลนด์ โยฮันน์ ลุควิก บวร์กฮาร์ท เดินทางผ่านมาพบเห็นเข้าเมื่อปี พ.ศ.
เนลลี เฟอร์ทาโด
นลลี คิม เฟอร์ทาโด เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1978 เป็นนักร้องชาวแคนาดา นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลง นักดนตรี เธอยังถือสัญชาติโปรตุเกสอีกด้วย เฟอร์ทาโดมีชื่อเสียงในปี 2000 หลังจากออกอัลบั้มแรก Whoa, Nelly! และคว้ารางวัลแกรมมี่จากซิงเกิล "I'm like a Bird" ต่อมาเธอแต่งงานและมีลูกจึงไม่ได้มีผลงานผ่านทางสื่อมากนัก และมีผลงานอัลบั้ม Folklore (2003) หลังจากนั้นเธอกลับมากับอัลบั้มในปี 2006 Loose และมีเพลงดังอย่าง "Promiscuous", "Maneater", "Say It Right", และ "All Good Things (Come to an End)" เฟอร์ทาโดเป็นที่รู้จักใน นักทดลองเครื่องดนตรีที่หลากหลาย เสียง แนวเพลง ภาษา การใช้เสียงร้อง ที่แตกต่างกัน ในเพลงของเธอ ความหลากหลายนี้เองมาจากความสนใจในวัฒนธรรมดนตรีอันหลากหลายของเธอ.
Expo Zaragoza 2008
Expo Zaragoza 2008 งานแสดงนิทรรศการนานาชาติที่เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 14 กันยายน 2551 ณ เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันให้ประเทศต่างๆ เห็นความสำคัญเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและให้ความสำคัญของทรัพยากรน้ำต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตตลอดจนการป้องกันปัญหาความขัดแย้งของภูมิภาค เรื่องการขาดแคลนทรัพยากรน้ำในอนาคต ทั้งนี้ ซาราโกซาได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองศูนย์กลางในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งทศวรรษ (ค.ศ.2005 – 2015) ขององค์การสหประชาชาติด้ว.
ดู วัฒนธรรมและExpo Zaragoza 2008
Pictures at an Exhibition
รูปถ่ายของโมเดสต์ มูสซอร์กสกี เมื่อปีค.ศ. 1876 ห้องที่ 3 และ 4 ในท่อนเปิดบทเพลง "Promenade" โดยใช้บทเพลงสำนวนพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงอยู่มาก Pictures at an Exhibition หรือ งานนิทรรศการภาพวาด เป็นบทเพลงชุดผลงานเดี่ยวเปียโนที่ประพันธ์โดย โมเดสต์ มูสซอร์กสกีขึ้นในปีค.ศ.
ดู วัฒนธรรมและPictures at an Exhibition
Think tank
ำภาษาอังกฤษว่า think tank (คณะทำงานระดับมันสมอง, กลุ่มคนที่ทำงานเกี่ยวกับการวิจัย, คณะผู้เชี่ยวชาญ, กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ) หรือ policy institute (สถาบันนโยบาย) หรือ think factory (โรงงานความคิด) เป็นต้น เป็นองค์การที่ทำงานวิจัยและสนับสนุนเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ รวมทั้งนโยบายสังคม กลยุทธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ การทหาร เทคโนโลยี และวัฒนธรรม สถาบันนโยบายโดยมากเป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไร ซึ่งบางประเทศรวมทั้งสหรัฐและแคนาดาเว้นภาษีให้ และพวกอื่นก็ได้ทุนจากรัฐบาล จากองค์การสนับสนุนประเด็นทางกฎหมายต่าง ๆ จากธุรกิจ หรือได้รายได้จากการให้คำปรึกษาหรือการวิจัยที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันนโยบายอาจมีกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากสาขาวิชาต่าง ๆ ทำงานให้กับผู้บริโภคที่เป็นรัฐบาลหรือเอกชน โปรเจ็กต์จากรัฐบาลบ่อยครั้งเกี่ยวกับการวางแผนทางสังคมและการป้องกันประเทศ งานที่ทำให้กับเอกชนอาจรวมการพัฒนาและการทดสอบเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ แหล่งเงินทุนอาจรวมการมอบเงินทุน สัญญาว่าจ้าง การบริจาคส่วนบุคคล และรายได้จากการขายรายงาน.
Triple K
Triple K (ทริปเปิ้ล เค) เป็นการ์ตูนที่ยังไม่ได้นำมาฉายในเครือข่ายโทรทัศน์เป็นการ์ตูนแนวแอนิเมชันของสหรัฐอเมริก.
7
7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).
ดู วัฒนธรรมและ7
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วัฒนธรรมศึกษา
การคว่ำบาตรการต่อต้านยิวการปรองดองการประชุมเอเชีย–ยุโรปการนับรวมทุกกลุ่มคนการแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวกการเพิ่มอำนาจการเปลือยกายกาเลวาลากิจกรรมทางเพศของมนุษย์ภาวะอยากแปลงเพศภาษาศาสตร์ภาษาประดิษฐ์ภาคอีสาน (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์มนุษย์ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์วัฒนธรรมภูเก็ตแฟนตาซีมวยไทยในวัฒนธรรมสมัยนิยมมหากาพย์มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรีมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมหาสมุทรและสุสานมักซ์ เวเบอร์มังกรจีนมาริโอ้ เมาเร่อมานุษยวิทยาการแพทย์มานุษยวิทยาวัฒนธรรมมานุษยวิทยาสังคมมูลนิธิแผ่นดินธรรมมูแลงรูจ!มนุษยศาสตร์ยุทธการทุ่งวอเตอร์ชิปยุคโลหะยุโรปกลางระบำมรณะรายชื่อเผ่าพันธุ์ในสตาร์ วอร์สรายการสาขาวิชารายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รางวัลวัฒนคุณาธรรุกขกรรมรูปเคารพลอสแอนเจลิสลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่างลัทธิทำลายรูปเคารพลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิงล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าวอลต์ดิสนีย์เวิลด์วัฒนธรรมบรรษัทวัฒนธรรมชุบแป้งทอดวัฒนธรรมพื้นบ้านวัฒนธรรมย่อยวัฒนธรรมระดับสูงวัฒนธรรมลาแตนวัฒนธรรมประชานิยมวัดบุปผาราม (จังหวัดตราด)วัดพระพุทธวัดศรีโคมคำวัดคลองตะเคียนวัดเส้าหลินวันชาติสาธารณรัฐจีนวันประชากรโลกวารีบำบัดวิวัฒนาการของมนุษย์วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอนวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วูวูเซลาวงศ์หนูศาลเจ้าชงมโยศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชาศิลปะไทยศิลปะเคลต์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัยศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)ส.พลายน้อยสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศสสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียงสมาคมสร้างคุณค่าสากลสมาคมดนตรีประชาธิปไตยสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิกสมุทรโฆษคำฉันท์สลาวอย ชิเชคสวนหลวง ร.9สะพานพระราม 8สะเต๊ะสักวาปากหวานสังคมสังคมวิทยาสารสนเทศศาสตร์สังคมสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนสารคดีสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรปสิทธิสิทธิชนพื้นเมืองสิงโตสิงโตอินเดียสุลัยมานผู้เกรียงไกรสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันเกอเธ่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นสถาปัตยกรรมศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยใหม่สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีนสงครามกลางเมืองหมึก (สัตว์)หมู่บ้านคุ้งตะเภาหมู่สุสานโคกูรยอหลวงไก่หลักสูตรหอวัฒนธรรมนิทัศน์หอนาฬิกาซัปโปะโระห้าเผ่าอารยะอรรถปริวรรตศาสตร์อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มันอันดับกบอันดับด้วงอารยธรรมอารยธรรมอีทรัสคันอารยธรรมไมนอสอาณาจักรล้านนาอินทรีอีเลียดองคชาตของมนุษย์องค์การนานารัฐอเมริกันอนันต์ เหล่าเลิศวรกุลอนารยชนอนุสัญญาแรมซาร์อเมริกันอันตรายฮิวแมนเวปปอนฮิเดะโอะ ซะซะกิผลงานของวอลแตร์ผู้บริหารผู้หญิงผมทอง ฟัดหัวใจให้โลกตะลึงผีเสื้อ (แมลง)จริยธรรมแพทย์จักรวรรดิจังหวัดสกลนครจิตรกรรมไทยจิ้งหรีดจิ้งหรีดทองดำจุฬาราชมนตรีจุดผลิตน้ำมันสูงสุดจูเลี่ยม กิ่งทองจูเดโอ-คริสเตียนธัชวิทยาถนนคนเดินถ้ำซ็อกกูรัมและวัดพุลกุกซาทฤษฎีสมคบคิดทวีปยูเรเชียทะเลสาบสงขลาทัชชกร ยีรัมย์ทุติยเพ็ญทุนทางสังคมท้อขรัวอินโข่งขอมดอกไม้ไฟดาวทะเลดิอะเมซิ่งเรซดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionáriaคราวซึมเศร้าคลาส (แก้ความกำกวม)ความหมายของชีวิตความหลากหลายทางวัฒนธรรมความผิดปกติทางบุคลิกภาพความผิดปกติทางจิตความทรงจำพื้นบ้านความคิดแทรกซอนความตลกขบขันความเสมอภาคทางสังคมความเอนเอียงความเจ็บปวดความเป็นพลเมืองคำยืมคำหยาบคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทยคณะเยสุอิตคติชนวิทยาคนอสซอสงูเห่าตะวันออกกลางตำบลน้ำขาวต้นสมัยกลางซามูไร อโยธยาซาลซ์บูร์กปฏิทินสุริยจันทรคติประชาสังคมประชาธิปไตยเชิงเนื้อหาประชาธิปไตยเสรีนิยมประภาส ชลศรานนท์ประวัติศาสตร์กรีซประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทยประเพณีประเทศบาห์เรนประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศอินเดียประเทศแอลเบเนียปราสาทหินวัดพูปราโมทย์ สุขุมปลาปัญญาชนปัจจัยสี่ปีเอตะปีเตอร์ ซุนเดนกกาน้ำนกเค้านอสเฟอราตูนัยน์ตาปีศาจนครนิวยอร์กแร็มบรันต์แร้งแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงแอล. แอล. ซาเมนฮอฟแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแผนที่เฉพาะเรื่องแจ็ส (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)แคมฟรอกแคว้นตอสคานาแนวคิดวิวัฒนาการเกี่ยวกับความซึมเศร้าแนวป้องกันของอัมสเตอร์ดัมโรมโบราณโรคนิ่วไตโรงละครเทศกาลไบรอยท์โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนวัดบางหญ้าแพรกโรงเรียนวัดพระมหาธาตุโรงเรียนวิถีพุทธโรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์โรงเรียนอันนาลัยโลกโลกาภิวัตน์โว้ก (นิตยสาร)โอลิมปิกฤดูหนาว 2014โอแพร์โอเซจิโจรกรรมทางวรรณกรรมโขนโครงสร้างส่วนบนโซเฟีย คอปโปลาไฟลต์แจ็กเกตไม้จิ้มฟันไดซะกุ อิเกะดะไซเบอร์พังก์เชียงตุงเพลงลูกทุ่งเพศสภาพของมนุษย์เกมส์ซ่าท้ากึ๋นเกย์เกมส์เมืองพี่น้องและเมืองแฝดเมคีกาลีเยรูซาเลมเยติเรอูนียงเสรี หวังในธรรมเสือเสือจากัวร์เสือโคร่งเสื้อผ้าเส้นเวลาของอนาคตไกลเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมเอมิล เคร็บส์เอลิเนอร์แห่งอากีแตนเอ็มทีวีเอเชียใต้เฮอร์คิวลีสเผ่าทอง ทองเจือเทศบาลตำบลชะรัดเทคโนโลยีเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์เดอะซิมป์สันส์เครื่องเทศเปตราเนลลี เฟอร์ทาโดExpo Zaragoza 2008Pictures at an ExhibitionThink tankTriple K7