เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัชระ เพชรทอง

ดัชนี วัชระ เพชรทอง

นายวัชระ เพชรทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา และเจ้าของคอลัมน์ "วัชรทัศน์" ของ นสพ.แนวหน้า รายวัน.

สารบัญ

  1. 14 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2508พรทิวา นาคาศัยรายนามผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 กรุงเทพมหานครรายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่ได้รับรางวัลพานแว่นฟ้าวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครอรอนงค์ คล้ายนกจังหวัดสุราษฎร์ธานีจตุพร พรหมพันธุ์ธาริต เพ็งดิษฐ์โรงเรียนสุราษฎร์ธานีเอกนัฏ พร้อมพันธุ์

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู วัชระ เพชรทองและพ.ศ. 2508

พรทิวา นาคาศัย

รทิวา ศักดิ์ศิริเวทย์กุล หรือ พรทิวา นาคาศัย(6 มิถุนายน พ.ศ. 2504 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชัยนาท อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ อดีตเลขาธิการพรรคภูมิใจไท.

ดู วัชระ เพชรทองและพรทิวา นาคาศัย

รายนามผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 กรุงเทพมหานคร

้านล่างนี้เป็น รายชื่อผู้สมัครเป็นสมาชิกว..

ดู วัชระ เพชรทองและรายนามผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 กรุงเทพมหานคร

รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่ได้รับรางวัลพานแว่นฟ้า

รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่ได้รับรางวัลพานแว่นฟ้า แสดงผลเริ่มจากปีล่าสุดไปถึงปีแรก โดยผู้ได้รับรางวัลจะเขียนด้วยตัวหนังสือหนาที่ตำแหน่งบนสุดของแต่ละปี เรียงตามประเภทผลงาน และระดับของการประกวด โดยจะแสดงข้อมูลรายชื่อผลงานตามด้วยรายนามนักเขียน ตามลำดั.

ดู วัชระ เพชรทองและรายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่ได้รับรางวัลพานแว่นฟ้า

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ดู วัชระ เพชรทองและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ดู วัชระ เพชรทองและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ดู วัชระ เพชรทองและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ดู วัชระ เพชรทองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

อรอนงค์ คล้ายนก

นางอรอนงค์ คล้ายนก (ชื่อเล่น: แจง; เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) จบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาจากวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ระดับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีประสบการณ์ทำงานเป็นพนักงานของการไฟฟ้านครหลวง และเป็นผู้ช่วยของนายสุพิน คล้ายนก สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตบางแค ผู้เป็นสามี และมีกิจการของตัวเองเกี่ยวกับพลาสติกและบริษัทโฆษณา ปัจจุบัน ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ.

ดู วัชระ เพชรทองและอรอนงค์ คล้ายนก

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ดู วัชระ เพชรทองและจังหวัดสุราษฎร์ธานี

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

ดู วัชระ เพชรทองและจตุพร พรหมพันธุ์

ธาริต เพ็งดิษฐ์

ริต เพ็งดิษฐ์ อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ อดีตคณะกรรมการสำนักงานบริหารการแปลงสินทรัพย์เป็นทุนอดีตคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ และ อดีตอัยการจังหวัดประจำกรม สำนักงานคณะกรรมการอัยการ.

ดู วัชระ เพชรทองและธาริต เพ็งดิษฐ์

โรงเรียนสุราษฎร์ธานี

รงเรียนสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า "โรงเรียนจังหวัด" ใช้อักษรย่อ ".." ก่อตั้งชั้นในปี..

ดู วัชระ เพชรทองและโรงเรียนสุราษฎร์ธานี

เอกนัฏ พร้อมพันธุ์

นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตโฆษก กปปส., อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์, เลขานุการส่วนตัวของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ดู วัชระ เพชรทองและเอกนัฏ พร้อมพันธุ์