สารบัญ
43 ความสัมพันธ์: บุหรงช้างบุหรงสุเทพบุหรงดอกทู่บุหงาเกาะช้างบุหงาเซิงพรหมขาวพริกนกหมอคาร์พีพวนน้อยกระดังงากระดังงาสงขลากระดังงาแอฟริกากลึงกล่อมกล้วยอีเห็นกล้วยค่างกล้วยน้อยการเวก (พืช)มหาพรหมราชินีมะป่วนยางดงยางโอนลำดวนสกุลพริกนกสกุลการเวกสกุลมหาพรหมสกุลยางโอนสกุลปาหนันช้างสะบันงาป่าสายหยุดอันดับจำปาอนุพรหมอโศกอินเดียจำปูนทุเรียนเทศข้าวหลามดงตีนตั่งปอขี้แฮดปาหนันแม่วงก์นมเสือนาวน้ำน้อยหน่าน้อยหน่าออสเตรเลียน้อยโหน่งเดือยไก่
บุหรงช้าง
หรงช้าง Jing Wang, Chalermglin & R.M.K. Saunders พบครั้งแรกในป่าดิบชื้นของ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เมื่อ..
บุหรงสุเทพ
หรงสุเทพ เป็นพืชในสกุลบุหรง วงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบรูปรี ที่ด้านล่างของใบมีนวลสีขาวดอกมี 3 กลีบ ประกบกันเป็นแท่งสามเหลี่ยม ผลกลุ่มโดยมีผลย่อย 7-8 ผล ทรงกระบอกยาว ออกดอกช่วงเมษายน-มิถุนายน เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 9 เมษายน..
บุหรงดอกทู่
หรงดอกทู่ Jing Wang, Chalermglin and R.M.K. Saunders พบในป่าดิบเขาของ อำเภอแม่ฟ้าหลวง และอำเภอเมืองเชียงรายเป็นไม้พุ่ม สูง 4-6 เมตร ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน เนื้อใบหนา ด้านบนใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างมีนวลแป้งสีขาวเคลือบ ดอกออกที่ปลายยอด สีเหลืองอ่อน ดอกบานเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคมของทุกปี.
บุหงาเกาะช้าง
หงาเกาะช้างหรือบุหงาเถา เป็นพืชใน วงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยว ด้านบนของใบหยาบกร้าน ด้านล่างมีนวลสีขาวเกาะฉาบอยู่ ดอกเดี่ยว มีกลีบ 6 กลีบ เรียงสองชั้น กลีบชั้นในประกบเป็นทรงสามเหลี่ยมแหลม กลิ่นหอมแรง ผลกลุ่ม ผลย่อยเป็นรูปรี ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน ใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกที่เกาะช้าง จังหวัดตราด โดย A.
ดู วงศ์กระดังงาและบุหงาเกาะช้าง
บุหงาเซิง
หงาเซิง เป็นพืชใน วงศ์ Annonaceae เป็นไม่พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยว ด้านล่างของใบมีนวลจับอยู่ ดอกเดี่ยว มีกลีบ 6 กลีบ เรียงสองชั้น กลีบชั้นในประกบเป็นทรงสามเหลี่ยมแหลม กลิ่นหอมแรง ผลกลุ่ม มีผลย่อย 8-12 ผล ออกดอกช่วงมกราคม – สิงหาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์เมื่อเดือนมีนาคม..
พรหมขาว
รหมขาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์กระดังงา ใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน ผลกลุ่ม เปลือกผลย่อยเป็นปุ่มขรุขระ ผลเป็นทรงกระบอก โค้งงอ ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน พบครั้งแรกโดยโรบินสัน ชาวอังกฤษ เมื่อเดือนพฤษภาคม..
พริกนกหมอคาร์
souritha พริกนกหมอคาร์ เป็นพืชในสกุลพริกนก วงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกออกตามซอกใบ ผลกลุ่ม ผลย่อยขนาดกลม ออกดอกหมุนเวียนทั้งปี เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกที่เขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย Beuskom ชาวเนเธอร์แลนด์ ร่วมกับ ดร.
ดู วงศ์กระดังงาและพริกนกหมอคาร์
พีพวนน้อย
ีพวนน้อย หรือ นมควาย หรือ หมากผีผ่วน เป็นพืชในสกุล Uvaria กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
กระดังงา
กระดังงา หรือกระดังงาไทย อังกฤษ: Ylang-ylang (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cananga odorata (Lamk.) Hook.f. et Th.) ชื่ออื่น สะบันงา สะบันงาต้น สะบานงาhttp://www.mmp.mju.ac.th/Search_Detail_Herb_MJU.aspx?Herb_ID.
กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เป็นกระดังงาชนิดหนึ่งถิ่นกำเนิดที่สงขลา ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cananga fruticosa มีชื่อสามัญอื่นคือ Dwarf Ylang-Ylang.
ดู วงศ์กระดังงาและกระดังงาสงขลา
กระดังงาแอฟริกา
กระดังงาแอฟริกา (Calabash nutmeg ชื่ออื่นๆคือ Jamaican nutmeg, African nutmeg, ehuru, ariwo, awerewa ehiri, airama, African orchid nutmeg, muscadier de Calabash and lubushi ehiri, airama, African orchid nutmeg, muscadier de Calabash และ lubushi) เป็นพืชมีดอกในวงศ์กระดังงา พบในเขตร้อน ผลสดมีรสเปรี้ยวแบบมะนาว แล้วจะทำให้ชาที่ปลายลิ้น เนื่องจากมีสารระงับความรู้สึกที่เรียก navocaine เป็นอาหารของสัตว์เช่น ลิงชิมแปนซี ในแอฟริกาตะวันตกใช้เมล็ดเป็นเครื่องเทศ น้ำมันหอมระเหยที่ได้จากใบประกอบด้วย β-caryophyllene, α-humulene และ α-pinene ในเมล็ดมี α-phellandrene, α-pinene, myrcene, limonene และ pinene เปลือกไม้ใช้เป็นยารักษาโรคกระเพาะอาหาร เนื้อไม้แข็งใช้ทำเครื่องใช้ต่างๆได้.
ดู วงศ์กระดังงาและกระดังงาแอฟริกา
กลึงกล่อม
กลึงกล่อม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Annonaceae เปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อนหรือแตก ผิวเรียบ เปลือกลอกออกเป็นแผ่นได้ มีจุดสีขาว ใบเดี่ยว ผิวใบด้านหน้าเรียบเป็นมัน ด้านหลังเขียวนวล ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลือง กลีบดอกชั้นในปลายติดเป็นสามเหลี่ยม กลีบดอกชั้นนอกเล็กกว่า มีกลิ่นหอม ผลกลุ่ม กลมยาว ผลสีเขียวบางส่วนสีม่วง สุกแล้วเป็นสีแดง เนื้อน้อย มีเมล็ดเดียว ใช้เป็นไม้ประดั.
กล้วยอีเห็น
กล้วยอีเห็น (Pierre ex Finet & Gagnep.) ชื่ออื่นๆ พีพวน (เลย อุดรธานี) เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..
กล้วยค่าง
กลายหรือกล้วยค่าง เป็นพืชในสกุลมหาพรหม อยู่ในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแกมดำ ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว มีทั้งดอกที่หอมและไม่หอม ผลกลุ่ม ผลย่อยทรงกระบอก พบครั้งแรกที่อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดย A.
กล้วยน้อย
กล้วยน้อยหรือกั้นทาง ตันทาง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Annonaceae เปลือกเรียบสีน้ำตาลหรือดำ ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองอมน้ำตาล โคนกลีบมีสีม่วงแดงแซม เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลกลุ่ม ทรงรี แตกตามตะเข็บด้านเดียว เมล็ดสีดำมีเยื่อหุ้มสีแดง ใช้ทำฟืน เสารั้ว ดอกเป็นส่วนผสมของยาหอม ชาวไทยอีสานไม้ชนิดนี้ปิดบังเส้นทางของวิญญาณได้ จึงใช้กิ่งขวางทางเข้าหมู่บ้าน หรือบ้านหลังจากเสร็จงาน.
การเวก (พืช)
การเวก (climbing ylang-ylang, climbing ilang-ilang, manorangini, hara-champa หรือ kantali champa) เป็นชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys siamensis Miq.
ดู วงศ์กระดังงาและการเวก (พืช)
มหาพรหมราชินี
มหาพรหมราชินี เป็นไม้วงศ์กระดังงา ชนิดใหม่ของโลก พบในประเทศไทยที่เขตอุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สภาพนิเวศวิทยา พบในเขตป่าดิบเขา ที่สูงชัน ในระดับความสูงมากว่า 1,100 เมตร ที่มีสภาพลมแรง และอากาศหนาวเย็นจัดในฤดูหนาว ที่ความชื้นสัมพัทธิ์ค่อนข้างสูง ลักษณะของต้นมหาพรหมราชินีเป็นต้นไม้ขนาดเล็กสูงประมาณ 4-6 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-8 เมตร ลำต้นมีสีน้ำตาล กิ่งอ่อนจะมีขนอ่อนปกคลุมอยู่ ใบเป็นรูปหอก กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 11-19 เซนติเมตร เนื้อใบหนา ผิวใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน โค่นใบและปลายใบแหลม มีแขนงใบ 8-11 คู.
ดู วงศ์กระดังงาและมหาพรหมราชินี
มะป่วน
มะป่วน หรือนมหนู (Kurz) มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น กระโปกกระจ้อน (จันทบุรี) กล้วยขี้เห็น ขี้เห็น (อุดรธานี) กล้วยเห็น (สกลนคร) แดงดง (เลย) นมหนู (กรุงเทพฯ) นางนวล (ลำปาง) ปอแฮด แฮด (เชียงใหม่) มะดัก (สระบุรี) ลำดวนดง (ขอนแก่น) มะป่วน เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 เมตร ใบลักษณะเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับสองด้านในระนาบเดียวกันของกิ่ง รูปรี กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนสาก ส่วนดอกออกเป็นกระจุก 2-3 ดอก ตรงข้ามใบ กลีบดอกเรียง 2 ชั้น ๆ ละ 3 กลีบ สีชมพูอมเหลือง รูปขอบขนาน ปลายแหลมและโค้ง ขอบกลีบเป็นคลื่น กลีบดอกชั้นในประสานกันคล้ายยอดโดม ผล ออกเป็นกลุ่มๆ เมื่อสุกสีเหลือง มีขนสีน้ำตาลคลุม มีกลิ่นหอมตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน แต่หอมแรงในช่วงกลางคืน ออกดอกพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงเดือน มีนาคม - พฤษภาคม.
ยางดง
งดง หรือตองห่ออ้อย ยางอึ่ง ช้ายาว เป็นไม้ยืนต้นในสกุลยางโอน วงศ์กระดังงา เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว ดอกออกตามกิ่งแก่ เป็นช่อแบบกระจุก กลีบดอก 6 กลีบ สีเขียว ผลกลุ่ม ผลย่อยเป็นรูปรี ผลแก่สีเขียวอมเหลือง ออกดอกกุมภาพันธ์ – เมษายน กระจายพันธุ์ในป่า ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง พบครั้งแรกในประเทศไทย โดยหมอคาร์ เมื่อเดือนเมษายน..
ยางโอน
งโอน เป็นไม้ยืนต้นในสกุลยางโอน วงศ์ Annonaceae เปลือกหนาค่อนข้างเรียบ ใบรูปรี ดอกออกตามกิ่งเป็นกระจุก กลีบดอก 6 กลีบ สีเขียวยาวเป็นแถบ ผลกลุ่ม โดยผลย่อยเป็นรูปกลมรี เรียบเป็นมัน สุกแล้วเป็นสีเหลืองอมส้ม ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ – มีนาคม พบในป่าทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง พบครั้งแรกในไทย โดยหมอคาร์เมื่อเดือนกุมภาพัน..
ลำดวน
ลำดวน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Melodorum fruticosum Lour.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดศรีสะเกษ นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษด้ว.
สกุลพริกนก
กุลพริกนก หรือ Orophea เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae ตัวอย่างของพืชในสกุลนี้ได้แก่.
สกุลการเวก
กุลการเวก หรือ Artabotrys เป็นสกุลที่มีสมาชิกมากกว่า 100 สปีชีส์ในเขตร้อนของโลกเก่า มี 31 สปีชีส์พบในแอฟริกา อยู่ในวงศ์ Annonaceae สมาชิกส่วนใหญ่เป็นไม้พุ่มหรือไม้รอเลื้อย ใบเดี่ยว ไม่มีขน ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกมี 6 กลีบ ผลเป็นผล.
สกุลมหาพรหม
กุลมหาพรหม หรือ Mitrephora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae มีสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กและไม้พุ่ม พบในเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียเหนือ แพร่กระจายจากจีนไปจนถึงเกาะไหหลำจนถึงรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย พืชสกุลนี้พบมากในอินเดียและมีความหลากหลายในเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปิน.
สกุลยางโอน
สกุลยางโอน หรือ Polyalthia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae ประกอบด้วยสมาชิกดังต่อไปนี้.
สกุลปาหนันช้าง
กุลปาหนันช้างหรือ Goniothalamus เป็นสกุลขนาดใหญ่สกุลหนึ่งในวงศ์กระดังง.
ดู วงศ์กระดังงาและสกุลปาหนันช้าง
สะบันงาป่า
ันงาป่า เป็นพืชในสกุลปาหนันช้างในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกลำต้นเรียบสีดำ มีกลิ่นฉุน ใบเดี่ยว หนา มันทั้งสองด้าน ปลายใบเรียวแหลมและมีติ่ง ดอกเดี่ยว กลีบดอก 6 กลีบเรียงสองชั้น ผลกลุ่ม ผลย่อยกลมเรียบ ออกดอกช่วงเมษายน – กันยายน พบครั้งแรกที่อุทยานเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย เมื่อ 4 พฤษภาคม..
สายหยุด
หยุด หรือ สาวหยุด หรือ กาลัด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Desmos chinensisเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้เลื้อยหรือไม้รอเลื้อยสูงได้ถึง 4 เมตร ดอกสีเขียวอมเหลือง คล้ายกับดอก Cananga odorata หรืออีลางอีลาง บางครั้งจึงเรียกอีลางอีลางแคร.
อันดับจำปา
''Myristica fragrans'' จากวงศ์ ''Myristicaceae'' ในอินเดีย อันดับจำปา หรือ Magnoliales เป็นอันดับของพืชมีดอก.
อนุพรหม
อนุพรหม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Annonaceae ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว ดอกแยกเพศ แต่ไม่แยกต้น กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองชั้น ชั้นในหนามาก และเชื่อมกันกลมคล้ายผล ผลเดี่ยว กลมรี สุกแล้วเป็นสีดำ ออกดอกช่วงธันวาคม – กุมภาพันธ์ ผลแก่เดือนกรกฎาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยที่หมู่บ้านพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี โดย ดร.
อโศกอินเดีย
อโศกอินเดีย หรือ อโศกเซนต์คาเบรียล เป็นไม้ยืนต้นสูง ในวงศ์ Annonaceae มีลักษณะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็นรูปปิรามิดแคบ ๆ สูงเต็มที่ได้ถึง 25 เมตร กิ่งโน้มลู่ลงทั้งต้น ทำให้แลดูต้นสูงชลูดมาก เปลือกต้นเกลี้ยงสีเทาเข้ม หรือเทาปนน้ำตาล ใบเดี่ยวรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายแหลมยาว 15 - 20 เซนติเมตร สีเขียวเป็นมันเงางาม ขอบใบเป็นคลื่น ออกดอกในระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน จะออกดอกสีเขียวอ่อนเป็นกระจุกตามข้างๆ กิ่ง แต่ละดอกเป็นรูปดาว 6 แฉก กลีบดอกเป็นคลื่นน้อย ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 - 2 เซนติเมตร ดอกบานอยู่นาน 3 สัปดาห์ ผลรูปไข่ ยาว 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ เป็นไม้ต้นทรงสูงชะลูด สามารถสูงได้เกินกว่า 30 ฟุต เป็นแท่งกลมปลายแหลม ทรงพุ่มแผ่นทึบ ใบรูปหอก แนว ยาวสีเขียวเข้ม ขอบใบเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อสีเขียวอ่อน รูปดาว 6 แฉก ดอกมีกลิ่นอ่อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและเป็นร่มเงา มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดียและศรีลังก.
จำปูน
ำปูน เป็นพรรณไม้ดอกชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมหวาน ดอกมีขนาดเล็ก กลีบหนา อูม ดอกมีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Anaxagorea javanica Blume.
ทุเรียนเทศ
ผลทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศพันธุ์''subonica'' ดอกทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศ หรือ ทุเรียนน้ำ (Soursop, Prickly Custard Apple.; L.) ชื่อเรียกอื่น ๆ คือ ทุเรียนแขก (ภาคกลาง) หมากเขียบหลดหรือหมากพิลด (ภาคอีสาน) ทุเรียนน้ำ (ภาคใต้) และ มะทุเรียน (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์เดียวกับน้อยหน่าและกระดังงา ใบเดี่ยว กลีบดอกแข็ง มีกลิ่นหอมตอนเช้า ผลมีรูปร่างคล้ายทุเรียน มีหนาม เปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแก่สีดำ ปลูกมากในแถบอเมริกากลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพืชที่ชอบที่ที่มีความชื้นสูง.
ข้าวหลามดง
้าวหลามดง ชื่ออื่น จำปีหิน (ชุมพร) นมงัว (ปราจีนบุรี) เป็นไม้ตระกูลเดียวกับกระดังงา เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 เมตร ทรงพุ่มโปร่ง เปลือกต้นสีเทาอมดำ เนื้อไม้เหนียว ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ ใช้เป็นสมุนไพรหลังคลอดบุตร ทางภาคอีสานแก่นต้นเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคซางในเด็ก.
ตีนตั่ง
ตีนตั่ง เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ผิวเกือบเกลี้ยง มีเลนติเซล ไม่มีหูใบ เส้นใบด้านล่างเห็นชัดเจน ดอกเดี่ยว กลีบสีเหลืองแกมเขียว กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีนไปจนถึงเกาะบอร์เนียว น้ำจากภายในลำต้นรับประทานได้.
ปอขี้แฮด
ปอขี้แฮด อยู่ในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น กิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง กลีบดอกสีเหลืองมีเส้นสีแดง กลิ่นหอม ผลกลมรี เมื่อสุกสีเหลืองส้ม ผลกินได้ รสหวาน.
ปาหนันแม่วงก์
ปาหนันแม่วงก์ เป็นพืชในสกุลปาหนันช้าง วงศ์ Annonaceae เป็นไม้ยืนต้น ดอกออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกตามกิ่ง กลิ่นหอมอ่อน ผลกลุ่ม ผลย่อยทรงรีหรือทรงกระบอก ออกดอกช่วงมกราคม – พฤษภาคม เป็นไม้ถินเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จังหวัดกำแพงเพชร เมื่อ 17 เมษายน..
ดู วงศ์กระดังงาและปาหนันแม่วงก์
นมเสือ
นมเสือ เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Anonaceae ใบรูปรี ดอกสีเหลืองนวล ผลทรงกระบอกแก่แล้วเป็นสีเหลืองอมส้ม ออกดอกช่วงพฤษภาคม – มิถุนายน ผลแก่เดือนตุลาคม เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทยและเป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุลนี้พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 8 มิถุนายน..
นาวน้ำ
นาวน้ำ เป็นพืชในสกุลการเวก วงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยเนื้อแข็ง ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งแหลมยาว ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว ออกตรงข้ามกับใบ สีเขียวหรือม่วงแดง กลิ่นแรงช่วงใกล้ค่ำ ผลแบบผลกลุ่ม ผลย่อยรูปหอกกลับ สุกเป็นสีเหลือง ออกดอกช่วงมกราคม – สิงหาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดอุบลราชธานีโดยหมอคาร์เมื่อ 23 มกราคม..
น้อยหน่า
น้อยหน่า (Sugar apple; Linn.) ชื่ออื่น ๆ หมักเขียบ (ตะวันออกเฉียงเหนือ), ลาหนัง (ปัตตานี), มะนอแน่, มะแน่ (เหนือ), หน่อเกล๊ะแซ (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), มะออจ้า, มะโอจ่า (เงี้ยว-เหนือ), เตียบ (เขมร) เป็นพืชยืนต้น ผลมีเนื้อสีขาว เมล็ดดำ รสหวาน ถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบอเมริกากลาง และใต้ แต่จะพบอยู่ทั่วไปในเขตร้อน ในประเทศไทยปลูกมากทางภาคกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ.
น้อยหน่าออสเตรเลีย
น้อยหน่าออสเตรเลีย หรือ เชอรีโมยา เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae ใบรูปไข่หรือไข่แกมหอก มีผงรังแคสีน้ำตาลแกมม่วงแดงที่ใต้ใบ ดอกมีกลิ่นหอม ก้านดอกสั้นมีลักษณะเป็นปม กลีบดอกชั้นนอก 3 กลีบ สีเหลืองอ่อน โคนกลีบด้านในมีจุดสีม่วง กลีบชั้นในขนาดเล็กมาก สีออกแดงหรือม่วง ผลเป็นผลกลุ่ม ติดกันเป็นรูปหัวใจหรือทรงกลม ผิวเป็นปุ่มปม ผิวผลมีแอ่งเล็กๆรูปตัวยู เนื้อผลสีขาว รับประทานได้ เนื้อแยกจากเม็ดได้ง่าย เปลือกชั้นนอกของเมล็ดเป็นเยื่อสีน้ำตาลเหี่ยวย่น เชอรีโมยาเป็นพืชพื้นเมืองในเอกวาดอร์และเปรู ปลูกเป็นการค้าในชิลี โบลิเวีย สเปน สหรัฐ และนิวซีแลนด์ ผลรับประทานสด เนื้อผลใช้แต่งรสไอศกรีม ผลดิบและเมล็ดเป็นยาถ่ายพยาธิและกำจัดแมลง.
ดู วงศ์กระดังงาและน้อยหน่าออสเตรเลีย
น้อยโหน่ง
น้อยโหน่ง (อังกฤษ: Custard-apple, Bullock's-heart) ผลไม้ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Annona reticulata อยู่ในวงศ์กระดังงา สกุลเดียวกับ น้อยหน่า (A.
เดือยไก่
ือยไก่ เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Annonaceae ลำต้นตรง ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างมีไขสีขาวนวลเคลือบ ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบสีเขียวแกมเหลือง ดอกไม่บาน กลีบดอกจึงติดกันดูคล้ายเดือยไก่ ผลกลุ่มและเป็นผลสด ผลย่อยเรียงกันคล้ายลูกประคำ ใช้รับประทานเป็นผลไม้ รากใช้เป็นส่วนผสมของยาบรรเทาอาการปวดเมื่อยหรือเคล็ดขัดยอก.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Annonaceae