เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ลิ้นงูเห่า

ดัชนี ลิ้นงูเห่า

ลิ้นงูเห่า เป็นไม้ล้มลุกกึ่งเลื้อยในวงศ์ Acanthaceae ไม่ค่อยแตกกิ่งแขนง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบบาง ขอบใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยช่อละ 12 – 20 ดอก ดอกย่อยในช่อบานไม่พร้อมกัน สีส้ม ปลายแยกเป็น 2 แฉก เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออก กระจายพันธุ์ในเขตฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย ลักษณะต้นคล้ายพญายอแต่ใบกว้างกว่า สีเขียวเข้มกว่า ช่อดอกโตกว่า ใช้เป็นยาได้เช่นเดียวกับพญายอใช้เป็นไม้ประดับได้ด้ว.

สารบัญ

  1. 1 ความสัมพันธ์: พญายอ

พญายอ

ญายอ หรือ เสลดพังพอนตัวเมีย มีชื่อท้องถิ่นหรือชื่ออื่นอีก คือ: ผักมันไก่ ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) พญาปล้องดำ (ลำปาง) พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ลิ้นมังกร โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง)และ พญายอ (แม่ฮ่องสอน) เสลดพังพอนมีชื่อพ้องกัน คือ เสลดพังพอนตัวผู้ และเสลดพังพอนตัวเมีย แต่ต่างกันที่เสลดพังพอนตัวผู้มีหนาม สรรพคุณอ่อนกว่าเสลดพังพอนตัวเมีย เพื่อไม่ให้สับสนจึงเรียกเสลดพังพอนตัวเมียว่า "พญายอ" ส่วนมากนำมาทำเป็นยาสมุนไพรไทยจัดอยู่ในกลุ่มพืชถอนพิษ.

ดู ลิ้นงูเห่าและพญายอ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Clinacanthus siamensis