สารบัญ
113 ความสัมพันธ์: ชลิตรัตน์ จันทรุเบกษาชัยอนันต์ สมุทวณิชบุญพันธ์ แขวัฒนะพ.ศ. 2453พชร สมุทวณิชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)พระสันธิวิทยาพัฒน์ (ไล่เฮียง สิริสิงห)พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)พระนาย สุวรรณรัฐพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพรเพชร วิชิตชลชัยพลยุทธ อังกินันทน์พลอย จริยะเวชพันศักดิ์ วิญญรัตน์พิภู พุ่มแก้วพิษณุ แช่มบางพิธีสำเร็จการศึกษากฤษณ์ สีวะรากัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยาการลูกเสือการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกำจร สถิรกุลภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญมหาธีรราชเจ้ารายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทยรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/วรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชวชิราวุธวิทยาลัยวังรื่นฤดีวิลาศ โอสถานนท์วิจิตร คุณาวุฒิวิทิต มันตาภรณ์วินธัย สุวารีวิเชียร วัฒนคุณศุขปรีดา พนมยงค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสันติ์ เทพมณีสันต์ ศรุตานนท์สุเมธ ตันติเวชกุลหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่หม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล... ขยายดัชนี (63 มากกว่า) »
ชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา
นายชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา หรือ เสี่ยหม่อง อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โฆษกพรรคชาติพัฒนา และอดีตผู้อำนวยการเลือกตั้งพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา
ชัยอนันต์ สมุทวณิช
ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและชัยอนันต์ สมุทวณิช
บุญพันธ์ แขวัฒนะ
นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร และรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 9 สมั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและบุญพันธ์ แขวัฒนะ
พ.ศ. 2453
ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพ.ศ. 2453
พชร สมุทวณิช
นายพชร สมุทวณิช นักเขียน และ ผู้บริหารหนังสือในเครือผู้จัดการ และ เว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพชร สมุทวณิช
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
อำมาตย์โท ดร.พระช่วงเกษตรศิลปการ (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)
มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)
พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)
มหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2433 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2517) อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บังคับการโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม่ รักษาการณ์ผู้บังคับการโรงเรียนราชวิทยาลัย เจ้ากรมโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ในสมัยรัชกาลที่๖ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นบิดาของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีของไท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)
พระสันธิวิทยาพัฒน์ (ไล่เฮียง สิริสิงห)
ระสันธิวิทยาพัฒน์ ชื่อเดิม ไล่เฮียง เป็นคนไทยเชื้อสายจีน บิดาชื่อเฮง ปู่ชื่อฮักเซง เคยเป็นผู้กำกับคณะดุสิตของโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระสันธิวิทยาพัฒน์ (ไล่เฮียง สิริสิงห)
พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)
ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)
พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
ระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) ม.ว.ม. ป..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
พระนาย สุวรรณรัฐ
ระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารชายแดนใต้ (ผอ.ศอ.บต.) พื้นเพเป็นคนกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ เคยตามบิดาซึ่งเป็นข้าหลวงไปปราบโจรสลัดทะเลสาบ เดินทางไปเติบโตที่จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ ปี พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระนาย สุวรรณรัฐ
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
พรเพชร วิชิตชลชัย
ตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง ใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เคยดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 และที่ปรึกษากฎหมายของคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพรเพชร วิชิตชลชัย
พลยุทธ อังกินันทน์
นายพลยุทธ อังกินันทน์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองนายกเทศมนตรีเมืองเพชรบุรี, ประธานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนชุมชนเมืองเพชรบุรี และกรรมการผู้จัดการ บริษัท ชะอำธารทิพย์ จำกั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพลยุทธ อังกินันทน์
พลอย จริยะเวช
ลอย จริยะเวช นักเขียนสไตล์ Informative Entertaining นักแปล และนักออกแบบคอนเซปต์ เกิดวันที่ 8 พฤศจิกายน..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพลอย จริยะเวช
พันศักดิ์ วิญญรัตน์
นายพันศักดิ์ วิญญรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านโยบายเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พ.ต.ท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพันศักดิ์ วิญญรัตน์
พิภู พุ่มแก้ว
ู พุ่มแก้วกล้า (ชื่อเล่น: ต๊ะ) อดีตดีเจ ทางคลื่นซี้ด 97.5 FM เคยเป็น ผู้ประกาศข่าว ของสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี และ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ ปัจจุบันเป็นพนักงานประจำของสำนักข่าว The Standard โดยมีงานหลักคือ ผู้ประกาศข่าว รายการ The Standard Dailyhttps://thestandard.co/tha-pipoauh-poomkaewkla/.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพิภู พุ่มแก้ว
พิษณุ แช่มบาง
รูพิษณุ แช่มบาง มีนามเดิมว่า พิสมัย เป็นบุตรของนายแปลก และนางละม่อม แช่มบาง เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพิษณุ แช่มบาง
พิธีสำเร็จการศึกษา
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและพิธีสำเร็จการศึกษา
กฤษณ์ สีวะรา
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและกฤษณ์ สีวะรา
กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
การลูกเสือ
ตราของการลูกเสือ กิจการการลูกเสือ ได้อุบัติขึ้นเป็นแห่งแรกของโลก โดยลอร์ดเบเดน โพเอลล์ (Lord Baden Powell) เรียกย่อว่า "บี พี" ที่ประเทศอังกฤษ เมื่อปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและการลูกเสือ
การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง
การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง
การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
กำจร สถิรกุล
กำจร สถิรกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย คนที่ 11 และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและกำจร สถิรกุล
ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ
ลโท ศาสตราจารย์คลินิก ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ตุ้ย) อดีตเจ้ากรมแพทย์ทหารบก/ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก ท่านที่ 37 (1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556), อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า (1 ต.ค.54 - 30 ก.ย.55), อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า/ผู้อำนวยการวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (28 เม.ย.49 - 31 มี.ค.50).
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ
มหาธีรราชเจ้า
มหาธีรราชเจ้า เป็นสารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และครบรอบ 100 ปี วชิราวุธวิทยาลัย โดยรูปแบบของสารคดีเป็นการผสมกันระหว่างสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง ที่มีการถ่ายทำในสถานที่จริงและสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง กับธิราชเจ้าจอมสยาม ที่มีละครสั้นประกอบ แต่ในสารคดีชุดนี้จะไม่มีบทพูดของตัวแสดง นอกจากนี้ ในช่วงท้ายยังมีเกร็ดสิ่งแรกในเมืองไทยที่เกิดในรัชกาลที่ 6 อีกด้ว.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและมหาธีรราชเจ้า
รายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทย
รายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทย เรียงลำดับตามตัวอักษร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและรายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทย
รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ว
รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ว.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ว
รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)
ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีม่วงอ่อนบนแผนที.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)
รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร
ริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ระโกศพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ริ้วขบวนพระอิสริยยศในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วกระบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วขบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
วชิราวุธวิทยาลัย
วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวชิราวุธวิทยาลัย
วังรื่นฤดี
วังรื่นฤดี เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 ตั้งอยู่เลขที่ 69 ซอยสันติสุข สุขุมวิท 38 กรุงเทพมหานคร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวังรื่นฤดี
วิลาศ โอสถานนท์
ันตรี วิลาศ โอสถานนท์ หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 อดีตประธานพฤฒสภาและประธานรั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวิลาศ โอสถานนท์
วิจิตร คุณาวุฒิ
วิจิตร คุณาวุฒิ หรือ คุณาวุฒิ (23 มกราคม พ.ศ. 2465 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละคร) ประจำปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวิจิตร คุณาวุฒิ
วิทิต มันตาภรณ์
ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวิทิต มันตาภรณ์
วินธัย สุวารี
ันเอก(พิเศษ) วินธัย สุวารี (ชื่อเล่น: ต๊อด; เกิด: 7 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นโฆษกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และโฆษกกองทัพบกและนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงเด่นในการรับบทเป็น สมเด็จพระเอกาทศรถ จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวินธัย สุวารี
วิเชียร วัฒนคุณ
ตราจารย์พิเศษ วิเชียร วัฒนคุณ (9 สิงหาคม พ.ศ. 2473 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2557)เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน 2 สมัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (อานันท์ 1) เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส และเป็นบุคคลที่เสนอชื่อนายปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลสำคัญของโลกต่อยูเนสโก ศาสตราจารย์พิเศษ วิเชียร วัฒนคุณ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิเชียร วัฒนคุณ จบการศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และปริญญาตรีธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิเชียร วัฒนคุณ สมรสกับ เรณู วัฒนคุณ บุตรีของพลเรือโท ศรี ดาวราย และหม่อมราชวงศ์อบลออ ดาวร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและวิเชียร วัฒนคุณ
ศุขปรีดา พนมยงค์
ปรีดา พนมยงค์ (5 กันยายน พ.ศ. 2478 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553) เป็นนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์การเมือง และนักเขียนอิสระ มีผลงานเขียน อาทิ ชีวประวัติผู้นำการต่อสู้กู้เอกราชเวียดนาม "โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ" และ "เรียนรู้ประวัติศาสตร์ลาวผ่านชีวิตเจ้าสุพานุวง" เป็นผู้หนึ่งที่มีความสนิทสนมคุ้นเคยกับบุคคลสำคัญและมีสัมพันธ์อันดียิ่งกับประเทศเพื่อนบ้านในแถบลุ่มแม่น้ำโขง จากการที่ได้เคยติดตามบิดาไปยังประเทศเหล่านั้น ศุขปรีดาใช้ชีวิตการทำงานอยู่ต่างประเทศหลายสิบปี ก่อนจะกลับมาเป็นที่ปรึกษาให้กับบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) จนกระทั่งถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและศุขปรีดา พนมยงค์
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
สันติ์ เทพมณี
นายสันติ์ เทพมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 3 สมัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำพูนคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง และเป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองลำพูน.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและสันติ์ เทพมณี
สันต์ ศรุตานนท์
ลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและสันต์ ศรุตานนท์
สุเมธ ตันติเวชกุล
ร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา สุเมธ ตันติเวชกุล หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและสุเมธ ตันติเวชกุล
หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่
หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ กับหม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ และหม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ (21 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่
หม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล
หม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2492) เป็นบุตรหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล กับหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล (ราชสกุลเดิม ฉัตรไชย) สมรสกับ พันโทหญิงนิภาพรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศิริถาพร) มีบุตรธิดา 3 คน คือ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล
หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร
ลตำรวจตรี หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนโตของหม่อมเจ้าจิตรปรีดี ประวิตร และหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร (ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)) หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ สมรสกับ คุณหญิงสุปรียา ประวิตร ณ อยุธยา (รักตประจิต) มีบุตร 2 คน คือ.ต.ท.หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร และพลตรีหม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร รับการศึกษาชั้นประถมที่ โรงเรียนราชินี และมาต่อชั้นมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ที่วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วเดินทางไปศึกษาต่อที่ โรงเรียน จีลอง แกรมมา สกูล จบการศึกษาด้านวิศวกรรมเครื่องกล เมลเบิร์น เทคนิคอล คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย ศึกษาวิชาตำรวจและสายตรวจวิทยุ ที่สหรัฐอเมริกา ศึกษาวิชาบรรเทาสาธารณภัยที่ประเทศอังกฤษ 2 ปี ก่อนเข้ารับราชการตำรวจเมื่อปี 2498 โดยเป็นตำรวจสังกัดกองตำรวจยานยนต์ สมัย พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ต่อมาในปี 2503 ได้ย้ายมาสังกัดกองตำรวจดับเพลิง ได้เลื่อนยศเป็น ร.ต.อ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร
หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล
หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล (20 ธันวาคม 2457 - 26 พฤศจิกายน 2527) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นโอรสของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย และหม่อมเพี้ยน เทวกุล (บุนนาค) เกิดที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล
หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์
หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ (26 มกราคม พ.ศ. 2466 - 7 เมษายน พ.ศ. 2549) อดีตราชเลขาธิการ และองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการไตวาย และหัวใจวาย เมื่อเวลา 01.53 น.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล
รืออากาศโท หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล หรือท่านเป๋อ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477 - 20 เมษายน พ.ศ. 2557) เป็นพระโอรสใน พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับ หม่อมบุญล้อม ยุคล ณ อยุธยา ทรงมีหม่อมเจ้าพี่น้องร่วมพระบิดาเดียวกันกั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล
หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล
ลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล
หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ
ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ
หลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ)
ลตำรวจเอก หลวงชาติตระการโกศล นามเดิม เจียม ลิมปิชาติ (ได้รับพระราชทานนามสกุลนี้เมื่อครั้งยังเป็นนักเรียนมหาดเล็กหลวง) เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและหลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ)
อาคารอนุรักษ์
อาคารอนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทางสถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ โดยหน่วยงานที่เป็นกำลังหลักในการส่งเสริมคือ คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบรางวัลด้านการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานการมอบรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น อย่างต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและอาคารอนุรักษ์
อดิศัย โพธารามิก
อดิศัย โพธารามิก เกิดเมื่อ 23 เมษายน พ.ศ. 2483 มีพี่ชายคนเดียว ชื่อ นายแพทย์ยุทธ โพธารามิก สมรสกับ รองศาสตราจารย์ ดร.พิชนี โพธารามิก กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตร 1 คน ชื่อ พิชญ์ โพธารามิก เป็นเจ้าของบริษัทเครือ โมโน กรุ๊ป.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและอดิศัย โพธารามิก
จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต จักรพันธุ์ โปษยกฤต หรือที่รู้จักกันในนาม อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและจักรพันธุ์ โปษยกฤต
จักรทิพย์ ชัยจินดา
ลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา (ชื่อเล่น: แป๊ะ, เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายตำรวจราชสำนักเวร, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน, กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, กรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์, กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางพระพุทธศาสนา, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการทำประมงผิดกฎหมาย, ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ, กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว, กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559, กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการการบริหารการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธาน บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ จำกัด ประธานสโมสร โปลิศ เทโร กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และ อดีตกรรมการอิสระ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและจักรทิพย์ ชัยจินดา
จารุจินต์ นภีตะภัฏ
ร.จารุจินต์ นภีตะภัฏ (22 มกราคม พ.ศ. 2493 - 12 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ หรือ อพว.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและจารุจินต์ นภีตะภัฏ
จุลสิงห์ วสันตสิงห์
ตราจารย์พิเศษ จุลสิงห์ วสันตสิงห์ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคดีพิเศษด้านการเงินการธนาคาร อดีตอัยการสูงสุด เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและจุลสิงห์ วสันตสิงห์
จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
ธราวุธ นพจินดา
ราวุธ นพจินดา (ชื่อเล่น: หนู; นามปากกา: น้องหนู) อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาทางโทรทัศน์, อดีตผู้ประกาศข่าวกีฬา ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและธราวุธ นพจินดา
ธนากร โปษยานนท์
นากร โปษยานนท์ (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2515) ชื่อเล่น อู๋ เป็นนักแสดง นักพากย์หนัง ดีเจ นายแบบ พิธีกร และนักบริหารของ 2 บริษัท คือ Spy Soft by BECI บริษัทผู้ผลิตคอนเทนท์ - แอปพลิเคชันบนมือถือ และ Charm Entertainment บริษัทครีเอทีพ โปรดักชั่นเฮ้าส์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนราชินี ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และระดับอุดมศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกบริหารรัฐก.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและธนากร โปษยานนท์
ขจร ภะรตราชา
ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๑ กรกฎาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและขจร ภะรตราชา
ณัฐ ภมรประวัติ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ณัฐ ภมรประวัติ (29 พฤศจิกายน 2471 – 16 กุมภาพันธ์ 2547) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและณัฐ ภมรประวัติ
คณะ
ณะ สามารถหมายถึง.
คณะลูกเสือแห่งชาติ
ณะลูกเสือแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี(National Scout Organization of Thailand; NSOT) เป็นองค์การที่ดูแลเกี่ยวกับการลูกเสือในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและคณะลูกเสือแห่งชาติ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะองคมนตรีไทย
ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและคณะองคมนตรีไทย
งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีราชวิทย์-วชิราวุธ
การแข่งขันรักบี้ฟุตบอลประเพณีราชวิทยาลัย - วชิราวุธวิทยาลัย เป็นการแข่งขันรักบี้ฟุตบอลประเพณีและการแปรอักษรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เพื่อชิงถ้วยพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ระหว่างโรงเรียนชายล้วนเก่าแก่ 2 สถาบันของประเทศไทย ได้แก่ โรงเรียน ภ.ป.ร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและงานรักบี้ฟุตบอลประเพณีราชวิทย์-วชิราวุธ
ประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ
นายประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี เจ้าของธุรกิจสวนผลไม้ทุเรียนกระดุมทองเจ้าแรกๆ ของจันทบุรี จนได้รับฉายา "เจ้าพ่อกระดุมทอง" และเป็นบิดาของนายพงศ์เวช เวชชาชีว.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ
ประสพสุข บุญเดช
ตราจารย์พิเศษ ประสพสุข บุญเดช อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานศาลอุทธรณ์ และอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกฎหมายครอบครัว-ทรัพย์สินทางปัญญา และอาจารย์ด้านนิติศาสตร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและประสพสุข บุญเดช
ประทักษ์ ประทีปะเสน
ประทักษ์ ประทีปะเสน นักไวโอลิน และวาทยากรที่มีชื่อเสียง เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดนตรีสากล สังกัดกองการสังคีต กรมศิลปากร และเป็นผู้อำนวยเพลง วงดุริยางค์เครื่องลม แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประทักษ์ ประทีปะเสน จบการศึกษาจากวชิราวุธวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านดนตรีที่ประเทศอังกฤษ และได้รับทุนรัฐบาลไทยไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา ด้านไวโอลินและการอำนวยเพลง จนสำเร็จปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ได้รับเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ A.R.A.M.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและประทักษ์ ประทีปะเสน
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2453
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2453 ในประเทศไท.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2453
ปาล พนมยงค์
ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและปาล พนมยงค์
นวรัต ไกรฤกษ์
นายแพทย์นวรัต ไกรฤกษ์ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) เจ้าของนามปากกา หมอนพพร เป็นแพทย์เฉพาะทางด้านโรคผิวหนัง และกามโรค มีชื่อเสียงในฐานะนักเขียนบทความตอบปัญหาเพศศึกษา ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ชื่อคอลัมน์ "เสพสมบ่มิสม" เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและนวรัต ไกรฤกษ์
นะโม ทองกำเหนิด
ทองเปาด์ ทองกำเหนิด (ชื่อเล่น นะโม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2530 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการในปี พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและนะโม ทองกำเหนิด
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
ันเอก นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) อดีตประธานวุฒิสภา, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
นิธิ สถาปิตานนท์
นิธิ สถาปิตานนท์ เกิด 7 กรกฎาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและนิธิ สถาปิตานนท์
แยกสุโขทัย
แยกสุโขทัย (Sukhothai Intersection) เป็นสี่แยกในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนสุโขทัยกับถนนพระรามที่ 5.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและแยกสุโขทัย
แถมสิน รัตนพันธุ์
นายแถมสิน รัตนพันธุ์ อดีตคอลัมนิสต์ผู้เขียนเรื่องราว ในวงการสังคมชั้นสูง ในหนังสือพิมพ์ และนิตยสารหลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ ผู้จัดการรายวัน โพสต์ทูเดย์ สกุลไทย เป็นต้น โดยใช้นามปากกาว่า “ลัดดา” ซึ่งเป็นชื่อภรรยาของเขาเอง.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและแถมสิน รัตนพันธุ์
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
รงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน เดิมคือโรงเรียนราชวิทยาลัย พระราชทานกำเนิดโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ก่อนจะถูกยุบรวมเป็นวชิราวุธวิทยาลัย ในสมัยรัชกาลที่ 7 และถูกฟื้นฟูใหม่อีกครั้งโดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระมหากรุณารับโรงเรียนไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญอักษรพระปรม.ป.ร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
โรงเรียนราชวิทยาลัย
รงเรียนราชวิทยาลัย (ปัจจุบันคือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) เป็นโรงเรียนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริที่จะจัดตั้งเพื่อผลิตบุคลากรรองรับการปฏิรูปการปกครองประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในด้านการใช้ภาษาอังกฤษและด้านกฎหมาย มีการฝึกและอบรมให้คุ้นเคยกับการเรียนและวัฒนธรรมแบบตะวันตกอันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อต่างประเทศ และเข้ารับราชการในกระทรวงต่างๆ โรงเรียนราชวิทยาลัย มีการโยกย้ายที่ตั้งสถานศึกษาถึง 4 สมั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนราชวิทยาลัย
โรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ
รงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ตัวอักษร190px) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ รูปแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนขุนลุมประพาส ตำบลจองคำ อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน เป็นโรงเรียนในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ
โซตัส
ซตัส (SOTUS) คือระบบหนึ่งซึ่งเป็นรูปแบบของการฝึกนักเรียนนักศึกษาใหม่ในประเทศไทย และใช้เฉพาะในประเทศไทย โดยเฉพาะในช่วงกิจกรรมต้อนรับนักศึกษาใหม่หรือที่เรียกว่าการรับน้อง โซตัสเป็นที่ถกเถียงในสังคมไทยทั่วไปว่าระบบนี้มีความถูกต้องชอบธรรมในการใช้ฝึกอบรมหรือสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันหรือไม่ แม้ว่าผู้บริหารหรือองค์การนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาบางแห่งมีนโยบายอย่างชัดเจนว่าไม่สนับสนุนระบบโซตัส แต่ระบบนี้ก็ยังพบอย่างแพร่หลายอยู่ทั่วไปในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาต่างๆ รวมถึงโรงเรียนมัธยมบางแห่งด้วย ระบบโซตัสมักจะมีการใช้หลักจิตวิทยาและสร้างเหตุการณ์ขึ้นโดยการยกข้ออ้างเรื่องความสามัคคีในหมู่คณะและการเคารพผู้อาวุโสที่ได้เข้าศึกษาก่อน เพื่อให้นักเรียนนักศึกษาที่เข้าศึกษาใหม่เกิดความเกรงกลัวและปฏิบัติตามกฎที่รุ่นพี่ได้วางเอาไว้ ซึ่งบ่อยครั้งที่การใช้ระบบโซตัสเป็นการแบ่งชนชั้นให้รุ่นพี่ให้มีอำนาจมากกว่ารุ่นน้องที่เข้ามาใหม่ หากรุ่นน้องไม่ปฏิบัติตามอาจได้รับการลงโทษทำให้เกิดความเกรงกลัวหรือถูกตัดขาดจากกลุ่มคณะสาขาที่เรียนด้วยกันแม้ว่าการปฏิบัตินั้นจะเป็นเรื่องผิดในสังคมก็ตาม ระบบโซตัสจึงถูกมองว่าเป็นการริดรอนสิทธิเสรีภาพของรุ่นน้องและเป็นส่วนหนึ่งของการเกิดระบบอุปถัมป์ในประเทศไทย ระบบโซตัสมักจะถูกควบหมายรวมกับการรับน้อง ซึ่งในความเป็นจริงระบบโซตัสกับการรับน้องเป็นสิ่งที่แยกออกจากกันหรือจะควบคู่กันก็ได้.
ไพโรจน์ ไชยพร
นายไพโรจน์ ไชยพร (1 ตุลาคม พ.ศ. 2476 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2544) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม 2 สมั.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและไพโรจน์ ไชยพร
ไกรศรี จาติกวณิช
นายไกรศรี จาติกวณิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากร และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมสรรพากร เกิดวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและไกรศรี จาติกวณิช
เชาวน์ ณศีลวันต์
วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเชาวน์ ณศีลวันต์
เพชร มาร์
ร มาร์ มีชื่อจริงว่า พิทรี่ วิคเตอร์ เอดวาร์ด มาร์ เป็นโปรดิวเซอร์และนักดนตรีชาวไทยและคอมเมนเตเตอร์ประจำรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ลูกครึ่งไทย-สก๊อตแลนด์ เป็นบุตรของสจ๊วต และวี มาร์ บิดาเป็นผู้ก่อตั้งวงปี่สก๊อตโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และมารดาเป็นผู้มีชื่อเสียงแวดวงไฮโซ เพชรเริ่มทำงานวงการดนตรี โดยร่วมงานกับกลุ่มดนตรีบัตเตอร์ฟลาย ต่อมาได้เป็นโปรดิวเซอร์ ให้กับศิลปินนักร้องค่ายแกรมมี่ ที่มีชื่อเสียงได้แก่ ธงไชย แมคอินไตย์, อัสนี-วสันต์, คูณสามซูเปอร์แก๊งค์ เป็นต้น จนเมื่อถกลเกียรติ วีรวรรณ ทำรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว เพชรจึงได้รับการชักชวนให้เป็นหนึ่งในกรรมการตัดสินผู้เข้าประกวดร้องเพลง หรือคอมเมนเตเตอร์ของรายการ ด้วยบุคลิกที่เรียบเฉย บวกกับคำพูดตรงไปตรงมา วิจารณ์อย่างไม่เกรงใจใคร ทำให้ชื่อของเพชรเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และมีงานแสดงเบื้องหน้าให้เห็นเรื่อยๆ เพชรยังเคยรับหน้าที่เป็นพิธีกรภาคสนามของรายการเกมเนรมิต ทางช่อง 5 ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับแอร์โฮสเตสสาวคนหนึ่ง มีบุตรชาย 1 คน คือ ตาธาร มาร์ (ชื่อเล่น ตาตั้น).
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเพชร มาร์
เกษม ศิริสัมพันธ์
กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเกษม ศิริสัมพันธ์
เภา สารสิน
ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเภา สารสิน
เวียงเจ็ดลิน
วียงเจ็ดลิน (80px) เป็นเวียง (เมือง) ขนาดเล็ก ตั้งอยู่บริเวณเชิงดอยสุเทพทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม่ เป็นเวียงที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ล้านนาภาพถ่ายทางอากาศของเวียงเจ็ดลิน คำว่า ลิน หมายถึง รางริน และ คำว่า “เจ็ดลิน” ก็หมายความถึง รางรินทั้งเจ็ด แต่จะหมายถึง มีรางรินอยู่ 7 แห่ง หรือว่า มีรางรินอยู่ทั้งหมด 7 ราง ก็จะต้องค้นหาหลักฐานกันต่อไป แต่บางตำราสันนิษฐานว่าในเวียงดังกล่าว มีแม่น้ำ หรือคลองส่งน้ำจำนวน 7.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเวียงเจ็ดลิน
เอกชัย นพจินดา
อกชัย นพจินดา (ชื่อเล่น: แจ๊คกี้; นามปากกา: ย.โย่ง) อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาที่มีชื่อเสียง, อดีตผู้ประกาศข่าวกีฬาทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, อดีตบรรณาธิการและคอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์สยามกีฬารายวัน, สตาร์ซอคเก้อร์รายวัน และนิตยสารสตาร์ซอคเก้อร์รายสัปดาห.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเอกชัย นพจินดา
เอธัส มนต์เสรีนุสรณ์
นายเอธัส มนต์เสรีนุสรณ์ นักธุรกิจบริหารกิจการ และผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 โดยก่อนหน้านั้นได้ทำธุรกิจกับบริษัทของครอบครัวในด้านอุตสาหกรรมเคมี.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเอธัส มนต์เสรีนุสรณ์
เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง
้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง เป็นราชบุตรองค์โต ในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวง.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง
เจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่
้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย เป็นบุตรของเจ้าบุญสม ณ เชียงใหม่ เจ้าบุญเลิศ เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่
เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่
้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2532) เป็นราชโอรสใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีขนิษฐาและอนุชา ร่วมเจ้ามารดา 3 องค์ คือ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่
เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่
้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่
เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่
้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2534) เป็นราชโอรสองค์สุดท้ายในพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 (องค์สุดท้าย) กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ชายารองในเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ราชธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าหลวงนครเชียงตุง องค์ที่ 40 กับเจ้าบัวทิพย์หลวง มเหสีพระองค์หนึ่ง การสมรสระหว่างเจ้าอินทนนท์ กับเจ้าสุคันธา นับเป็นการสานสัมพันธ์อันดีระหว่างนครเชียงตุง กับนครเชียงใหม่อย่างดียิ่ง.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่
เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่
้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่
เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่
้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย เป็นบุตรของเจ้าไชยสงครามสมพมิตร ณ เชียงใหม่ และเป็นราชปทินัดดาในพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 สายตระกูลเจ้าเจ็ดตน (ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์) เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่ได้เข้าร่วมฟ้อนนำในกระบวนเครื่องพระขวัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีถวายพระขวัญเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวัดทางภาคเหนือ วันที่ 5 มีนาคม..
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่
เจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่
้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ โอรสในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นราชนัดดา (หลานปู่) ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มหลวงรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่
เขมวิช ภังคานนท์
Kem Bhangananda เขมวิช ภังคานนท์ (Kemavit Bhangananda) เขมวิช ภังคานนท์ เป็น นักเขียน นักดนตรี ทนายความผู้เชี่ยวชาญด้านการธนาคาร (U.S. attorney) เกิดวันที่ 31 ธันวาคม 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ เกษียร ภังคานนท์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล และนางมยุรี ภังคานนท์ อดีต เจ้าหน้าที่ Medical Service ของ United Nations เขมวิช ภังคานนท์ เรียนชั้นประถมและมัธยมที่ วชิราวุธวิทยาลัย และ โรงเรียนสาธิต มศว.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเขมวิช ภังคานนท์
เขตดุสิต
ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเขตดุสิต
เตช บุนนาค
ตช บุนนาค กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศสหรัฐอเมริกา ในสมัยของประธานาธิบดีบิล คลินตัน ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและเตช บุนนาค
1 กรกฎาคม
วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.
ดู วชิราวุธวิทยาลัยและ1 กรกฎาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ โรงเรียนมหาดเล็กหลวงโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย