สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พญากาสักพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงคู่แท้กะตังใบวงศ์กระโถนฤๅษีสกุลกะตังใบสกุลเถาคันสกุลเครือเขาน้ำสามเกลอข้อโปนส้มกุ้งส้มสันดานองุ่นเพชรสังฆาตเถาวัลย์ปูนเถาคันแดงเครือห้าต่อเจ็ด
พญากาสัก
ญากาสัก อยู่ในวงศ์ Leeaceae เป็นไม้พุ่ม รากขนาดใหญ่ อ้วนคล้ายมันสำปะหลัง ลำต้นสีเขียว ใบเดี่ยว นูนตามเส้นใบ เนื้อใบหยาบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเขียวอมเหลือง ผลกลม เมล็ดขนาดเล็ก ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่าช่วยให้คงกระพันชาตรี.
พืชใบเลี้ยงคู่
ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.
พืชใบเลี้ยงคู่แท้
ืชใบเลี้ยงคู่แท้ หรือ Eudicots, Eudicotidae หรือ Eudicotyledons เป็นกลุ่มทางไฟโลเจนเติกของพืชมีดอก บางครั้งเรียกว่าพืชใบเลี้ยงคู่ที่ไม่ใช่แมกโนลิด คำนี้กำหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อ..
ดู วงศ์องุ่นและพืชใบเลี้ยงคู่แท้
กะตังใบ
กะตังใบ อยู่ในวงศ์ Vitaceae กระจายพันธุ์ในเขตอินโดมลายู, อินโดจีน, ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และในเทือกเขาฆาตตะวันตกในอินเดีย http://www.biotik.org/india/species/l/leeaindi/leeaindi_en.html เป็นไม้พุ่ม ลำต้นมีขนปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตั้ง ออกดอกตามซอกใบ ผลกลมแป้น เนื้อนุ่ม เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแดงเข้มถึงม่วงดำ.
วงศ์กระโถนฤๅษี
วาดของ ''Rhizanthes'' (ต่อมารู้จักในชื่อ''Brugmansia''), เป็นพืชในวงศ์กระโถนฤๅษีจาก''Der Bau und die Eigenschaften der Pflanzen'' (1913). วงศ์กระโถนฤๅษี (Rafflesiaceae) เป็นวงศ์ของพืชเบียนที่พบในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง Rafflesia arnoldii ซึ่งเป็นพืชที่มีดอกที่ใหญ่ที่สุดในโลก พืชกลุ่มนี้เป็นปรสิตภายในของไม้เถาในสกุล Tetrastigma (วงศ์ Vitaceae) ไม่มีกิ่งก้าน ใบ รากและส่วนที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ จะมีเฉพาะดอกที่โผล่ออกมาจากรากหรือกิ่งด้านล่างของพืชเจ้าบ้านเท่านั้น.
สกุลกะตังใบ
กุลกะตังใบ หรือ Leea (ภาษาตากาล็อก: Talyantan) เป็นสกุลของพืชที่กระจายพันธุ์ในออสเตรเลียทางเหนือและทางตะวันออก เกาะนิวกินี เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของทวีปแอฟริกา สกุลนี้มีสมาชิกประมาณ 70 สปีชีส์และอยู่ในวงศ์ Vitaceae ระบบ APG II จัดสกุลนี้ในวงศ์ย่อย Leeoideae (Vitaceae).
สกุลเถาคัน
''Cissus verticillata'' สกุลเถาคัน หรือ Cissusเป็นสกุลที่มีสมาชิกประมาณ 350 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Vitaceae พบมากในเขตร้อน.
สกุลเครือเขาน้ำ
กุลเครือเขาน้ำ หรือ Tetrastigma เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Vitaceae เป็นไม้เลื้อย ใบประกอบ พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของเอเชีย มาเลเซีย และออสเตรเลีย พืชในสกุลนี้มักเป็นเจ้าบ้านขอพืชปรสิตในวงศ์ Rafflesiaceae รวมทั้ง Rafflesia arnoldii ที่มีดอกที่ใหญ่ที่สุดในโลก ภายในวงศ์ Vitaceae Tetrastigma มีความใกล้เคียงกับ Cayratia และCyphostemma.
ดู วงศ์องุ่นและสกุลเครือเขาน้ำ
สามเกลอข้อโปน
มเกลอข้อโปน เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ในวงศ์องุ่น เลื้อยได้ไกล เถากลมหรือแบน แตกกิ่งน้อย มีตุ่มนูนตามเถา ใช้เป็นช่องหายใจ ใบหนา ผิวใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน ขอบใบจักเว้าตื้น ออกดอกช่วงตุลาคม - พฤศจิกายน กระจายพันธุ์ตามป่าดิบเขาในภาคเหนือตอนบนของไทย พบครั้งแรกที่ดอยดินแดง จังหวัดลำพูน โดยหมอคาร.
ส้มกุ้ง
้มกุ้ง ส้มกุ่ย หรือเถาวัลย์ขน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Vitaceae รากเป็นหัวใต้ดิน มีมือจับชัดเจน ใบเป็นสามพู ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียดปกคลุม มีดอกย่อยจำนวนมาก สีชมพู ผลสด ทรงกลมเป็นพวงแน่นแบบพวงองุ่น มีหลายเมล็ด สีม่วงแดงจนถึงสีดำ รวมกันเป็นช่อขนาดใหญ่ ผลรับประทานได้ มีรสเปรี้ยว ในอินโดจีนนำผลดิบไปจิ้มเกลือรับประทาน ใบใช้เป็นยาแก้ไอ เถาเป็นยาระบายอ่อน รากใช้แก้ไข้ เปลือกต้มน้ำใช้แก้ฝี รักษาอาการบวม.
ส้มสันดาน
้มสันดานหรือส้มข้าว เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Vitidaceae ไม่มีเนื้อไม้ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม โดยมีปีกบางๆตามยาวของลำต้น และมีคราบขาวตามลำต้น ต้นอ่อนสีม่วงอมแดง แก่เป็นสีเขียวแล้วเป็นสีน้ำตาลอมเทา ใช้หนวดในการยึดพันกับต้นไม้อื่น ใบเดี่ยว ขอบใบหยักเป็นคลื่น ก้านใบเรียวเล็ก ดอกช่อแบบแยกแขนง ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงสีม่วง กลีบดอกสีเหลืองแกมเขียวผลเดี่ยว กลม ผิวเกลี้ยงเป็นมันอมเขียว เมื่ออ่อนสีม่วงแดง แก่แล้วเป็นสีดำ มีเมล็ดเดียว ใบรับประทานได้ ใส่ในต้มส้ม มีรสเปรี้ยวเป็นเอกลักษณ์ เถาใช้ดองเหล้าดื่มแก้ปวดเมื่อย แก้ไอ.
องุ่น
องุ่น เป็นพืชยืนต้น มีลักษณะเป็นไม้พุ่มเลื้อย มีลักษณะเนื้อแข็งและมีลำต้น กิ่งถาวรอายุเกิน 1 ฤดู ถ้าปล่อยให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติจะเลื้อยเกาะกิ่งไม้ ใบกลมขอบหยักเว้าลึก 5 พู โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ดอกย่อยขนาดเล็กสีเขียวมีหมวก จะหลุดออกเมื่อดอกบานกลีบดอกเมื่อบานสีขาว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ เป็นผลเดี่ยวที่ออกเป็นพวง (เป็นผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกช่อแต่ดอกไม่หลอมรวมกัน) ผลย่อยรูปกลมรีและฉ่ำน้ำ มีผิวนวลเกาะและรสหวาน มีสีเขียว, ม่วงแดงและม่วงดำแล้วแต่พันธุ์ ในผลมีเมล็ดประมาณ 1 - 4 เมล็.
เพชรสังฆาต
รสังฆาต (อ่านว่า) เป็นไม้เลื้อยในวงศ์องุ่น ชื่ออื่น ๆ คือ สันชะฆาต ขันข้อ สามร้อยต่อ หรือสันชะควด เปลือกเถาเรียบ สีเขียว รูปสี่เหลี่ยมเป็นครีบ เห็นข้อปล้องชัดเจน ตรงข้อเล็กรัดตัวลง แต่ละข้อยาวประมาณ 6-10 เซนติเมตร บางข้ออาจมีรากออกมาด้วย มีมือเกาะออกตรงข้อต่อตรงข้ามกับใบ ตามข้อมียางขาวมีผลึกแคลเซียมออกซาเลตมาก ในตำราสมุนไพร ใช้แก้ริดสีดวงทวารหนัก คั้นเอาน้ำดื่ม แก้โรคลักปิดลักเปิด แก้ประจำเดือนไม่ปกติ แก้กระดูกแตกหักซ้น ขับลมในลำไส้ ทางภาคเหนือ ใช้น้ำจากต้น หยอดหู แก้น้ำหนวกไหล หยอดจมูกแก้เลือดเสียในสตรี ประจำเดือนไม่ปกติ เป็นยาธาตุเจริญอาหาร ในประเทศอินเดีย ใช้ ลำต้น เป็นยาพอกเมื่อกระดูกหัก น้ำคั้นจากต้นกินแก้โรคลักปิดลักเปิด แก้อาการผิดปกติของประจำเดือน มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย เชื้อรา และต้านอนุมูลอิสระมีแคโรทีนอยด์และวิตามินซีมาก ไฟล์:Cissus quadrangularis W IMG 3197.jpg| ไฟล์:Cissus quadrangularis W IMG 3196.jpg| ไฟล์:Cissus quadrangularis W2 IMG 3196.jpg|.
เถาวัลย์ปูน
วัลย์ปูน เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์องุ่น (Vitaceae) เป็นไม้เถาขนาดเล็ก ชอบเลื้อยพาดพันต้นไม้อื่น ลักษณะคล้ายเถาตำลึง บนเถามีละอองสีขาวจับหนาแน่น ใบสดขยี้กับปูนใช้ฟองพอกรักษาแผลสด เถาใช้ปรุงเป็นยาขับปัสสาว.
เถาคันแดง
ันแดงเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..
เครือห้าต่อเจ็ด
รือห้าต่อเจ็ด อยู่ในวงศ์ Vitaceae เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ลำต้นกลม มีมือจับ ใบประกอบ ผลค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีม่วงดำ มี 1-3 เมล็ด ดอกและยอดอ่อนกินเป็นผัก.
ดู วงศ์องุ่นและเครือห้าต่อเจ็ด
หรือที่รู้จักกันในชื่อ VitaceaeVitidaceae