โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วงจรเชิงลำดับ

ดัชนี วงจรเชิงลำดับ

วงจรเชิงลำดับ วงจรเชิงลำดับ (Sequential Logic) หรือ วงจรมีความจำ หมายถึง ส่วนของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการต่อกลับ (feed back) ของสาย ทำให้สำหรับทุกๆอินพุตชุดใดชุดหนึ่ง อาจมีเอาต์พุตออกมาคนและแบบก็ได้ เราจะเรียกสัญญาณที่ต่อกลับว่า สถานะ(state) ดังนั้นเอาต์พุตนั้นจะขึ้นอยู่กับอินพุตและสัญญาณสถานะ ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับอินพุตอย่างเดียวเหมือนวงจรเชิงผสม ในระบบดิจิตอลโดยทั่วๆไป วงจรเชิงลำดับมักมีบทบาทสำคัญเป็นหน่วยความจำของวงจร เช่นแลดช์ ฟลิปฟล็อป หรืออาจช่วยออกแบบเครื่องสถานะจำกัด หรือออกแบบเป็น วงจรนั.

4 ความสัมพันธ์: พีแอลดีวงจรเชิงผสมแลตช์ (อิเล็กทรอนิกส์)เครื่องสถานะจำกัด

พีแอลดี

ีแอลดี (อังกฤษ Programmable Logic Devices, PLDs) เป็นไอซีที่ใช้สร้างวงจรดิจิทัล แต่มีจุดที่แตกต่างจากลอจิกเกตตรงที่ฟังก์ชันการคำนวณไม่ได้ถูกกำหนดตั้งแต่ตอนผลิต ผู้ที่นำพีแอลดีไปใช้ต้องโปรแกรมพีแอลดีก่อนจึงจะนำไปใช้ในวงจรได้ พีแอลดีมีหลายขนาดตั้งแต่ขนาดเล็กที่สามารถสังเคราะห์ 2 ถึง 10 ฟังก์ชัน (หรือสัญญาณออก) ของตัวแปร (หรือสัญญาณเข้า) 4 ถึง 6 ตัว ไปจนถึงฟังก์ชันขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน มีทั้งชนิดวงจรจัดกลุ่ม (Combinational PLD) และวงจรลำดับ (Sequential PLD) การใช้พีแอลดีมีข้อดีคือสามารถใช้แทนที่ไอซีขนาดเล็ก (Small scale integration, SSI) และขนาดกลาง (Medium scale integration, MSI) หลาย ๆ ตัวในการรวมวงจร อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงการออกแบบสามารถทำได้โดยง่ายโดยการเปลี่ยนโปรแกรมของ พีแอลดีโดยไม่ต้องแก้ส่วน Wiring ในร.

ใหม่!!: วงจรเชิงลำดับและพีแอลดี · ดูเพิ่มเติม »

วงจรเชิงผสม

วงจรเชิงผสม วงจรเชิงผสม(Combinational Curcuit) หรือวงจรไร้ความจำ เกิดจากการต่อลอจิกเกตเข้าด้วยกันโดยไม่มีการต่อกลับ (feed back) ของสาย ทำให้สำหรับทุกๆอินพุตชุดใดชุดหนึ่ง จะมีเอาต์พุตเพียงชุดเดียวเท่านั้น ในระบบวงจรดิจิตอลนั้นโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว วงจรเชิงผสมมักใช้ทำ หน่วยคำนวณและตรรกะ เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ ฯลฯ หรือใช้ในการออกแบบเป็นส่วนหนึ่งของวงจรเชิงลำดับ หรือ ส่วนข้อมูล(Data Path) ตัวอย่างวงจรเชิงผสม จะเห็นว่าไม่มีการต่อกลับของ.

ใหม่!!: วงจรเชิงลำดับและวงจรเชิงผสม · ดูเพิ่มเติม »

แลตช์ (อิเล็กทรอนิกส์)

แลตซ์ (Latch) เป็นกลุ่มวงจรที่มีขา enable จะกระตุ้นด้วย ระดับของสัญญาณนาฬิกา แทนที่จะเป็น ขอบของสัญญาณนาฬิกา เหมือน ฟลิปฟล็อป จะใช้ขา enable แบ่งเป็นสองประเภทคือ จะทำงานเมื่อสัญญาณนาฬิกาเป็นหนึ่ง (high enable) กับทำงานเมื่อสัญญาณนาฬิกาเป็นศูนย์ (low enable).

ใหม่!!: วงจรเชิงลำดับและแลตช์ (อิเล็กทรอนิกส์) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสถานะจำกัด

รื่องสถานะจำกัด หรือ ไฟไนต์สเตตแมชชีน (finite state machine) คือวงจรเชิงลำดับซึ่งออกแบบเป็นสถานะการทำงาน (state) ของวงจรออกเป็นหลายๆ สถานะ แต่ละสถานะมีลอจิกการทำงานที่ต่างกัน เพื่อกำเนิดค่าเอาต์พุตและค่าสถานะถัดไป มีสัญญาณสถานะที่กำหนดว่าสถานะปัจจุบันเป็นสถานะไหน สัญญาณของสถานะจะถูกเก็บไว้ในเรจิสเตอร์ ดังนั้นสถานะจะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ที่ขอบขาของ clock เท่านั้น.

ใหม่!!: วงจรเชิงลำดับและเครื่องสถานะจำกัด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Sequential circuitวงจรลำดับ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »