สารบัญ
24 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2520พ.ศ. 2523พ.ศ. 2563พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บีมาริเนอร์ 10ระบบสุริยะวอยเอจเจอร์ 2หน่วยดาราศาสตร์อันดับของขนาด (ความเร็ว)ทีทิส (ดาวบริวาร)ดาวบริวารของดาวพฤหัสบดีนิวฮอไรซันส์แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์โพรมีเทียส (ดาวบริวาร)โลก (ดาวเคราะห์)โครงการวอยเอจเจอร์ไมมัส (ดาวบริวาร)เพลบลูดอตเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะเส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะเส้นเวลาของอนาคตไกลเอนเซลาดัส12 พฤศจิกายน5 กันยายน
พ.ศ. 2520
ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2523
ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2563
ทธศักราช 2563 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2020 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี
ร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี (Proxima Centauri b) หรือเรียก พร็อกซิมา บี (Proxima b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบในเขตอาศัยได้ โคจรรอบดาวฤกษ์พร็อกซิมาคนครึ่งม้า ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ประเภทดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคนครึ่งม้า และถือเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด โดยห่างจากโลกราว 4.2 ปีแสง (1.3 พาร์เซก หรือ 40 ล้านล้านกิโลเมตร) ทำให้ดาวเคราะห์นอกระบบดวงนี้เป็นดาวเคราะห์ที่มีศักยภาพต่อการอยู่อาศัยได้ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุดเท่าที่รู้จัก ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี ค้นพบโดยคณะนักดาราศาสตร์จากหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป ประกาศการค้นพบในเดือนสิงหาคม..
ดู วอยเอจเจอร์ 1และพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี
มาริเนอร์ 10
ยานมาริเนอร์ 10 ยานอวกาศมาริเนอร์ 10 เป็นยานอวกาศลำเดียวที่ไปสำรวจดาวพุธ และเป็นยานอวกาศลำแรกที่สำรวจดาวเคราะห์มากกว่าหนึ่งดวง ระหว่างทางไปดาวพุธได้ถ่ายภาพเมฆบนดาวศุกร์ หลังจากนั้น ก็ไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้สามารถผ่านใกล้ดาวพุธ 3 ครั้ง ใน ค.ศ.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และมาริเนอร์ 10
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.
วอยเอจเจอร์ 2
มเดลของยานในโครงการวอยเอจเจอร์ วอยเอจเจอร์ 2 (Voyager 2) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และวอยเอจเจอร์ 2
หน่วยดาราศาสตร์
หน่วยดาราศาสตร์ (Astronomical Unit; ย่อในภาษาอังกฤษว่า AU หรือ au หรือ a.u. หรือ ua) คือ หน่วยของระยะทาง มีค่า (โดยประมาณ) เท่ากับระยะห่างเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ค่าที่ยอมรับในปัจจุบัน เท่ากับ 149,597,870,691±30 เมตร (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์) สัญลักษณ์ "ua" ได้รับการเสนอจากสำนัก Bureau International des Poids et Mesures แห่งฝรั่งเศส แต่ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่มากกว่า ส่วนสหภาพดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) เสนอให้ใช้ "au" ส่วนมาตรฐานนานาชาติ ISO 31-1 นั้นใช้ "AU".
ดู วอยเอจเจอร์ 1และหน่วยดาราศาสตร์
อันดับของขนาด (ความเร็ว)
หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ หมวดหมู่:อันดับของขน.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และอันดับของขนาด (ความเร็ว)
ทีทิส (ดาวบริวาร)
ทีทิส หรือ Saturn III เป็นดาวบริวารขนาดกลางของดาวเสาร์อยู่ผ่านประมาณ 1,060 กิโลเมตร (660 ไมล์) ค้นพบโดย โจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี ในปี ค.ศ.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และทีทิส (ดาวบริวาร)
ดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี
วพฤหัสบดีกับดาวบริวารบริวารที่ใหญ่ที่สุด 4 ดวง ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารเท่าที่ค้นพบและยืนยันแล้ว 67 ดวง ขณะนี้มันจึงเป็นดาวเคราะห์ที่มีบริวารมากที่สุดในระบบสุริยะ ดาวบริวารที่มีมวลมากที่สุด 4 ดวงหรือดวงจันทร์ของกาลิเลโอ ถูกค้นพบในปี ค.ศ.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี
นิวฮอไรซันส์
นิวฮอไรซันส์ (New Horizons; ท. ขอบฟ้าใหม่) เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของนาซา ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอ.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และนิวฮอไรซันส์
แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์
แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์ คือแผ่นบันทึกที่ติดอยู่กับยานสำรวจอวกาศ 2 ลำ ภายใต้โครงการวอยเอจเจอร์ที่ปล่อยขึ้นสู่อวกาศในปี..
ดู วอยเอจเจอร์ 1และแผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์
โพรมีเทียส (ดาวบริวาร)
รมีเทียส (Prometheus) เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ ค้นพบในปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) ด้วยการถ่ายภาพจากยานวอยเอจเจอร์ 1 และถูกกำหนดให้เป็นชื่อชั่วคราว คือ ในช่วงปลายปี 1985 ได้ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการมาจากเทพโพรมีเทียส ยักษ์ในเทพปกรณัมกรีก และถูกกำหนดชื่อเล่นว่า Saturn XVI (16).
ดู วอยเอจเจอร์ 1และโพรมีเทียส (ดาวบริวาร)
โลก (ดาวเคราะห์)
ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และโลก (ดาวเคราะห์)
โครงการวอยเอจเจอร์
เส้นทางการเดินทางของยานอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์เพื่อไปเยือนดาวเคราะห์รอบนอก และมีความเร็วสูงพอจะเดินทางออกนอกระบบสุริยะ โครงการวอยเอจเจอร์ (Voyager Program) คือชื่อโครงการยานสำรวจอวกาศแบบไม่ใช้คนบังคับของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่น และได้รับเงินทุนสนับสนุนจากองค์การนาซา ประกอบด้วยยานสำรวจอวกาศ 2 ลำคือ วอยเอจเจอร์ 1 และ วอยเอจเจอร์ 2 ซึ่งขึ้นสู่อวกาศเมื่อปี ค.ศ.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และโครงการวอยเอจเจอร์
ไมมัส (ดาวบริวาร)
มมัส เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ที่วิลเลียม เฮอร์เชล ค้นพบในปี..
ดู วอยเอจเจอร์ 1และไมมัส (ดาวบริวาร)
เพลบลูดอต
ลกเมื่อมองจากระยะ 6 พันล้านกิโลเมตรจะปรากฏเป็นจุดสีน้ำเงินจางเล็ก ๆ ท่ามกลางอวกาศอันกว้างใหญ่ (จุดกลางภาพค่อนไปทางขวามือ ในลำแสงอาทิตย์ที่ถูกกระเจิงโดยกล้องของยาน) เพลบลูดอต (Pale Blue Dot, "จุดสีน้ำเงินซีด") เป็นภาพถ่ายของโลก ถ่ายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..
เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวก.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
เส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ
้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดวงจันทร์ในระบบสุริยะ ดังรายการต่อไปนี้ แสดงขั้นตอนการค้นพบเทหวัตถุใหม่เรียงตามลำดับในประวัติศาสตร์;ความหมายของสี สัญลักษณ์สีในตารางแสดงความหมายถึงดาวเคราะห์และดวงจันทร์บริวารของมัน ดังต่อไปนี้;ดาวเคราะห์;ดาวเคราะห์แคระ หรือดาวที่น่าจะเป็นดาวเคราะห์แคร.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และเส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ
เส้นเวลาของอนาคตไกล
ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และเส้นเวลาของอนาคตไกล
เอนเซลาดัส
อนเซลาดัส (Enceladus) หรือ Saturn II เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับที่ 6 ของดาวเสาร์ ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมันนาม วิลเลียม เฮอร์เชล เมื่อ..
12 พฤศจิกายน
วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.
ดู วอยเอจเจอร์ 1และ12 พฤศจิกายน
5 กันยายน
วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Voyager 1ยานวอยเอเจอร์ 1ยานอวกาศวอยเอเจอร์ 1วอยเอเจอร์ 1