สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: พืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงคู่แท้หญ้างวงช้างหมัน (พรรณไม้)หมันทะเลจั่นน้ำงวงช้างทะเลแอสเทอริดเนโมฟีลา
พืชใบเลี้ยงคู่
ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.
ดู วงศ์หญ้างวงช้างและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงคู่แท้
ืชใบเลี้ยงคู่แท้ หรือ Eudicots, Eudicotidae หรือ Eudicotyledons เป็นกลุ่มทางไฟโลเจนเติกของพืชมีดอก บางครั้งเรียกว่าพืชใบเลี้ยงคู่ที่ไม่ใช่แมกโนลิด คำนี้กำหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อ..
ดู วงศ์หญ้างวงช้างและพืชใบเลี้ยงคู่แท้
หญ้างวงช้าง
หญ้างวงช้างในประเทศอินเดีย หญ้างวงช้าง เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Boraginaceae ลำต้นไม่มีเนื้อไม้ มีขนสั้นๆ จับแล้วเหนียวมือ มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว มีขนสั้นๆกระจายทั่วผิวใบ จับแล้วรู้สึกเหนียวมือ ดอกช่อ ปลายช่อม้วน มีดอกย่อยอยู่ที่ช่อดอกเพียงด้านเดียว ดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยวกลม ปลายผลเป็นร่อง มีกลีบเลี้ยงหุ้มเป็นรูปสามเหลี่ยม อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล ผลแห้งแตก เมล็ดสีเทาดำ ในฟิลิปปินส์ใช้เป็นยาแก้บวม.
ดู วงศ์หญ้างวงช้างและหญ้างวงช้าง
หมัน (พรรณไม้)
หมัน เป็นพืชในวงศ์หญ้างวงช้าง (Boraginaceae) กระจายพันธุ์ในอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลรับประทานได้ ยางเหนียวจากผลบางครั้งใช้เป็นกาว.
ดู วงศ์หญ้างวงช้างและหมัน (พรรณไม้)
หมันทะเล
หมันทะเล เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Boraginaceae พบตั้งแต่ แอฟริกา เอเชียใต้ ไปจนถึงออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ลำต้นมีรอยแตกสีน้ำตาลอมขาว มีรอยแตกตื้นๆ แตกกิ่งจำนวนมาก ดอกช่อ กลีบดอกเชื่อมติดกัน บานออกคล้ายปากแตร สีส้มออกแดง เกสรตัวผู้สีเหลือง ผลเดี่ยว กลมรี กลีบเลี้ยงติดที่ผล ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง แก่แล้วเป็นสีขาวอมเหลือง ในไทยใช้เป็นไม้ประดับ เมล็ดรับประทานได้ใช้เป็นอาหารในแอฟริกา ไม้เนื้ออ่อน ใช้ในงานช่างได้.
จั่นน้ำ
ั่นน้ำ เป็นพืชในวงศ์ Boraginaceae แตกกิ่งในระดับต่ำเป็นพุ่มแน่น ใบหนา ผิวใบสาก ขอบใบจักละเอียดและเป็นคลื่น ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีม่วงอ่อนขนาดเล็กจำนวนมาก ผลกลม ดอกบานช่วงกรกฎาคม – สิงหาคม พบตามเขาหินปูนในภาคกลางและภาคตะวันตก พบครั้งแรกที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยพระยาวินิจวนันดร ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.
งวงช้างทะเล
งวงช้างทะเล หรือ Heliotropium foertherianum เป็นพืชในวงศ์ Boraginaceae เป็นไม้พุ่มลำต้นสีเทา แตกกิ่งจำนวนมาก ทรงพุ่มเป็นครึ่งวงกลม ใบเดี่ยว ออกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ติดกับก้านช่อเพียงด้านเดียว ก้านดอกอวบน้ำ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยวกลม ขนาดเล็ก สีเขียว มีฐานรองดอกหุ้มผลไว้ครึ่งหนึ่ง ผิวเรียบเป็นมัน.
ดู วงศ์หญ้างวงช้างและงวงช้างทะเล
แอสเทอริด
แอสเทอริด (asterids) เป็นเคลดของพืชมีดอกในระบบ APG II พืชส่วนใหญ่ในเคลดนี้อยู่ใน Asteridae ในระบบ Cronquist และ Sympetalae ในระบบก่อนหน้านี้ สมาชิกประกอกด้ว.
ดู วงศ์หญ้างวงช้างและแอสเทอริด
เนโมฟีลา
นโมฟีลา (Nemophila) เป็นชื่อสกุลไม้ดอกในวงศ์ Hydrophyllaceae.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Boraginaceae