สารบัญ
8 ความสัมพันธ์: รถธงวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือหอคอยจอห์น วิลเลียมส์แมลงเสือซอลต์ครีกแซลลี ฟิลด์เฮนรี ฟอร์ด
รถธง
รถธง (Flagship Car) หมายถึง รถรุ่นที่ได้ชื่อว่า ดีที่สุด มีชื่อเสียงเกียรติยศมากที่สุด และเป็นความภาคภูมิใจของบริษัทรถแต่ละยี่ห้อ คำว่า รถธง หรือ Flagship Car มาจากคำว่า เรือธง หรือ Flagship ซึ่งมาจากในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 และก่อนหน้านั้น การทำสงครามยังไม่มีเครื่องบิน จึงมีการรบเฉพาะทางบกและทางน้ำ ในการรบทางน้ำ จะต้องใช้เรือเป็นหลัก การรบนั้นคงจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นหากส่งกองกำลังไปครั้งละหลายๆ ลำ หรือ กองเรือ (fleet of vessels) และเรือลำหนึ่งในฝูงเรือทั้งหมด จะได้รับเลือกให้เป็นที่ตั้งของหน่วยบัญชาการรบ ซึ่งถือเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลัก เป็นเอกลักษณ์ เป็นจุดสำคัญ และเป็นความภาคภูมิใจของกองเรือนั้น เป็นศัพท์เฉพาะที่เรียกว่า เรือธง (Flagship) เรือที่จะได้รับเลือกเป็นเรือธง จะต้องมีคุณสมบัติที่มีขนาดใหญ่ที่สุด หรือเร็วที่สุด หรือใหม่ที่สุด หรือติดอาวุธป้องกันตัวมากที่สุด และมีห้องประชุมขนาดใหญ่พอที่จะรับรองกัปตันของเรือทุกลำในกองเรือ เพื่อที่จะเป็นการสะดวกที่จะใช้เป็นหน่วยบัญชาการรบ และทหารในกองทัพ ต้องใส่ใจและปกป้องเรือธงของพวกเขาไว้อย่างสุดความสามารถ ต่อมาคำว่า Flagship กลายเป็นคำศัพท์แสลงในหลายวงการ ซึ่งจะมีความหมายถึงสิ่งที่เป็นหัวใจหลักขององค์กร เช่นเดียวกับในวงการธุรกิจรถยนต์ ซึ่งเปรียบบริษัทรถยนต์ว่าเป็นกองเรือ รถรุ่นต่างๆที่ค่ายรถยนต์ผลิตคือเรือรบลำน้อยใหญ่ในกองเรือ และรถรุ่นที่เป็นรถธงคือเรือธง ซึ่งเป็นรุ่นที่ได้ชื่อว่าดีที่สุด มีเกียรติยศมากที่สุดในบรรดารถทุกรุ่น และเป็นความภาคภูมิใจของค่ายรถยนต์ต้นสังกัด โดยทั่วไปแล้ว รถรุ่นที่ได้รับเลือกให้เป็นรถธง มักเป็นรถรุ่นที่ใหญ่ที่สุด หรูหราที่สุด แพงที่สุดของยี่ห้อนั้น แต่ก็มีบ้างบางยี่ห้อที่ตั้งให้รถขนาดกลางหรือขนาดอื่นๆ เป็นรถธงของพวกเขา ซึ่งแต่ละยี่ห้อได้มีการตั้งรถรุ่นที่เป็นรถธงดังนี้ จากการที่รถธงส่วนใหญ่ มักมีราคาแพง ทำให้รถธงเกือบทุกรุ่น ไม่ใช่รถที่มียอดขายสูงนักเมื่อเทียบกับรุ่นอื่นๆ ในยี่ห้อเดียวกัน แต่รถธงก็ถือเป็นความภาคภูมิใจของค่ายรถต้นสังกัด ค่ายรถส่วนใหญ่จะใส่ใจการผลิตรถธงของเขาอยู่มาก เพราะเป็นรุ่นที่แสดงเอกลักษณ์ของค่ายรถยนต์ที่ชัดเจน เป็นดั่งเรือธงในพาฝูงเรือของพวกเขาการต่อสู้ในสมรภูมิการค้า และเป็นเกียรติประวัติของค่ายรถยนต์ต่อไป.
วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 รอบคัดเลือก
วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงระหว่างประเทศในระดับต่างๆ เพื่อหาทีมวอลเลย์บอลเข้าแข่งขันรอบสุดท้ายในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ณ รีโอเดจาเนโร, ประเทศบราซิล.
ดู ลิงคอล์นและวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 รอบคัดเลือก
วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ
การแข่งขันรอบคัดเลือกอเมริกาเหนือสำหรับวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 จัดขึ้นในลิงคอล์น, รัฐเนแบรสกา, สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 7–9 มกราคม..
ดู ลิงคอล์นและวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ
หอคอย
ตเกียวสกายทรี เป็นหอคอยที่สูงที่สุดของโลก หอคอย (Tower) เป็นอาคารสูงที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์สำหรับคอยระวังเหตุและสังเกตการณ์ หอคอยมักสร้างขึ้นในลักษณะทางสูงและสามารถยืนอยู่ด้วยโครงสร้างของตัวเอง.
จอห์น วิลเลียมส์
อห์น วิลเลี่ยมส์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 -) นักแต่งเพลง นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ ผู้อำนวยเพลง และนักเปียโนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงอยู่ในแวดวงดนตรีมามากกว่า 6 ทศวรรษ โดยเป็นผู้แต่งและอำนวยเพลงประกอบภาพยนตร์จำนวนมากที่เป็นที่จดจำ ทั้งภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส (Star Wars), ซูเปอร์แมน (Superman), แฮร์รี พอตเตอร์ (Harry Potter), จูราสสิค พาร์ค (Jurassic Park), จอว์ส (Jaws), อี.ที.
ดู ลิงคอล์นและจอห์น วิลเลียมส์
แมลงเสือซอลต์ครีก
แมลงเสือซอลต์ครีก (Salt Creek tiger beetle) เป็นแมลงปีกแข็งหายาก พบเฉพาะบริเวณ รัฐเนแบรสกา สหรัฐอเมริกา และใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการขยายตัวของเมืองลิงคอล์น.
ดู ลิงคอล์นและแมลงเสือซอลต์ครีก
แซลลี ฟิลด์
แซลลี มาร์กาเรต ฟิลด์ (Sally Margaret Field; เกิด 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1946) เป็นนักแสดงและผู้กำกับชาวอเมริกัน ฟิลด์เริ่มแสดงในละครซิตคอมเรื่อง กิดเจ็ต (1965–66), เดอะฟลายอิงรัน (1967–70), และ เดอะเกิร์ลวิธซัมติงเอ็กซ์ตรา (1973–74) เธอเริ่มแสดงภาพยนตร์ในปี..
เฮนรี ฟอร์ด
นรี ฟอร์ด พ.ศ. 2462 เฮนรี ฟอร์ด (Henry Ford) (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2406 – 7 เมษายน พ.ศ. 2490) เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ และได้ชื่อว่าเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อให้เกิด "ชนชั้นกลาง" ขึ้นมาในสังคมอเมริกัน ฟอร์ดเป็นผู้แรกที่ประยุกต์ระบบสายพานการผลิตเข้ากับการผลิตยานยนต์ในจำนวนมาก ๆ ความสำเร็จนี้ไม่เพียงแต่ปฏิวัติการผลิตเชิงอุตสาหกรรมเท่านั้น แต่ยังมีอิทธิพลอย่างมากกับวัฒนธรรมสมัยใหม่ โดยนักทฤษฎีสังคมหลายคนถึงกับเรียกช่วงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมช่วงนี้ว่า "แบบฟอร์ด" (Fordism).
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Lincoln