โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ล่อกวนตง

ดัชนี ล่อกวนตง

หลัว กวั้นจง ตามสำเนียงกลาง หรือ ล่อกวนตง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นปราชญ์และนักประพันธ์ชาวจีน มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 14 (ค.ศ. 1330-ค.ศ. 1400) หรือยุคปลายของราชวงศ์หยวน ต่อถึงต้นราชวงศ์หมิง ล่อกวนตงเป็นผู้แต่งนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก และได้ชื่อว่าเป็นผู้ปรับปรุงเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งนับเป็น 2 ใน 4 สุดยอดวรรณกรรมจีน (อีกสองเรื่องคือ ไซอิ๋ว และความฝันในหอแดง) ชีวประวัติของล่อกวนตงไม่ใคร่แน่ชัด แต่มีการยืนยันว่าเขามีชีวิตอยู่ในช่วงปลายราชวงศ์หยวนถึงต้นราชวงศ์หมิงจริง นักปราชญ์ผู้หนึ่งชื่อ เจียจงหมิง (賈仲明) บันทึกไว้ว่าเคยพบกับล่อกวนตงในราวปี..

68 ความสัมพันธ์: บุนทิวพ.ศ. 1873กวนเหล็งกวนเต๋งกวนเป๋งกิมสวนกุยฮิวจี๋ก่วน หนิงก้วนซุนม้าเจ๊กยุคสามก๊กราชวงศ์หมิงรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฝ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ภ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ว)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป)รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊กรายชื่อนักปรัชญาสามก๊กสามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537)สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2553)สามก๊ก มหาสนุกสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)สิบขันทีสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนหงสาจอมราชันย์อ้องอุ้นจอมยุทธ์พเนจรจดหมายเหตุสามก๊กข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก...คำสาบานในสวนท้องิมหุนตันก๋งตั๋งโต๊ะซุนกวนปิศาจจิ้งจอก (จีน)แฮหัวตุ้นโกเสียงโจเจียงไดนาสตีวอริเออร์ 5เกียดเป๋งเล่าปี่เอสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊กเอื้อ อัญชลีเตียวหุยเตียวอุ๋นเตียวฮ่องROTK ขยายดัชนี (18 มากกว่า) »

บุนทิว

บุนทิว ตามสำเนียงกลาง (Wen Chou) เป็นแม่ทัพของอ้วนเสี้ยว เป็นหนึ่งในสองขุนพลของอ้วนเสี้ยวทีมีฝีมือเลื่องชื่อ แต่ก่อนได้รับฉายาว่าเจ้าแห่งทวนเพราะใช้ทวนเก่งมาก (ขุนพลของอ้วนเสี้ยวอีกคนคือ งันเหลียง) เคยประมือกับจูล่งถึง 60 เพลงก่อนหนีกลับค่ายไป และเมื่อรู้ว่างันเหลียงถูกฆ่าตายในสนามรบก็คิดจะออกไปแก้แค้น บุนทิวถูกฆ่าตายในการศึกกับทัพของโจโฉ เมื่อ ค.ศ. 200 ในสามก๊กของหลอกว้านจง เล่าว่าบุนทิวถูกกวนอูสังหาร แต่บางตำรากล่าวว่าบุนทิวถูกอาวุธของเตียวเลี้ยวขณะทำการรบติดพันจนเสียชีวิต หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:ง่อก๊ก.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและบุนทิว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1873

ทธศักราช 1873 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและพ.ศ. 1873 · ดูเพิ่มเติม »

กวนเหล็ง

กวนเหล็ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กวน หนิง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นลูกชายคนโตของกวนเต๋งซึ่งอาศัยอยู่ในป่าบริเวณใกล้เมืองกิจิ๋ว เป็นพี่ชายแท้ ๆ ของกวนเป๋ง เมื่อกวนอูได้เดินทางไปตามเล่าปี่ซึ่งกำลังอยู่กับอ้วนเสี้ยวที่เมืองกิจิ๋ว กวนอูได้ให้ซุนเขียนเข้าไปหาเล่าปี่ ส่วนตนเข้าไปขอพักค้างคืนที่บ้านของกวนเต๋ง กวนเต๋งได้ยินชื่อเสียงของกวนอูมานานจึงเรียกกวนเหล็งกับกวนเป๋งผู้บุตรมาคำนับกวนอู ต่อมาเมื่อเล่าปี่ได้เดินทางมาพบกวนอูที่บ้านของกวนเต๋งและจะลาไป กวนเต๋งได้มอบกวนเป๋งให้เป็นบุตรบุญธรรมของกวนอูให้เดินทางติดตามไปด้วยกัน ส่วนกวนเหล็งยังคงอยู่กับกวนเต๋งผู้บิดา ชื่อของกวนเหล็งไม่ปรากฏในจดหมายเหตุสามก๊ก คาดว่าเป็นตัวละครที่ล่อกวนตงสมมติขึ้นในวรรรณกรรมสามก๊ก ในสามก๊กฉบับบรีวิตต์ เทย์เลอร์ ออนไลน์ สะกดชื่อของกวนเหล็งเป็น Guan Neng จากชื่อที่ถูกต้องที่เขียนว่า Guan Ning คาดว่าเพื่อไม่ให้ซ้ำกับชื่อของก่วนหนิง เพื่อนสนิทของฮัวหิม ซึ่งสะกดชื่อว่า Guan Ning เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและกวนเหล็ง · ดูเพิ่มเติม »

กวนเต๋ง

กวนเต๋ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กวนติ้ง (Guan Ding) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เป็นบิดาของกวนเหล็งและกวนเป๋ง อาศัยอยู่บริเวณใกล้เมืองกิจิ๋ว เมื่อกวนอูได้เดินทางไปตามเล่าปี่ซึ่งกำลังอยู่กับอ้วนเสี้ยวที่เมืองกิจิ๋ว กวนอูได้ให้ซุนเขียนเข้าไปหาเล่าปี่ ส่วนตนเข้าไปขอพักค้างคืนที่บ้านของกวนเต๋ง กวนเต๋งได้ยินชื่อเสียงของกวนอูมานานจึงกล่าวว่า "ท่านกับเราเป็นแซ่เดียวกัน แต่ก่อนนั้นเราก็ได้ยินลืออยู่ว่าท่านมีฝีมือกล้าหาญ ประกอบทั้งความสัตย์ซื่อ ซึ่งได้พบท่านนี้เป็นบุญของเรา"เล่าปี่พบจูล่ง, สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เล่ม 2, เจ้าพระยาพระคลัง (หน), สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร,..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและกวนเต๋ง · ดูเพิ่มเติม »

กวนเป๋ง

กวนเป๋ง (เสียชีวิต ค.ศ. 220)บันทึกจือจื้อทงเจี้ยนระบุว่ากวนเป๋งถูกจับและถูกประหารในเดือน 12 ปีที่ 24 ของศักราชเจี้ยนอัน (ค.ศ. 196-220) ในรัชสมัยของพระเจ้าเหี้ยนเต้ ตามเนื้อความในบันทึกจือจื้อทงเจี้ยน เล่มที่ 68 ดังนี้: (... 十二月,璋司馬馬忠獲羽及其子平於章鄉,斬之,遂定荊州。) ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและกวนเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

กิมสวน

กิมสวน (เสียชีวิต ค.ศ. 209) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า จินเสฺวียน มีชื่อรองว่าเยฺหวียนจี เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนศึกในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นเจ้าเมืองบุเหลงซึ่งเป็นหัวเมืองหนึ่งในแคว้นเกงจิ๋ว.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและกิมสวน · ดูเพิ่มเติม »

กุยฮิวจี๋

กุยฮิวจี๋ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กัวโยวจือ มีชื่อรองว่าเหยี่ยนฉาง เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนนางของจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองลำหยง (南陽 หนานหยาง ปัจจุบันคือเมืองหนานหยาง มณฑลเหอหนาน) จูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) อัครมหาเสนาบดีแห่งจ๊กก๊ก ได้เขียนกล่าวถึงกุยฮิวจี๋ในฎีกาออกศึก (出師表 ชูชือเปี่ยว) ฉบับแรกในปี ค.ศ. 227 ว่ากุยฮิวจี๋เป็นผู้มีความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์เป็นอย่างสูง กุยฮิวจี๋ถูกระบุชื่อพร้อมด้วยตังอุ๋นและบิฮุยว่าเป็นขุนนางมีความสามารถที่สามารถให้คำปรึกษาในราชการทั้งใหญ่และน้อยแก่พระเจ้าเล่าเสี้ยนได้.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและกุยฮิวจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

ก่วน หนิง

ก่วน หนิง (ค.ศ. 158 – ค.ศ. 241) มีชื่อรองว่า โย่วอัน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นนักเขียนและบัณฑิตในวุยก๊ก เป็นชาวอำเภอจูซฺวี (朱虛縣 จูซฺวีเซี่ยน) เมืองปักไฮ (北海郡 เป๋ยไห่จฺวิ้น) ซึ่งปัจจุบันคือบริเวณใกล้อำเภอหลิงฉฺวี มณฑลซานตง บิดาของก่วน หนิงเสียชีวิตเมื่อก่วน หนิงอายุ 16 ปี ก่วน หนิง เป็นเพื่อนสนิทของฮัวหิมและปิ่งหยวน ทั้งสามคนได้รับการยกย่องรวมกันว่าเป็นตัวมังกร โดยฮัวหิมเป็นตัวมังกร ปิ่งหยวนเป็นท้องมังกร และก่วน หนิง เป็นหางมังกร วันหนึ่งก่วน หนิงและฮัวหิมนั่งอ่านหนังสือด้วยกัน ข้างนอกมีเสียงเอะอะเพราะมีผู้มีอิทธิพลนั่งรถผ่านมา ก่วน หนิง ยังคงนั่งเฉย แต่ฮัวหิมกลับทิ้งหนังสือเดินออกไปดู ตั้งแต่นั้นมาก่วน หนิง ก็ดูถูกฮัวหิมแล้วเลิกคบเป็นเพื่อนกับฮัวหิม ต่อมาก่วน หนิง ไปอยู่ที่เลียวตั๋ง ใช้ชีวิตอย่างสันโดษ ตลอดชีวิตไม่เคยรับราชการกับวุยก๊กเลย ในวรรรณกรรมสามก๊กของล่อกวนตง เรื่องราวของก่วน หนิง เล่าแทรกไว้ในตอนที่ 66 เพื่อแนะนำประวัติความเป็นมาของฮัวหิม แต่ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ไม่ปรากฏชื่อของก่วน หนิง เพราะไม่ได้แปลเนื้อเรื่องในส่วนนี้.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและก่วน หนิง · ดูเพิ่มเติม »

ก้วนซุน

ก้วนซุน หรือ กวนกี มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าหมิ่นฉุน มีชื่อรองว่าโป๋เตี่ยน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นขุนนางในเมืองกิจิ๋ว รับราชการกับฮันฮก เจ้าเมืองกิจิ๋ว ชื่อของก้วนซุนในสำเนียงจีนกลางตามประวัติศาสตร์คือหมิ่นฉุน ส่วนในวรรณกรรมสามก๊กของล่อกวนตง ชื่อของก้วนซุนในสำเนียงจีนกลางเรียกเป็น กวนฉุน (Guan Chun) ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จึงเรียกเป็นก้วนซุน นอกจากนี้ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ยังมีการเรียกชื่อก้วนซุนเป็นกวนกีอีกชื่อหนึ่ง.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและก้วนซุน · ดูเพิ่มเติม »

ม้าเจ๊ก

ม้าเจ๊ก (Ma Su;; ค.ศ. 190 — ค.ศ. 228) เป็นหนึ่งในที่ปรึกษาหรือกุนซือและแม่ทัพคนหนึ่งของจ๊กก๊ก.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและม้าเจ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสามก๊ก

แผ่นที่แสดงอาณาเขตของแต่ละก๊กในปี พ.ศ. 805 (Wei-วุย) (Wu-ง่อ) (Shu-จ๊ก) สามก๊ก (ค.ศ. 220–280; Three Kingdoms) เป็นไตรภาคีระหว่างรัฐวุย (魏) จ๊ก (蜀) และง่อ (吳) หลังการหมดอำนาจโดยพฤตินัยของราชวงศ์ฮั่นในจีน นำสู่การเริ่มหกราชวงศ์ (六朝) แต่ละรัฐปกครองโดยจักรพรรดิซึ่งอ้างการสืบราชสันตติวงศ์โดยชอบจากราชวงศ์ฮั่น ในความหมายทางวิชาการอย่างเคร่งครัด ยุคสามก๊กหมายถึงช่วงเวลาระหว่างการก่อตั้งรัฐวุยใน..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ช รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร บ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร พ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (พ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ก รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฝ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฝ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฝ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ภ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ภ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ภ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ม รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ย รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ล รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ว)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ว รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ว) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ส รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ห รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร อ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฮ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร จ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ถ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ท รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ข รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ค รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ง รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฉ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ซ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ป รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก

รายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก แสดงรายชื่อของบุคคลที่เป็นตัวละครสมมติที่ปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊ก รายชื่อประกอบด้วยตัวละครสมมติที่ปรากฏในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊กของล่อกวนตง (คือเป็นตัวละครที่แต่งเสริมขึ้นมา ไม่ปรากฏชื่อในหลักฐานทางประวัติศาสตร์) และชื่อของตัวละครสมมติที่ปรากฏในแหล่งอื่นที่อิงประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ชื่อตัวละครที่ปรากฏในวรรณกรรม สามก๊ก เรียงตามลำดับตามการปรากฏชื่อในวรรณกรรม แบ่งตามตอนที่ปรากฏชื่อครั้งแรก (ในรายชื่อนี้แบ่งตอนของวรรณกรรมสามก๊ก เป็น 120 ตอนตามวรรณกรรมฉบับภาษาจีน ต่างจากสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ที่แบ่งเป็น 87 ตอน).

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อตัวละครสมมติในยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักปรัชญา

# กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ (Gottfreid W. Leibniz).

ใหม่!!: ล่อกวนตงและรายชื่อนักปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537)

มพี่น้องร่วมสาบานแห่งสวนท้อ เตียวหุย (ซ้าย) เล่าปี่ (กลาง) กวนอู (ขวา) ในสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของสถานีโทรทัศน์ซีซีทีวี ภาพยนตร์โทรทัศน์ชุด "สามก๊ก" เป็นภาพยนตร์ที่ผลิตขึ้นโดย สถานีโทรทัศน์ซีซีทีวีของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยเริ่มถ่ายทำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ทีมงานสร้างภาพยนตร์ชุดนี้มีผู้กับกับระดับยอดเยี่ยมของจีนเป็นผู้กำกับ มีการการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญสาขาด้านต่างๆ จากทั่วประเทศ และด้วยความสนับสนุนกล้องของประเทศญี่ปุ่นใช้ในการถ่ายทำ โดยภาพยนตร์โทรทัศน์ชุดนี้นับว่าเป็นสื่อภาพยนตร์สามก๊กที่สมบูรณ์ที่สุด ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 แบ่งเนื้อหาออกเป็น 84 ตอน ความยาวตอนละ 44 นาที ภาพยนตร์โทรทัศน์ชุดนี้ได้รับการนำเข้ามาฉายในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อกลางปี พ.ศ. 2537 ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. โดยบริษัทมีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด เวลาประมาณ 22.00 น. และทางช่องเอ็มวีทีวี วาไรตี้ แชนแนล เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537) · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2553)

มก๊ก ได้รับการสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้ง โดยเริ่มถ่ายทำตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสามก๊ก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2553) · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก มหาสนุก

มก๊ก มหาสนุก เป็นงานเขียนการ์ตูนเรื่องยาวจากวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่อง สามก๊ก (แต่งโดย หลอกว้านจง) โดย สุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ (หมู นินจา) ตีพิมพ์ในนิตยสารมหาสนุกตั้งแต่ พ.ศ. 2548 จนถึง พ.ศ. 2550 ได้พิมพ์รวมเล่มเป็นการ์ตูนสีรวมทั้งหมด 45 เล่ม และบริษัทวิธิตาได้นำเรื่องสามก๊กมาสร้างเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นมาแล้ว 2 ภาค ออกฉายทางช่อง 7 ล่าสุดได้รับการแปลเป็นภาษาเกาหลีแล้ว ซึ่งจัดจำหน่ายโดย บริษัท พีเอ็มจี โฮลดิ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด และบริษัท ซัมซุง บุ๊ค พับลิเชอร์ สามก๊ก มหาสนุกที่เป็นหนังสือการ์ตูนนั้น ใช้ชื่อว่า "การ์ตูนมหาสนุก ฉบับ สามก๊ก" ส่วนสามก๊ก มหาสนุกที่เป็นการ์ตูนแอนิเมชันนั้นใช้ชื่อว่า "สามก๊ก มหาสนุก".

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสามก๊ก มหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)

มก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เป็นแม่กองแปล ตั้งแต..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) · ดูเพิ่มเติม »

สิบขันที

ันที หรือ สิบเสียงสี (Ten Attendants) เป็นกลุ่มของขุนนางขันทีที่มีอิทธิพลในราชสำนักของพระเจ้าเลนเต้ (ฮั่นหลิงตี้ ครองราชย์ ค.ศ. 168 - ค.ศ. 189) แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของประเทศจีน แม้ว่าจะถูกเรียกว่าเป็นกลุ่มของคน 10 คน แต่จริงๆแล้วกลุ่มสิบขันทีประกอบด้วยขันทีจำนวน 12 คน และทุกคนดำรงตำแหน่งจงฉางชื่อ (中常侍; "ขันทีส่วนกลาง") ในราชสำนักของพระเจ้าเลนเต้ ขันทีทั้ง 12 คนได้แก่ เตียวเหยียง (張讓 จางร่าง), เตียวต๋ง (趙忠 เจ้าจง), เห้หุย (夏惲 เซี่ยยฺหวิน), ก๊กเสง (郭勝 กัวเซิ่ง), ซุนจาง (孫璋), ปี้หลัน (畢嵐), ลี่ซง (栗嵩), ต๋วนกุย (段珪 ตฺวั้นกุย), เกาว่าง (高望), จางกง (張恭), หันคุย (韓悝) และซ่งเตี่ยน (宋典) (張讓者,潁川人;趙忠者,安平人也。... 是時讓、忠及夏惲、郭勝、孫璋、畢嵐、栗嵩、段珪、高望、張恭、韓悝、宋典十二人,皆為中常侍,...) โฮ่วฮันชู เล่มที่ 78.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสิบขันที · ดูเพิ่มเติม »

สี่สุดยอดวรรณกรรมจีน

ี่สุดยอดวรรณกรรมจีน คือนวนิยายของจีน 4 เรื่องซึ่งเหล่าบัณฑิตยอมรับว่าเป็นวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่และมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ของประเทศ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน · ดูเพิ่มเติม »

หงสาจอมราชันย์

หงสาจอมราชันย์ เป็นการ์ตูนจีนที่สร้างสรรค์โดยเฉินเหมา นักเขียนชาวฮ่องกง เรื่องราวหยิบยกเอาเหตุการณ์ใน สามก๊ก จากทั้งวรรณกรรมและพงศาวดารมาเป็นโครงเรื่อง โดยมีตัวละครเอกคือสุมาอี้ และ จูล่ง โครงเรื่องหลักอ้างอิงเนื้อเรื่องจากประวัติศาสตร์วรรณคดีสามก๊ก ฉบับหลอ กว้านจง ซึ่งตัวละครและเหตุการณ์ต่างๆปรากฏขึ้นตามวรรณกรรมไม่ผิดเพี้ยน หากแต่มีการตีความเหตุการณ์ต่างๆ ในรูปแบบอื่น และแต่งเติมเรื่องราวรายละเอียดเข้าไปใหม่ คล้ายกับเป็นเบื้องลึกเบื้องหลังของวรรณกรรม หรือช่องว่างที่ขาดหายไปจากประวัติศาสตร์ ที่มีความซับซ้อนกว่าการบันทึกดั้งเดิม ตัวอย่างเช่น การนำ สุมาอี้ หรือ ลกซุน ที่โดดเด่นในช่วงท้ายยุคสามก๊ก แต่กลับไม่ค่อยมีบันทึกประวัติในวัยเยาว์ มาใส่บทบาทในเหตุการณ์ต่างๆ การให้บทของ เตียวเสี้ยน เป็นมือสังหารอาชีพที่เชี่ยวชาญการใช้ธนูและการล่อลวงด้วยความงาม หรือการตีความขุนพลที่โด่งดังในความบ้าบิ่น เช่น ลิโป้ และ เตียวหุย ว่าแท้จริงมีปัญญาหลักแหลม การเพิ่มบทบาทของ จูล่ง และ ม้าเฉียว ที่ไร้บทบาทในบันทึกประวัติศาสตร์บ่อยครั้ง ว่าแท้จริงเป็นผู้ที่ไปกระทำการต่างๆเบื้องหลัง เช่นเป็นมือสังหารหรือสายลับ ปัจจุบันนอกจากฮ่องกงกับไต้หวันแล้ว หงสาจอมราชันย์ ยังถูกซื้อลิขสิทธิ์ไปตีพิมพ์ในหลาย ๆ ประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม สิงคโปร์ และ ไท.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและหงสาจอมราชันย์ · ดูเพิ่มเติม »

อ้องอุ้น

หวัง ยฺหวิ่น ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ อ้องอุ้น ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 137–192) ชื่อรองว่า จื่อชือ (子师) เป็นข้าราชการชาวจีนปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ดำรงตำแหน่งอุปราช (司徒) ในรัชกาลพระเจ้าหลิว เสีย (劉協) หรือหองจูเหียบ เข้าสู่อำนาจโดยวางแผนให้ขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) สังหารอุปราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) แต่ในไม่ช้า ผู้ใต้บัญชาของต่ง จั๋ว ก็ก่อการกำเริบ เป็นผลให้หวัง ยฺหวิ่น ถูกประหารพร้อมครอบครัว ในนวนิยายเรื่อง สามก๊ก (三國演義) หวัง ยฺหวิ่น เป็นบิดาบุญธรรมของตัวละครหญิงชื่อ เตียวฉัน/เตียวเสียน (貂蟬) ซึ่งเขาใช้ไปยุแยงให้ลฺหวี่ ปู้ และต่ง จั๋ว บาดหมางกัน จนลฺหวี่ ปู้ สังหารต่ง จั๋ว.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและอ้องอุ้น · ดูเพิ่มเติม »

จอมยุทธ์พเนจร

อมยุทธ์พเนจร เป็น คำเรียก ผู้กล้านักสู้ ที่ร่อนพเร่ไปที่ต่างๆของจีน ในยุคระหว่าง ราชวงศ์ฮั่น และ ราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและจอมยุทธ์พเนจร · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุสามก๊ก

หมายเหตุสามก๊ก (Records of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ บทประพันธ์โดยเฉินโซ่ว ชาวเสฉวนที่มีตัวตนและมีชีวิตจริงอยู่ในยุคสามก๊ก โดยเนื้อหาตามบทประพันธ์เกิดจากจินตนาการ ซึ่งแท้จริงแล้วฉากสำคัญหลายฉากในจดหมายเหตุสามก๊กเช่น ในปี พ.ศ. 776 ซึ่งเป็นปีเกิดของเฉินโซ่ว ภายหลังพระเจ้าเหี้ยนเต้สละบัลลังก์แล้ว ตระกูลของเฉินโซ่วรับราชการเป็นบริวารแก่จ๊กก๊กของพระเจ้าเล่าปี่ ซึ่งรวมทั้งเฉินโซ่วด้วย ซึ่งบันทึกทางประวัติศาสตร์รวมทั้งเรื่องราวการต่อสู้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นการบันทึกโดยบิดาของเฉินโซ่ว ในปี พ.ศ. 806 แคว้นจ๊กก๊กที่เฉินโซ่วอาศัยอยู่ ได้ประกาศยอมแพ้ต่อแคว้นวุย เฉินโซ่วและครอบครัวรวมทั้งชาวจ๊กก๊กคนอื่น ๆ ถูกนำตัวไปยังวุยก๊ก ขณะนั้นสุมาเจียว ซึ่งเป็นผู้ครองแคว้นวุยสิ้นพระชนม์ สุมาเอี๋ยนจึงเป็นผู้สืบทอดแคว้นต่อไปและสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนราชวงศ์วุย และแย่งชิงราชบัลลังก์จากพระเจ้าโจฮวนในปี พ.ศ. 808 ก่อนจะสถาปนาตนเองเป็นพระเจ้าจิ้นหวู่ตี้แห่งราชวงศ์ใหม่ ราชวงศ์จิ้นตะวันตก 15 ปีสืบต่อมา พระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ก็สามารถรวบรวมอาณาจักรสามก๊กให้รวมเป็นหนึ่งเดียวได้ พระเจ้าจิ้นหวู่ตี้ทรงโปรดให้เฉินโซ่วรวบรวมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงศึกสามก๊กอย่างละเอียด เริ่มตั้งแต่ในช่วงพระเจ้าเลนเต้ขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 711 จนถึงการรวบรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งเดียวใน พ.ศ. 823อย่างละเอียด เพื่อเอากลศึกสงครามต่าง ๆ ที่เกิดในยุคนี้ให้เป็นตำราสงครามให้แก่คนรุ่นหลัง สามก๊กฉบับแรกนี้มีชื่อว่า "ซันกั๋วจื้อ" แต่ซันกั๋วจื้อก็ไม่ได้รับความนิยม ซันกั๋วจื้อจึงกลายเป็นต้นแบบในการประพันธ์วรรณกรรมสามก๊กในยุคหลัง ที่สำคัญได้แก่ ซันกั๋วยั่นอี้ของหลัว กวั้นจง.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและจดหมายเหตุสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก

วาดจากหนังสือสามก๊กในยุคราชวงศ์หมิง ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก แสดงรายการเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้นในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เรียงตามลำดับเหตุการณ์ พร้อมอธิบายความแตกต่างระหว่างเนื้อเรื่องในวรรณกรรมและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเรื่องสามก๊กมีเนื้อหาที่อิงมาจากประวัติศาสตร์ปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกต่อยุคสามก๊ก ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จึงทำให้ผู้อ่านหลายคนเข้าใจผิดว่าเนื้อเรื่องที่ปรากฏในวรรณกรรมเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในยุคสามก๊ก แหล่งข้อมูลของประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กที่เชื่อถือได้มากที่สุดคือจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อหรือสามก๊กจี่) ที่เขียนโดยตันซิ่ว และเพิ่มอรรถาธิบายโดยเผยซงจือ แหล่งข้อมูลอื่นๆที่ครอบคลุมประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กได้แก่ โฮ่วฮั่นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง) ของฟ่านเย่ และ จิ้นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์จิ้น) ของฝางเสฺวียนหลิ่ง ด้วยความที่วรรณกรรมเรื่องสามก๊กเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ เนื้อเรื่องหลายส่วนจึงเป็นเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้น หรือนำมาจากนิทานพื้นบ้าน หรืออิงมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคอื่นๆของประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

คำสาบานในสวนท้อ

ล่าปี่ กวนอู เตียวหุยทำพิธีสาบานตนในสวนท้อ คำสาบานในสวนท้อ (Oath of the Peach Garden) ในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ประพันธ์โดยหลอ กว้านจง ได้กล่าวถึงคำสาบานในสวนท้อ ซึ่งเป็นการกล่าวร่วมสัตย์สาบานตนเป็นพี่น้องร่วมสายเลือดระหว่างเล่าปี่ กวนอูและเตียวหุย ภายหลังจากได้อ่านประกาศจากทางวังหลวง เพื่อรับสมัครอาสาจากชาวเมืองเป็นจำนวนมาก ในการร่วมกับทหารหลวงออกปราบปรามกบฏโจรโพกผ้าเหลืองที่นำโดยเตียวก๊ก ภายหลังจากเกิดความอดยากและการถูกกดขี่ข่มเหงจากเหล่าขุนนาง ออกปล้นสะดมเข่นฆ่าราษฏร สร้างความปั่นป่วนวุ่นวายให้แก่ราชสำนักและราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและคำสาบานในสวนท้อ · ดูเพิ่มเติม »

งิมหุน

งิมหุน (Cen Hun, ? — ค.ศ. 280) เสนาบดีแห่ง ง่อก๊ก ในช่วงปลายของ ยุคสามก๊ก แต่ในสามก๊กฉบับวรรณกรรมของ หลอ กว้านจง ได้กล่าวว่างิมหุนเป็นขันทีคนสนิทของ พระเจ้าซุนโฮ จักรพรรดิองค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ง่อซึ่งคอยยุยงให้พระเจ้าซุนโฮหลงใหลสุรานารีและทำสิ่งไม่ดีมากมายจนลืมราชกิจเฉกเช่นเดียวกับ พระเจ้าเล่าเสี้ยน จักรพรรดิองค์ที่ 2 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์จ๊ก ที่มี ฮุยโฮ เป็นขันทีคนสนิทเมื่อ ง่อก๊กล่มสลาย ใน..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและงิมหุน · ดูเพิ่มเติม »

ตันก๋ง

ฉิน กง ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ ตันก๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ตาย ค.ศ. 198) ชื่อรองว่า กงไถ (公臺) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รับใช้ขุนศึกเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ต่อมาเป็นที่ปรึกษาของขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) หลังจากเฉา เชา พิชิตลฺหวี่ ปู้ ในยุทธการเซี่ยพี (下邳之戰) แล้ว ก็ประหารเฉิน กง พร้อมกับลฺหวี่ ปู้ ในนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก (三國演義) เฉิน กง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฮั่น แต่เลื่อมใสเฉา เชา ที่คิดกำจัดทรราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) จึงละทิ้งราชการออกติดตามเฉา เชา แต่เมื่อเห็นเฉา เชา สังหารลฺหวี่ ปั๋วเชอ/ลิแปะเฉีย (呂伯奢) ทั้งตระกูลด้วยความเข้าใจผิด เฉิน กง จึงผละหนีจากเฉา เชา ไปเข้ากับลฺหวี่ ปู้ ท้ายที่สุดก็ถูกเฉา เชา ประหารพร้อมลฺหวี่ ปู้ เช่นเดียวกับในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและตันก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ตั๋งโต๊ะ

ตั๋งโต๊ะ (เสียชีวิต 22 พฤษภาคม ค.ศ. 192) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า ต่ง จั๋ว ชื่อรองว่า จ้งอิ่ง (仲穎) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่งยึดอำนาจในพระนครลกเอี๋ยง (洛阳 ลั่วหยาง) ใน..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและตั๋งโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

ซุนกวน

ระเจ้าซุนกวน (181 — 252) หรือ พระเจ้าหวูต้าตี้ เป็นตัวละครในวรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์ เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ผู้ก่อตั้งและพระมหากษัตริย์ของง่อก๊ก (吳) หนึ่งในสามอาณาจักรของยุคสามก๊ก ซุนกวนเป็นบุตรคนที่สองของซุนเกี๋ยน และเป็นน้องชายของซุนเซ็ก เมื่อซุนเซ็กพี่ชายตายไปจึงได้ขึ้นครองเมืองกังตั๋งแทนด้วยวัยแค่ 18 ปี แม้ซุนกวนจะไม่ปรากฏความสามารถในการรบเหมือนผู้พี่แต่มีความสามารถในการปกครองสูงมาก มารดาของซุนกวนได้ตายไปก่อนหน้านี้ ผู้ที่เลี้ยงซุนกวนขึ้นมา คือ ง่อก๊กไท่ ผู้มีศักดิ์เป็นน้าของซุนกวน ซึ่งซุนกวนนับถือง่อก๊กไท่ผู้นี้เสมือนแม่แท้ ๆ ของตัว ซุนกวนมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว มีตาสีเขียว หนวดเคราแดง เมื่อขึ้นครองเมืองแต่ยังเล็ก จึงได้รับฉายาว่า "ทารกตาเขียว" ซึ่งในบรรดาผู้นำก๊กทั้ง 3 นั้น ซุนกวนเป็นผู้มีอายุน้อยที่สุด แม้ตอนที่โจโฉยกทัพไปรบกับง่อก๊กของซุนกวนในศึกหับป๋า ซุนกวนก็บัญชาการรบอย่างแข็งขัน จนโจโฉที่แม้แต่เป็นศัตรูยังเอ่ยปากชมว่า "ถ้าจะได้บุตร ต้องได้บุตรอย่างซุนกวน" ซุนกวนมีน้องสาวอยู่นางหนึ่ง เป็นบุตรสาวของง่อก๊กไท่ ชื่อว่าซุนซางเซียงแต่เรียกกันว่า ซุนฮูหยิน ซึ่งต่อมาในภายหลังได้แต่งงานกับเล่าปี่ เป็นภรรยาคนที่ 3 ของเล่าปี่ ซุนกวนออกอุบายให้นางกลับคืนมาง่อก๊ก โดยเชิญนางให้เร่งรีบกลับมาพร้อมอาเต๊าโดยที่เล่าปี่ไม่รู้ แต่ขงเบ้งอ่านอุบายออก จึงให้จูล่งเร่งรีบเดินทางติดตามไป เมื่อถึงเรือของนางก็กระโดดขึ้นเรือขอให้นางกลับไป แต่นางไม่ยอม จูล่งจึงให้นางไปได้แต่อาเต๊า บุตรของเล่าปี่ต้องอยู่ ท้ายที่สุดอาเต๊าก็ได้กลับไปจ๊กก๊ก และเมื่อซุนฮูหยินทราบเมื่อกลับไปถึงว่านี่เป็นอุบายของพี่ชาย ก็เศร้าโศกเสียใจ ท้ายที่สุดนางก็ตรอมใจตาย ซุนกวน เองก็ปรารถนาก็จะเป็นใหญ่ในแผ่นดินเช่นเดียวกับโจโฉและเล่าปี่ เมื่อตอนที่เล่าปี่มาที่ง่อก๊กเพื่อที่จะสมรสกับซุนฮูหยิน แต่ซุนกวนได้ให้คนคอยซุ่มทำร้ายเล่าปี่อยู่เป็นระยะ ๆ เล่าปี่ก็รู้ทันและได้จูล่งแก้สถานการณ์ให้ เมื่อออกมาจากงานได้รำพันถอดถอนหายใจถึงชะตากรรมตัวเอง และได้เจอหินก้อนใหญ่ก้อนหนึ่ง เล่าปี่อธิษฐานว่าหากตนจะได้เป็นใหญ่ ขอให้ใช้กระบี่ฟันหินนี้ให้แตกเป็น 2 ท่อน ก็ปรากฏว่าฟันหินได้ขาดจริง ๆ ซุนกวนเห็นดังนั้นจึงอธิษฐานบ้าง ก็ปรากฏว่าสามารถฟันหินได้แตกเช่นกัน และทั้งคู่จึงได้ขี่ม้าออกชมทัศนียภาพของง่อก๊กด้วยกัน แต่นโยบายในการทำสงครามของซุนกวนจะไม่ประกาศเป็นศัตรูกับก๊กใหญ่อีก 2 ก๊ก นั้นอย่างเต็มที่ แต่จะผูกไมตรีกับทุกก๊กที่จะเป็นประโยชน์กับตัวเอง ดังจะเห็นว่า ซุนกวนเองแม้จะผูกไมตรีกับจ๊กก๊ก แต่ก็หาทางจะกำจัดเล่าปี่อยู่เสมอ ๆ ถ้ามีโอกาส และซุนกวนเองก็เป็นสาเหตุการตายของกวนอู โดยซุนกวนออกอุบายทำให้จับกวนอูได้ จากนั้นจึงตัดหัวกวนอูส่งไปให้โจโฉ ซึ่งทำให้ทั้งเล่าปี่และเตียวหุยแค้นซุนกวนมาก และทั้งเตียวหุยและเล่าปี่ก็ต้องมาตายด้วยการมาแก้แค้นให้กวนอูทั้งสิ้น และต่อมาใน ปี..252 พระเจ้าซุนกวนสวรรคต รวมเวลาเสวยราชย์อยู่ได้ 24 ปี ภายหลังพระเจ้าซุนกวนสวรรคตไปแล้ว พระโอรสก็ได้ขึ้นเป็นผู้นำก๊กต่อ แต่สภาพภายในง่อก๊กไม่แข็งแกร่งเหมือนเก่า ขุนนางแตกแยกกันเอง จนนำมาสู่การล่มสลายของก๊กในที.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและซุนกวน · ดูเพิ่มเติม »

ปิศาจจิ้งจอก (จีน)

วาดปิศาจจิ้งจอกเก้าหางในสมัยราชวงศ์ชิง ปิศาจจิ้งจอก หรือเดิมใช้ว่า ปิศาจเสือปลา (จีน: 九尾狐; พินอิน: jiǔ wěi hú; คำแปล: จิ้งจอกเก้าหาง) เป็นปิศาจในเทพปกรณัมจีนซึ่งอาจดีหรือร้ายก็ได้ จีนเชื่อว่า สรรพสิ่งสามารถมีอำนาจวิเศษ มีชีวิตอมตะ และแปลงเป็นมนุษย์ได้ ถ้าได้บำเพ็ญตบะมานานพอสมควร ปิศาจจิ้งจอกนั้นคือสุนัขจิ้งจอกเพศเมียที่สามารกลายร่างเป็นมนุษย์หญิงสาวโฉมงาม ปรกติแล้วเชื่อกันว่า ปิศาจจิ้งจอกเป็นผีร้าย ปิศาจจิ้งจอกซึ่งเป็นที่รู้จักมากที่สุดตัวหนึ่ง คือ ปิศาจจิ้งจอกเก้าหางในนิยายเรื่อง เฟิงเฉิน หรือ สถาปนาเทวดา (封神) ของสฺวี่ จ้งหลิน (許仲琳) ในสมัยราชวงศ์หมิง ที่ฆ่านางต๋าจี่ (妲己) แล้วสิงร่างนางไปเป็นสนมพระเจ้าโจ้ว (紂) แห่งราชวงศ์ซาง เพื่อล่อลวงให้พระเจ้าโจ้วถึงแก่ความวิบัติตามเสาวนีย์ของนางฟ้านฺหวี่วา (女媧) อย่างไรก็ดี ในนิยายบางเรื่อง ปิศาจจิ้งจอกมิได้มุ่งร้าย เช่น เรื่อง ซันซุ่ยผิงเยาฉวน หรือ สามซุ่ยพิชิตมาร (三遂平妖傳) ของหลัว กวั้นจง (羅貫中) ในสมัยราชวงศ์หมิง ว่าด้วยปิศาจจิ้งจอกสอนวิทยาคมให้หญิงสาวคนหนึ่ง หญิงคนนั้นจึงเอาชนะกองทัพได้ และเรื่อง เหลียวไจจื้ออี้ หรือ เรื่องประหลาดจากห้องศิลป์ (聊齋誌異) ของผู ซงหลิง (蒲松齡) ในสมัยราชวงศ์ชิง ที่ว่าด้วยความรักระหว่างมนุษย์หนุ่มและจิ้งจอกสาว รวมถึงในความเชื่อดั้งเดิมของชาวจ้วง ที่อาศัยอยู่ในภาคใต้ของจีน ตลอดจนปรากฏเป็นภาพเขียนสีตามผนังถ้ำในยุคก่อนประวัติศาสตร์ทางภาคเหนือและอีสานของไทย หมาเก้าหางเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ที่ขโมยข้าวด้วยการจุ่มหางจากสวรรค์มาให้แก่มวลมนุษย์ จึงถูกเทวดาไล่ฟันจนเหลือหางเพียงหางเดียวอย่างในปัจจุบัน และเป็นต้นกำเนิดของข้าว เชื่อว่านิทานเรื่องหมาเก้าหางนี้กระจายไปทั่วภูมิภาคอาเซียนในยุคก่อนประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ ชาวจีนยังโทษว่า ปิศาจจิ้งจอกทำให้ชายมีองคชาตหดเล็กลงจนเป็นโรคจู๋.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและปิศาจจิ้งจอก (จีน) · ดูเพิ่มเติม »

แฮหัวตุ้น

แฮหัวตุ้น (Xiahou Dun) เป็นนายพลภายใต้ทัพวุยก๊กของโจโฉในยุคสามก๊กในประวัติศาสตร์จีน แฮหัวตุ้นยังเป็นญาติกับโจโฉโดยแต่เดิมโจโฉนามสกุล "แฮหัว" แต่ได้เปลี่ยนตามพ่อบุญธรรมเป็นสามสกุล "โจ" แฮหัวตุ้นเป็นแม่ทัพมือขวาและยังเป็นลูกพี่ลูกน้องที่โจโฉให้ความไว้วางใจมากที่สุดคนหนึ่ง และเขาก็เป็นคนที่อยู่กับโจโฉมาตั้งแรกเริ่มที่โจโฉเริ่มก่อการจวบจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งเขาได้โจโฉขยายอำนาจในการต่อสู้กับ เล่าปี่ ซุนกวน และ ลิโป้ แฮหัวตุ้นสูญเสียดวงตาข้างซ้ายในศึกเสียวพ่าย ในปี..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและแฮหัวตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

โกเสียง

กเสียง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าเกาเสียง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นขุนพลของจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและโกเสียง · ดูเพิ่มเติม »

โจเจียง

ียง เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของโจโฉอันเกิดจากนางเปียนซี หนวดเคราสีเหลือง มีความสามารถในการรบสูง โจโฉให้โจเจียงเป็นเจ้าเมืองเอียนเหลง เมื่อโจโฉตายแล้ว โจผีได้อำนาจต่อ โจเจียงไม่ขัดขวางการขึ้นมามีอำนาจของโจผี จึงได้ครองเมืองเอียนเหลงต่อไป.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและโจเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ไดนาสตีวอริเออร์ 5

นาสตีวอริเออร์ 5 เป็นวีดิโอเกมแฮคและฟัน โดยมีฉากที่ประเทศจีน เป็นภาคที่ 5 ของซีรีส์ไดนาสตีวอริเออร์ พัฒนาโดยโอเมกาฟอร์ซ และจัดจำหน่ายโดยโคอิ โดยจำหน่ายในรูปแบบของเพลย์สเตชัน 2 และเอกซ์บอกซ์ โดยสร้างขึ้นจากนวนิยายจีนสามก๊ก โดยล่อกวนตง.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและไดนาสตีวอริเออร์ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เกียดเป๋ง

กียดเป๋ง (เสียชีวิต ค.ศ. 218) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าจี๋เปิ่น เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นแพทย์หลวงในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในประวัติศาสตร์ เกียดเป๋งร่วมกับพรรคพวกหลายคนก่อกบฏขึ้นในเมืองหลวงฮูโต๋ในปี..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเกียดเป๋ง · ดูเพิ่มเติม »

เล่าปี่

หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

เอสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊ก

อสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊ก (อังกฤษ SD Gundam Sangokuden Brave Battle Warriors) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 2010 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ หลอ กว้านจง เรื่อง สามก๊ก นำแสดงโดย ยูกิ คาจิ, ฮิโรกิ ยาสุโมโตะ, มาซายูกิ คาโต้,ซาโตรุ อิโนะอุเอะ ออกอากาศทางช่อง การ์ตูนคลับ ในไท.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเอสดี กันดั้ม ศึกตำนานสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ อัญชลี

อื้อ อัญชลี เป็นนามปากกาของ อัญชลี เอื้อกิจประเสริฐ (พ.ศ. 2517-) เป็นนักเขียนที่เป็นที่รู้จักจากคอลัมน์ สามก๊ก ฉบับคนกันเอง ในนิตยสาร มติชนสุดสัปดาห์ ผลงานการประพันธ์ของเธอเรื่อง เงาฝันของผีเสื้อ ได้รับการคัดเลือกเข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ปี 2552.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเอื้อ อัญชลี · ดูเพิ่มเติม »

เตียวหุย

ตียวหุย (เสียชีวิต ค.ศ. 221) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า จางเฟย์ มีชื่อรองว่า เอ๊กเต๊ก หรือ อี้เต๋อ เป็นแม่ทัพในวรรณกรรมจีนเรื่องสามก๊ก เป็นบุคคลคนหนึ่งที่อยู่ในสังกัดห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊กเป็นคนที่ 2.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเตียวหุย · ดูเพิ่มเติม »

เตียวอุ๋น

ตียวอุ๋น (Zhang Yun, ? — ?) ขุนศึกแห่ง วุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก ซึ่งก่อนหน้านั้นได้เคยรับใช้ เล่าเปียว เจ้าเมือง เกงจิ๋ว เมื่อ โจโฉ ยกกองทัพลงใต้ทางฝ่ายเกงจิ๋วซึ่งในขณะนั้นปกครองโดย เล่าจ๋อง บุตรชายของเล่าเปียวที่ถึงแก่กรรมไปก่อนหน้านั้นไม่นานก็เกรงว่าจะไม่ปลอดภัยจึงได้ยอมแพ้ต่อโจโฉเตียวอุ๋นจึงได้มารับใช้วุยก๊กสืบต่อมาซึ่งเตียวอุ๋นถึงแก่กรรมเมื่อใดไม่มีหลักฐาน แต่สามก๊กฉบับวรรณกรรมของ ล่อกวนตง ได้กล่าวไว้ว่าก่อนเกิด ศึกผาแดง ใน..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเตียวอุ๋น · ดูเพิ่มเติม »

เตียวฮ่อง

ตียวฮ่อง (Zhao Hong, ? — ค.ศ. 184) แม่ทัพของ กบฏโพกผ้าเหลือง ใน..

ใหม่!!: ล่อกวนตงและเตียวฮ่อง · ดูเพิ่มเติม »

ROTK

ROTK เป็นคำย่อ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ล่อกวนตงและROTK · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Luo Guanzhongหลอ กว้านจงหลอกว้านจงหลัว กวั้นจง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »