เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ลักเซมเบิร์ก

ดัชนี ลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.

สารบัญ

  1. 168 ความสัมพันธ์: ฟัวกรากลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆกลุ่มสิบเจ็ดมณฑลกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำการบุกครองลักเซมเบิร์กของเยอรมนีการบุกครองนอร์ม็องดีการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คการรุกจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948การประกวดเพลงยูโรวิชันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การไม่มีศาสนากุนนีลา เบอร์นาดอตต์กูอิงบราฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาฝรั่งเศสภูมิศาสตร์ยุโรปมาการงมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015... ขยายดัชนี (118 มากกว่า) »

ฟัวกรา

ฟัวกรา เสิร์ฟแบบปิกนิกพร้อมขนมปัง ฟัวกรา เทียบกับตับห่านปกติ ฟัวกรา (foie gras; แปลว่า "ตับอ้วน") คือตับห่านหรือเป็ดที่ขุนให้อ้วนเป็นพิเศษ ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุดเช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือห่านธรรมดา ในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและฟัวกรา

กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ

กลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ (Western European and Others Group; WEOG) เป็นการแบ่งกลุ่มภูมิภาคอย่างไม่เป็นทางการกลุ่มหนึ่งในสหประชาชาติ โดยทำหน้าที่เป็นกลุ่มลงคะแนนเสียงและที่ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเจรจา กลุ่มลงคะแนนเสียงภูมิภาคนี้ได้รับการก่อตั้งใน..

ดู ลักเซมเบิร์กและกลุ่มยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล (Siebzehn Provinzen, Seventeen Provinces) เป็นการรวมตัวเป็นสหอาณาจักรของรัฐในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ที่ครอบคลุมบริเวณที่ในปัจจุบันคือเนเธอร์แลนด์, เบลเยียม, บริเวณพอสมควรในลักเซมเบิร์ก (อาร์ตัว, นอร์ด) และส่วนเล็กๆ ในเยอรมนี กลุ่มสิบเจ็ดมณฑลเดิมอยู่ภายใต้การปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีแห่ง ราชวงศ์วาลัวส์และต่อมาโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์ก เริ่มด้วยสายสเปนและตามด้วยสายออสเตรีย ตั้งแต่ปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและกลุ่มสิบเจ็ดมณฑล

กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ

一 ประเทศแผ่นดินต่ำต่างๆ กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (Low Countries) หมายถึง ภูมิภาคหนึ่งที่อยู่ทางด้านบนของทวีปยุโรป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของยุโรป สาเหตุที่เรียกว่าประเทศแผ่นดินต่ำนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านี้อยู่ในพื่นที่ที่ลาดต่ำมาก คือ ต่ำกว่าน้ำทะเล ทำให้เกิดอุทกภัยได้ง่าย จึงทำให้ประเทศเหล่านี้มีการจัดการกับอุทกภัยที่ดีที่สุด ของโลกก็ว่าได้ พื้นที่ของประเทศที่อยู่ในภูมิภาคประเทศแผ่นดินต่ำ มีดังนี้ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก และ ฝรั่งเศส(ทางตอนเหนือ).

ดู ลักเซมเบิร์กและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ

การบุกครองลักเซมเบิร์กของเยอรมนี

การบุกครองลักเซมเบิร์กของเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของกรณีเหลือง,เยอรมันได้บุกยึดครองกลุ่มประเทศต่ำ(เบลเยี่ยม,ลักเซมเบิร์กและเนเธอร์แลนด์)และฝรั่งเศสในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.การสู้รบได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ปี 1940 และกินเวลาได้แค่เพียงวันเดียว.การปะทะต่อต้านที่แสนจะเบาบาง,ลักเซมเบิร์กก็ถูกยึดครองอย่างรวดเร็ว,รัฐบาลของลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตได้หลบหนีออกนอกประเทศและได้จัดตั้งรัฐบาลผลัดถิ่นในกรุงลอนดอน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการบุกครองลักเซมเบิร์กของเยอรมนี

การบุกครองนอร์ม็องดี

การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและการบุกครองนอร์ม็องดี

การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค

ซึดดอยท์เชอไซทุง (Süddeutsche Zeitung) ลงข่าว "คำพิพากษาในเนือร์นแบร์ค" ในภาพคือ: (แถวจากซ้ายไป - รูปจากบนลงมา) ''แถวที่หนึ่ง'' เกอริง, เฮสส์, ริบเบนทรอพ, โรเซนแบร์ก, ฟรังค์ และฟริก; ''แถวที่สอง'' ฟุงค์, ชไตเชอร์ และชัชท์; ''แถวที่สาม'' เดอนิทซ์, แรเดอร์ และชีรัช; ''แถวที่สี่'' เซาค์เคล, โยเดิล, พาเพิน, ไซซ์-อินควัร์ท, สเปร์, นอยรัท และบอร์มันน์ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค (Nuremberg trials) เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหารที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้จัด มีจุดเด่นเป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอรมนีซึ่งพ่ายสงคราม การพิจารณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ค รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี โดยชุดแรกเป็น "การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก" ในศาลทหารระหว่างประเทศ (International Military Tribunal) เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค

การรุกจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์

การรุกจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์ของฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นยุทธวีธีหนึ่งในแนวรบตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้นอยู่ในช่วงท้ายของการรบในนอร์มังดีหรือปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (25 สิงหาคม 1944),เยอรมันได้รวบรวมกองกำลังในการรุกโต้ตอบในช่วงฤดูหนาวผ่านป่าอาร์แดน (เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปคือ ยุทธการตอกลิ่ม) และปฏิบัติการ Nordwind (ใน Alsace และ Lorraine).ถึงสัมพันธมิตรได้เตรียมความพร้อมที่จะข้ามแม่น้ำไรน์ในช่วงต้นเดือน ปี 1945.ประมาณตรงคร่าวๆด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทหาร หน่วยปฏิบัติการยุโรปของกองทัพสหรัฐอเมริกา (ETOUSA) ของการทัพไรน์และอาร์แดน-Alsace.

ดู ลักเซมเบิร์กและการรุกจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์

การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์

การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ หมายถึงการกระทำที่เกี่ยวข้องกับการคัดลอกซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยมีหลายประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่มีกฎหมายบังคับ แต่ระดับการบังคับแตกต่างกันไป ระบบคอมพิวเตอร์ที่เก่าแก่ที่สุดในทุกวันนี้มีอายุราว 40 ปี ในด้านลิขสิทธิ์แล้วจะไม่หมดลิขสิทธิ์ไปจนราวปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์

การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 เป็นการจุดคบเพลิงโอลิมปิกครั้งที่ 2 ที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร คบเพลิงโอลิมปิก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลูกาโน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 14 เพลง 7 ประเทศ(ประเทศละ 2 เพลง) โดยเพลงที่ชนะคือ Refrain ขับร้องโดย Lys Assia ตัวแทนจากสวิตเซอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 10 เพลง 10 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Net als toen ขับร้องโดย Corry Brokken ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮิลเวอร์ซัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 10 เพลง 10 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dors, mon amour ขับร้องโดย André Claveau ตัวแทนจากฝรั่ง.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 11 เพลง 11 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Een beetje ขับร้องโดย Teddy Scholten ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 13 เพลง 13 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tom Pillibi ขับร้องโดย Jacqueline Boyer ตัวแทนจากฝรั่ง.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Nous les amoureux ขับร้องโดย Jean-Claude Pascal ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un premier amour ขับร้องโดย Isabelle Aubret ตัวแทนจากฝรั่ง.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dansevise ขับร้องโดย Grethe Ingmann & Jørgen Ingmann ตัวแทนจากเดนมาร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Non ho l'età ขับร้องโดย Gigliola Cinquetti ตัวแทนจากอิตาลี.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเนเปิลส์ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Poupée de cire, poupée de son ขับร้องโดย France Gall ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Merci, Chérie ขับร้องโดย Udo Jürgens ตัวแทนจากออสเตรี.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Puppet on a String ขับร้องโดย Sandie Shaw ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ La, la, la ขับร้องโดย Massiel ตัวแทนจากสเปน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมาดริด ประเทศสเปน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะในปีนี้มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ Vivo cantando ขับร้องโดย Salomé ตัวแทนจากสเปน Boom Bang-a-Bang ขับร้องโดย Lulu ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร De troubadour ขับร้องโดย Lenny Kuhr ตัวแทนจากเนเธอร์แลนด์ และ Un jour, un enfant ขับร้องโดย Frida Boccara ตัวแทนจากฝรั่ง.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 12 เพลง 12 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ All Kinds of Everything ขับร้องโดย Dana ตัวแทนจากไอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un banc, un arbre, une rue ขับร้องโดย Séverine ตัวแทนจากโมนาโก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเอดินบะระ ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Après toi ขับร้องโดย Vicky Leandros ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tu te reconnaîtras ขับร้องโดย Anne-Marie David ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮาร์โรเกต ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ein bißchen Frieden ขับร้องโดย Nicole ตัวแทนจากเยอรมนี.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

UTC ของวันที่ 19 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ http://www.metoffice.gov.uk/aviation/vaac/vaacuk_vag.html London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร) ประเทศซึ่งได้รับผลกระทบ (18 เมษายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ดู ลักเซมเบิร์กและการไม่มีศาสนา

กุนนีลา เบอร์นาดอตต์

กุนนีลา มาร์ธา หลุยส์ เบอร์นาดอตต์ เคาน์เตสแห่งวิสบอรย์ (Gunnila Märta Louise Bernadotte) มีนามเดิมว่า กุนนีลา มาร์ธา หลุยส์ วัชมีสเตอร์ อัฟ โยฮันนีชูส์ (Gunnila Märta Louise Wachmeister af Johannishus; 15 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและกุนนีลา เบอร์นาดอตต์

กูอิงบรา

กูอิงบรา (Coimbra) เป็นเมืองในประเทศโปรตุเกส มีประชากร 137,212 คน มีมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง คือ มหาวิทยาลัยกูอิงบรา ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกโดยก่อตั้งในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและกูอิงบรา

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ดู ลักเซมเบิร์กและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและภาษาฝรั่งเศส

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ดู ลักเซมเบิร์กและภูมิศาสตร์ยุโรป

มาการง

มาการง (macaron) เป็นขนมหวานที่ได้จากการผสมเมอแร็งก์กับไข่ขาว, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายขาว, ผงแอลมอนด์หรือแอลมอนด์ป่น และสีผสมอาหาร มาการงรูปร่างเหมือนแซนด์วิช เป็นขนมปังสองชิ้นประกบกัน มีสอดไส้ตรงกลาง ส่วนไส้มักจะเป็นกานัช, บัตเตอร์ครีม (ครีมเนยที่ใช้แต่งหน้าเค้ก) หรือแยม คำว่า มาการง แผลงมาจากคำในภาษาอิตาลีว่า macarone, maccarone หรือ maccherone, เมอแร็งก์แบบอิตาลี มาการง มีลักษณะคล้ายคุกกี้ ลักษณะเด่นของมาการงคือ ผิวด้านบนของขนมจะเรียบ ขอบรอบ ๆ เป็นรอยหยัก (มักจะเรียกว่า "ขา" หรือ "เท้า") และมีฐานเรียบแบน ขนมจะนุ่มชุ่มเล็กน้อยและละลายง่ายในปาก มาการงมีหลากหลายรสชาติ ตั้งแต่รสดั้งเดิม (ราสป์เบอร์รี, ช็อกโกแลต) ไปจนถึงรสใหม่ ๆ (ฟัวกรา, ชาเขียว) คนส่วนใหญ่มักจะสับสนระหว่างมาการงกับแมคารูน (macaroon) จึงมีการใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศสมาแทนภาษาอังกฤษเพื่อให้ดูต่างกัน แต่ก็ยิ่งทำให้สะกดชื่อกันผิดมากขึ้น บางตำราอาหารแยกชื่อ แมคารูน ไว้ใช้กับมาการงที่ไม่ใช่แบบของฝรั่งเศสดั้งเดิม แต่หลาย ๆ คนมีความเห็นว่า ขนมทั้งสองอย่างนี้มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งความจริงแล้ว คำว่า แมคารูน เป็นคำภาษาอังกฤษที่แปลมาจากคำว่า มาการง ในภาษาฝรั่งเศส เพราะฉะนั้นชื่อทั้งสองชื่อนี้มีความหมายเรียกขนมแบบเดียวกัน ทั้งนี้การใช้แต่ละชื่อก็อาจขึ้นอยู่กับการตีความของแต่ละบุคคล เคยมีศาสตราจารย์ภาควิชาวัฒนธรรมอาหารที่สแตนฟอร์ด, แดน จูราฟสกี้ ชี้แจงว่า 'มาการง' (รวมถึง "มาการงปารีส", หรือ "มาการงแฌร์แบ") คือชื่อเรียกที่ถูกต้อง.

ดู ลักเซมเบิร์กและมาการง

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสเวิลด์ 2011

มิสเวิลด์ 2011 เป็นการจัดประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 61 โดยการประกวดจะจัดขึ้นในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2554 และจะจัดขึ้นที่ Earls Court Exhibition Centre กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสเวิลด์ 2554 จะมาสืบต่อตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ต่อจาก อเล็กซานดร้า มิลส์ มิสเวิลด์ 2553 ต่อไป.

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสเวิลด์ 2011

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและมิสเวิลด์ 2015

ยุทธการที่ฌ็องบลู (ค.ศ.1940)

ทธการที่ฌ็องบลู (หรือ ยุทธการที่ช่องว่างฌ็องบลู) เป็นการสู้รบกันระหว่างกองทัพฝรั่งเศสและกองทัพเยอรมันในเดือนพฤษภาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและยุทธการที่ฌ็องบลู (ค.ศ.1940)

ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์

ทธการที่เนเธอร์แลนด์ (Slag om Nederland) เป็นส่วนหนึ่งของกรณีสีเหลือง (Fall Gelb) เยอรมันได้บุกยึดครองกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (เบลเยี่ยม,ลักเซมเบิร์กและเนเธอร์แลนด์) และฝรั่งเศสระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.การสู้รบได้ดำเนินการต่อไปจนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพหลักของเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ทหารชาวดัตช์ในจังหวัดเซลันด์ยังคงต่อสู้กับกองทัพเวร์มัคท์จนกระทั่งวันที่ 17 พฤษภาคม เมื่อเยอรมนีได้ยึดครองประเทศเอาไว้อย่างสมบูรณ์ ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ถือเป็นยุทธการแรกที่กองทัพอากาศเยอรมัน ใช้ทหารพลร่ม (Fallschirmjäger) โดยเข้ายึดสนามบินของฝ่ายดัตซ์และสถานที่ทางยุทธศาสตร์ในรอตเทอร์ดาม และเดอะเฮก,ความรวดเร็วเพื่อการบุกรุกประเทศและตรึงกองทัพเนเธอร์แลนด์เอาไว้ ภายหลังการทิ้งระเบิดที่รอตเทอร์ดามโดยลุฟท์วัฟเฟอ,เยอรมันได้ข่มขู่ว่าจะทิ้งระเบิดเมืองต่างๆของดัตซ์ให้ราบคาบถ้ากองทัพเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธที่จะยอมจำนน.เสนาธิการทหารฝ่ายดัตซ์ต่างรู้ดีว่าไม่อาจหยุดยั้งการทิ้งระเบิดได้และออกคำสั่งให้กองทัพยุติสู้รบเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้น.การยึดครองของเนเธอร์แลนด์ล่าสุดได้รับการปลดปล่อยในปี 1945.

ดู ลักเซมเบิร์กและยุทธการที่เนเธอร์แลนด์

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ดู ลักเซมเบิร์กและยุโรปตะวันตก

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและยูโร

ยูโรโซน

ประเทศนอกยูโรโซนที่ใช้เงินสกุลยูโร ยูโรโซน หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พื้นที่ยูโร เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 รัฐ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและยูโรโซน

ระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17 โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น.

ดู ลักเซมเบิร์กและระบบรัฐสภา

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ดู ลักเซมเบิร์กและรัฐร่วมประมุข

รัฐสภายุโรป

รัฐสภายุโรป (European Parliament) (ตัวย่อ: Europarl หรือ EP) เป็นรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของสหภาพยุโรป (EU) สภายุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปและคณะกรรมาธิการยุโรปร่วมกันทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติของสหภาพยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในฝ่ายนิติบัญญัติที่ทรงอำนาจที่สุดในโลก ปัจจุบันสภายุโรปประกอบด้วยสมาชิกสภายุโรปจำนวน 751 คน โดยเป็นร่างตัวแทนของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมากเป็นอันดับสองของโลก (รองจากรัฐสภาอินเดีย) และมีจำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมากที่สุดในโลก (375 ล้านคนจากข้อมูลใน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและรัฐสภายุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

ราชวงศ์ลอแรน

ราชวงศ์ลอแรน (House of Lorraine) หรือ ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน เป็นราชวงศ์ที่มีความสำคัญที่สุดและครองอำนาจยาวนานที่สุดราชวงศ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป ปัจจุบันประมุขของราชวงศ์นี้คือคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งดำรงตำแหน่งประมุขแต่เพียงในนามว่าเป็นจักรพรรดิออสเตรีย พระมหากษัตริย์ฮังการี โบฮีเมีย กาลิเซียและโลโดเมเรีย โครเอเชีย อิลลิเรีย และเยรูซาเลมGordon Brook-Shepherd.

ดู ลักเซมเบิร์กและราชวงศ์ลอแรน

ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก

ตราประจำราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก (House of Luxembourg) เป็นราชตระกูลยุคกลางของตระกูลขุนนางแห่งลักเซมเบิร์ก ในปี ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก

ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก

ตระกูลนัสเซา-ไวล์บวร์ก (House of Nassau-Weilburg) ก่อตั้งขึ้นโดยจอห์นที่ 1 เคานท์แห่งนัสเซา-ไวล์บวร์กในปี ค.ศ. 1344 ที่ปกครองนาซอที่ในปัจจุบันเป็นรัฐในเยอรมนี นาซอรุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก

ราชอาณาจักร

ราชอาณาจักร (kingdom, realm) เป็นชุมชนหรือดินแดนซึ่งมีองค์อธิปัตย์ปกครอง มักใช้เพื่ออธิบายอาณาจักรหรือรัฐอื่นที่ปกครองโดยระบอบกษัตริย์หรือราชวง.

ดู ลักเซมเบิร์กและราชอาณาจักร

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ดู ลักเซมเบิร์กและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู ลักเซมเบิร์กและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ดู ลักเซมเบิร์กและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

รายพระนามรัชทายาท

นี้คือรายพระนามรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในการสืบราชบัลลังก์ทั่วโลก.

ดู ลักเซมเบิร์กและรายพระนามรัชทายาท

รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก

รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก รายพระนามนี้รวมถึงบุคคลทุกคนที่ได้รับการพิจารณาว่าจะได้รับมรดกสืบราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์ก หรือ แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก ไม่ว่าจะเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานนับตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งลักเซมเบิร์กในวันที่ 15 มีนาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและรายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สอง

การเข้าร่วมสงครามของแกรนด์ดัชชีแห่งลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มขึ้นด้วยการรุกรานโดยกองทัพเยอรมัน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สอง

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)

รียงลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1942.

ดู ลักเซมเบิร์กและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015.

ดู ลักเซมเบิร์กและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป (Women's European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงสำหรับทีมชาติในทวีปยุโรป จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและวันแม่

วิกตอร์ อูโก

วิกตอร์-มารี อูโก (Victor-Marie Hugo; 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1802 — 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1885) เป็นกวี นักเขียนบทละคร นักประพันธ์ ศิลปิน รัฐบุรุษ และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนชาวฝรั่งเศส เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูงสำหรับการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมยุคโรแมนติกในประเทศฝรั่งเศส ชื่อเสียงของอูโกทางด้านงานวรรณกรรมในประเทศฝรั่งเศสมาจากงานกวีนิพนธ์และบทละคร ส่วนงานนวนิยายเป็นที่รู้จักรองลงมา ในบรรดางาน กวีนิพนธ์ของเขา Les Contemplations และ La Légende des siècles จัดเป็นงานที่โดดเด่นและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก บางครั้งอูโกได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะกวีผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศส ขณะที่เขาเป็นที่รู้จักภายนอกประเทศจากผลงานนวนิยาย เรื่อง Les Misérables (เหยื่ออธรรม) และ Notre-Dame de Paris (ฉบับแปลภาษาอังกฤษเรียกว่า The Hunchback of Notre Dame หรือ คนค่อมแห่งน็อทเทรอะ-ดาม).

ดู ลักเซมเบิร์กและวิกตอร์ อูโก

สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงแอนน์ แอนโตแนต ฟรองซัวส์ ชาร์ล็อตต์ ซีต้า มาร์เกอริต แห่งบูร์บง-ปาร์มา (18 กันยายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีนาถ

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู ลักเซมเบิร์กและสหรัฐ

สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์

หราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ หรือ ราชอาณาจักรสหเนเธอร์แลนด์ (Verenigd Koninkrijk der Nederlanden, Royaume-Uni des Pays-Bas, United Kingdom of the Netherlands หรือ Kingdom of the United Netherlands) (ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ดู ลักเซมเบิร์กและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

สถาบันวอลล์สตรีท

ันวอลล์สตรีท (Wall Street Institute) คือ โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาที่สองของชาวต่างชาติ สำหรับผู้ใหญ่และลูกค้าทั่วโลก สถาบันก่อตั้งใน..

ดู ลักเซมเบิร์กและสถาบันวอลล์สตรีท

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ดู ลักเซมเบิร์กและสถาปัตยกรรมกอทิก

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและสถานีอวกาศนานาชาติ

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย

สตัดเฮาเดอร์

ตัดเฮาเดอร์ (stadhouder) แปลตรงตัวว่า เจ้าผู้ครองสถาน คือคำที่ใช้อธิบายรูปแบบหนึ่งของศักดินาตำแหน่งอุปราชหรือผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ในกลุ่มประเทศต่ำ สตัดเฮาเดอร์คือระบบจากยุคกลางและต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ถูกยกระดับให้มีศักดิ์เทียบเท่าประมุขแห่งรัฐในทางปฏิบัติของระบอบมกุฎสาธารณรัฐ (crowned republic) ในสาธารณรัฐดัตช์ สามารถเปรียบเทียบได้กับศักดินา ลีเยิตน็อง ของฝรั่งเศส และ ผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งประสงค์หลักของของตำแหน่งนี้ก็เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยและอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นของสาธารณรัฐดัตช์ตอนต้น.

ดู ลักเซมเบิร์กและสตัดเฮาเดอร์

สนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1839)

นธิสัญญาลอนดอน..

ดู ลักเซมเบิร์กและสนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1839)

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

สนธิสัญญาแบร์น

นธิสัญญาแบร์น (Traité de Berne.; Treaty of Bern.) ซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและสนธิสัญญาแบร์น

สนธิสัญญาโรม

นธิสัญญาโรม มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สนธิสัญญาจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งนำไปสู่การก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในวันที่ 1 มกราคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและสนธิสัญญาโรม

สแตติน

pmid.

ดู ลักเซมเบิร์กและสแตติน

สไกป์

Skype (สไกป์) โปรแกรมสำหรับคุยโทรศัพท์ คุยแบบวิดีโอ หรือส่งข้อความผ่านอินเทอร์เน็ต (VoIP) ก่อตั้งโดย Niklas Zennström และ Janus Friis ทั้งสองเป็นชาวสวีเดนผู้สร้าง คาซา (KaZaA) สำนักงานใหญ่ของสไกป์อยู่ที่เมืองลักเซมเบิร์ก โดยมีสำนักงานอยู่ที่ลอนดอนและทาลลินน์ สไกป์เป็นที่นิยมเนื่องจากความสามารถของโปรแกรม ที่คุณภาพเสียงชัดเจนและไม่เสียค่าใช้จ่าย ถ้าใช้คุยกันผ่านทางคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สไกป์สามารถโทรเข้าโทรศัพท์อื่นได้ โดยเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมผ่านทาง สไกป์เอาต์ นอกจากนี้สไกป์สามารถใช้สำหรับรับโทรศัพท์จากโทรศัพท์ทั่วไป และรับฝากข้อความได้ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและสไกป์

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก

อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก (Strasbourg Convention หรือ Strasbourg Patent Convention) คือสนธิสัญญาพหุภาคีที่ลงนามโดยประเทศสมาชิกของสภาแห่งยุโรปเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและอนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ดู ลักเซมเบิร์กและอนุสัญญาแรมซาร์

อเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก

อเล็กซันดรา คริสตินา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก (Alexandra Christina, grevinde af Frederiksborg) หรือนามเดิมว่า อเล็กซันดรา คริสตินา มันลีย์ (Alexandra Christina Manley; 30 มิถุนายน พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและอเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก

ฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์ฮิสทรี (HIStory World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 3 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน โดยจัดทั้งหมด 82 รอบ และมีผู้เข้าร่วมประมาณ 4.5 ล้านคน ซึ่งก่อนหน้านี้ในคอนเสิร์ตทัวร์แบด 4.4 ล้านคน เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยโดยศิลปินเดี่ยวในแง่ของการเข้าร่วมประชุมในช่วงเวลาที่ทำรายได้รวมมากกว่ากว่า 165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ยกเว้นคอนเสิร์ตฟรี).

ดู ลักเซมเบิร์กและฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

จักรวรรดิสเปน

ักรวรรดิสเปน (Imperio Español, Spanish Empire) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเป็นหนึ่งในจักรวรรดิโลก (global empire) จักรวรรดิแรก ที่มีดินแดนและอาณานิคมในยุโรป, อเมริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ส่วนอาณานิคมในแอฟริกาเป็นดินแดนที่ได้มาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 สเปนก่อตัวขึ้นเป็นสหอาณาจักรในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและจักรวรรดิสเปน

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จังหวัดอาร์แดน

อาร์แดน (Ardennes) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ในประเทศฝรั่งเศส อาร์แดนที่ตั้งตามชื่อภูมิภาคอาร์แดน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส ทางตอนใต้ของเบลเยียมและลักเซมเบิร์ก อาร์แดนเป็นหนึ่งใน 83 จังหวัดที่ก่อตั้งขึ้นระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและจังหวัดอาร์แดน

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ดู ลักเซมเบิร์กและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

จีเอฟพีที

ริษัท จีเอฟพีที จำกัด (มหาชน) (GFPT PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:GFPT) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและจีเอฟพีที

ธงชาติ

งของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งนโปเลียน. ธงชาติประจำประเทศต่างๆ ธงชาติเดนมาร์ก เป็นธงราชการที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ธงชาติ คือธงที่แสดงถึงสัญลักษณ์ของประเทศและดินแดนต่างๆ ปกติแล้วรัฐบาลของประเทศต่างๆ ย่อมเป็นผู้กำหนดแบบธงชาติและข้อบังคับการใช้ธงชาติ หากแต่พลเมืองในแต่ละประเทศก็สามารถใช้ธงชาติในดินแดนของตนเองได้เช่นกัน โดยขึ้นอยู่กับข้อบังคับการใช้ธงตามที่รัฐบาลกำหนดไว้ ธงชาตินิยมใช้ชักตามสถานที่ต่างๆ ทั้งของเอกชนและของรัฐ เช่น โรงเรียน และศาลาว่าการเมือง แต่ในบางประเทศ ได้มีข้อกำหนดการใช้ธงชาติว่าจะชักอยู่บนอาคารอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาคารทางทหารได้ในวันที่กำหนดให้ชักธงบางวันเท่านั้น ตามหลักสากล นิยมแบ่งลักษณะการใช้ธงชาติออกเป็น 3 ประเภทสำหรับใช้บนแผ่นดิน และอีก 3 ประเภทสำหรับใช้ในภาคพื้นทะเล แม้ว่าหลายประเทศมักจะใช้ธงชาติเพียงแบบเดียวในการใช้ธงหลายๆ ลักษณะ และบางทีก็ใช้ธงชาติในหน้าที่ทั้ง 6 ประเภทก็ตาม.

ดู ลักเซมเบิร์กและธงชาติ

ธนาคารแห่งประเทศจีน

และธนาคารกลางแห่งประเทศจีน ธนาคารแห่งประเทศจีนจำกัด (หุ้นฮ่องกง) (หรือเขียนเป็นตัวย่อว่า 中行; Bank of China หรือ BOC) คือหนึ่งในสี่ธนาคารพาณิชย์ใหญ่ที่รัฐบาลจีนเป็นเจ้าของ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและธนาคารแห่งประเทศจีน

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ลักเซมเบิร์กและทวีปยุโรป

ดัชชี

ัชชี (duchy) เป็นอาณาเขตการปกครองหรือบริเวณที่ปกครองโดยดยุกหรือดัชเชส ดัชชีที่สำคัญบางแห่งในสมัยก่อนจะมีอธิปไตยปกครองบริเวณหนึ่ง ๆ ต่อมารวมกันเป็นที่มาของรัฐสมัยใหม่ในปัจจุบัน เช่น ประเทศเยอรมนี ประเทศอิตาลี ในทางตรงกันข้ามดัชชีอื่น ๆ ก็อาจจะเป็นเขตปกครองภายในราชอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยกลาง เช่น ในประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสเปน ประวัติของแต่ละดัชชีแต่ละอาณาจักรก็จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งและประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องของแต่ละรั.

ดู ลักเซมเบิร์กและดัชชี

ดัชชีเบอร์กันดี

ัชชีเบอร์กันดี (Duchy of Burgundy) เป็นอาณาเขตการปกครองยุคศักดินาในฝรั่งเศสในสมัยกลาง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสปัจจุบันที่ใกล้เคียงกับบริเวณบูร์กอญในปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่เป็นอาณาจักรระหว่างปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและดัชชีเบอร์กันดี

คาโรไลน์ วอซเนียคกี

รไลน์ วอซเนียคกี เป็นนักเทนนิสชาวเดนมาร์ก เกิดวันที่ 11 กรกฎาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและคาโรไลน์ วอซเนียคกี

คณะกรรมาธิการยุโรป

ณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission, Europäische Kommission) เป็นองค์กรฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป รับผิดชอบการออกกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของสหภาพยุโรป รวมไปถึงดำเนินกิจการต่างๆของสหภาพยุโรปให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยในทุกๆวัน ก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ สมาชิกคณะกรรมาธิการจะต้องให้สัตย์สาบานต่อศาลยุติธรรมแห่งยุโรปซึ่งตั้งอยู่ในลักเซมเบิร์ก ว่าจะเคารพซึ่งสนธิสัญญาต่างๆรวมถึงจะเป็นกรรมาธิการซึ่งมีอิสระในการตัดสินใจโดยไม่ขึ้นแก่ผู้ใดในระหว่างที่ดำรงตำแหน่ง คณะกรรมาธิการยุโรปปฏิบัติหน้าที่เสมือนคณะรัฐมนตรีซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 28 คน(ที่เรียกว่า "กรรมาธิการ")จาก 28 ชาติสมาชิกสหภาพยุโรป แม้จะเป็นตัวแทนของแต่ละชาติ แต่กรรมาธิการจะต้องสาบานตนว่าจะดำรงตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่เพื่อพิทักษ์ซึ่งผลประโยชน์ของสหภาพยุโรป กระบวนการสรรหาคณะกรรมาธิการจะเริ่มที่คณะกรรมการยุโรป (European Council) เสนอชื่อบุคคลหนึ่งเพื่อให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมาธิการ หลังจากนั้นคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปจะเสนอชื่อกรรมาธิการอีก 27 คนให้ประธานกรรมาธิการพิจารณาเห็นชอบ หลังจากเห็นชอบแล้ว จึงเสนอชื่อกรรมาธิการทั้งคณะ 28 คนให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองอีกครั้งหนึ่ง เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการสรรหา คณะกรรมาธิการยุโรปถือเป็นฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป มีเจ้าหน้าที่ในกำกับกว่า 23,000 คนซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นหลายกองที่เรียกว่า "กองอำนวยการ" (directorate-general) แต่ละกองมีผู้อำนวยการ (director-general) เป็นหัวหน้ากอง ทุกกองมีที่ทำการอยู่ในกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม.

ดู ลักเซมเบิร์กและคณะกรรมาธิการยุโรป

คณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ณิตศาสตร์โอลิมปิก เป็นการแข่งขันคณิตศาสตร์ประจำปี ซึ่งมีคำถามอยู่หกข้อ คะแนนเต็ม 42 คะแนน สำหรับนักเรียนระดับก่อนมหาวิทยาลัย และเป็นโอลิมปิกวิชาการที่เก่าแก่ที่สุด คณิตศาสตร์โอลิมปิกจัดขึ้นครั้งแรกในโรมาเนีย ใน..

ดู ลักเซมเบิร์กและคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี

ตราสารยอมจำนนซึ่งลงนามในแรมส์ วันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี เป็นตราสารจัดให้มีการหยุดยิงเป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตราสารดังกล่าวลงนามโดยผู้แทนจากกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ (OKW) และกำลังรบนอกประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและตราสารยอมจำนนของเยอรมนี

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ดู ลักเซมเบิร์กและตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ฉากแท่นบูชาเมรอด

ฉากแท่นบูชาเมรอด (Mérode Altarpiece) หรือ ฉากแท่นบูชาการประกาศของเทพ (Annunciation Altarpiece) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยโรเบิร์ต กัมปิน จิตรกรสมัยศิลปะเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โรเบิร์ต กัมปินเขียนภาพ "ฉากแท่นบูชาเมรอด" ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและฉากแท่นบูชาเมรอด

ซาลาแมนเดอร์ไฟ

ำหรับซาลาแมนเดอร์ที่เป็นสัตว์ในตำนาน ดูที่: ซาลาแมนเดอร์ ซาลาแมนเดอร์ไฟ (Fire salamander) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็กจำพวกซาลาแมนเดอร์ชนิดหนึ่ง จัดเป็นนิวต์ (Salamandridae) หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ชื่อซาลาแมนเดอร์ไฟนั้น สันนิษฐานว่ามาจากการที่มนุษย์ในสมัยโบราณ จะใช้ฟืน ที่นำมาจากกิ่งไม้หรือโพรงไม้ต่าง ๆ โยนเข้ากองไฟเพื่อสร้างความอบอุ่นยามหนาว บางครั้งจะพบซาลาแมนเดอร์ชนิดนี้ซุกซ่อนอยู่ภายใน เมื่อฟืนถูกไฟ ด้วยความร้อนซาลาแมนเดอร์ก็จะคลานออกมา เหมือนกับว่าคลานออกมาจากกองไฟ อันเป็นที่มาของสัตว์ในตำนานที่ว่า เมื่อโยนซาลาแมนเดอร์เข้าไปในกองไฟแล้วก็ไม่ตาย เนื่องจากมีความชื้นในรูปแบบของเมือกที่ปกคลุมตัวอยู่ ซึ่งก็ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ซาลาแมนเดอร์ไฟ นับเป็นซาลาแมนเดอร์ชนิดที่พบได้ง่ายกว่าซาลาแมนเดอร์ชนิดอื่น ๆ ในทวีปยุโรป มีลำตัวสีดำมีจุดสีเหลืองหรือลายเส้นที่แตกต่างกันออกไป บางตัวอาจจะมีสีเกือบดำสนิทในขณะที่บางตัวมีแถบสีเหลืองสดตัดกันโดดเด่น และบางตัวก็มีสีออกไปทางเหลืองเฉดแดง หรือสีส้ม มีขนาดความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ในตัวที่โตเต็มวัย และมีอายุขัยที่ยาวนานถึง 50 ปี นับว่ายาวนานกว่าซาลาแมนเดอร์ชนิดอื่น ๆ มาก นอกจากนี้แล้ว ยังสามารถปล่อยสารพิษประเภทอัลคาลอยด์ ในรูปแบบของต่อมพิษที่ผิวหนังเพื่อป้องกันตัวได้ด้วย มีผลทำให้กล้ามเนื้อชักเกร็ง, ความดันโลหิตสูง โดยต่อมพิษนี้กระจายอยู่ทั่วตัว และกระจุกในพื้นผิวบางส่วนของร่างกายเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนหัว และผิวหลังส่วนผิวหนังมักจะตรงกับต่อมเหล่านี้ ซึ่งสารประกอบในการหลั่งผิวหนังอาจจะมีผลต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราของผิวหนังชั้นนอก พบกระจายพันธุ์ตามแหล่งน้ำที่สะอาดต่าง ๆ ในป่าประเภท ป่าผลัดใบ หรือภูเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นป่าที่มีพืชชั้นต่ำประเภทมอสส์ปกคลุม ในหลายประเทศของทวีปยุโรป ตั้งแต่ประเทศแอลเบเนีย, ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, ฮังการี, โครเอเชีย, สาธารณรัฐเช็ก, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, กรีซ, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, มอนเตเนโกร, ยูโกสลาเวีย, เนเธอร์แลนด์, โปแลนด์, โปรตุเกส, โรมาเนีย, สเปน, สวิสเซอร์แลนด์ โดยพบไปได้ไกลถึงภูมิภาคตะวันออกกลาง เช่น ตุรกี และอิหร่าน มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางคืน กินสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น แมลง, กุ้ง, ปู, ทาก หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำด้วยกันขนาดเล็ก โดยปกติในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวตามโขดหินและขอนไม้ จะออกมาหากินในเวลากลางวันบ้างก็ต่อเมื่อมีฝนตก ความชื้นในอากาศมีสูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ยกเว้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์จะสามารถเห็นถึงความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจนที่สุด คือ ต่อมบวมรอบ ๆ ระบายชายของตัวผู้ ต่อมนี้มีหน้าที่ผลิตถุงเก็บสเปิร์ม ซึ่งประกอบด้วยสเปิร์มจำนวนมากที่ตอนปลาย เมื่อซาลาแมนเดอร์ตัวเมียขึ้นมาบนบก ตัวผู้หลังจากปล่อยถุงสเปิร์มลงบนพื้นดินแล้วพยายามที่จะให้ตัวเมียรับเข้าไปผสมพันธุ์ หากประสบความสำเร็จทั้งไข่และสเปิร์มมีการปฏิสนธิกัน ซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวของตัวเมีย ตัวอ่อนจะได้รับการเพาะฟักในแหล่งน้ำที่สะอาดต่อไป.

ดู ลักเซมเบิร์กและซาลาแมนเดอร์ไฟ

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community, EEC; บ้างเรียกสั้นเพียง ประชาคมยุโรป (European Community)) เป็นองค์การระหว่างประเทศจัดตั้งขึ้นด้วยทรรศนะที่จะทำให้เกิดบูรณาการทางเศรษฐกิจ (รวมทั้งตลาดร่วม) ในบรรดาหกสมาชิกดั้งเดิมหกประเทศ ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ลักเซมเบิร์ก และเนเธอร์แลนด์ ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปจัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาโรม..

ดู ลักเซมเบิร์กและประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ดู ลักเซมเบิร์กและประมุขแห่งรัฐ

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์ก

น์ตี ดัชชี และแกรนด์ดัชชีลักเซมเบิร์ก (County, Duchy and Grand Duchy of Luxembourg) ภูมิภาคทางประวัติศาสตร์ของ ลักเซมเบิร์ก เป็นมณฑลของโรมันเบลจิคาพรีมา หลังจากการรุกรานของกลุ่มชนเจอร์มานิคจากทางตะวันออกลักเซมเบิร์กก็กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแฟรงก์และต่อมาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแฟรงค์กลาง.

ดู ลักเซมเบิร์กและประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์ก

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ดู ลักเซมเบิร์กและปัญหาเยอรมัน

นางงามจักรวาล 1977

นางงามจักรวาล 1977 (Miss Universe 1977) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 26 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามจักรวาล 1977

นางงามจักรวาล 1988

นางงามจักรวาล 1988 (Miss Universe 1988) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 37 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามจักรวาล 1988

นางงามจักรวาล 1995

นางงามจักรวาล 1995 (Miss Universe 1995) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 44 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามจักรวาล 1995

นางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2013 การประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 53 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2015

นางงามนานาชาติ 2015, ครั้งที่ 55 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามนานาชาติ 2015

นางงามนานาชาติ 2016

นางงามนานาชาติ 2016, ครั้งที่ 56 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและนางงามนานาชาติ 2016

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ดู ลักเซมเบิร์กและนาซีเยอรมนี

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ดู ลักเซมเบิร์กและนิติภาวะ

แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์ก (16 เมษายน พ.ศ. 2498-) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในแกรนด์ดยุกฌ็องและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม เป็นพระภาคิไนยใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก (5 มกราคม พ.ศ. 2464 -) (พระนามเดิม: ฌอง เบอร์นอย กีโยม โรเบิร์ต แอนโตน หลุยส์ มารี อดอล์ฟ มาร์ก เดอ อาเวียโน) ทรงปกครองลักเซมเบิร์กตั้งแต..

ดู ลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก (พระนามเดิม มาเรีย เตเรซา เมสเตร อี บาติสตา-ฟายา: พระราชสมภพ 22 มีนาคม พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ดู ลักเซมเบิร์กและแม่น้ำไรน์

แม็ส

แม็ส (Metz) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นลอแรน เมืองหลักของจังหวัดโมแซลในประเทศฝรั่งเศส เมืองแม็สตั้งอยู่ทางตรงที่แม่น้ำโมแซลมาบรรจบกับแม่น้ำแซย์ และเป็นนครหลวงโบราณของอาณาจักรออสเตรเซียของราชวงศ์กาโรแล็งเชียง โดยมีมรดกทางวัฒนธรรมเป็นโบราณสถานซึ่งเชื่อมโยงประวัติศาสตร์ของเมืองย้อนไปกว่า 3000 ปี รวมไปถึงศิลปกรรมในยุคที่ถูกยึดครองโดยจักรวรรดิเยอรมนีช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ซึ่งปรากฏชัดบริเวณย่านจักรวรรดิ (Le quartier impérial) แม้ว่าในประวัติศาสตร์น็องซีจะเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรดยุคแห่งลอแรน แต่แม็สได้รับเลือกให้เป็นเมืองหลวงของแคว้นลอแรนที่ตั้งขึ้นใหม่ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะความที่เคยเป็นเมืองหลวงของโลทาริงเกี.

ดู ลักเซมเบิร์กและแม็ส

แทมมารีน ธนสุกาญจน์

ร.ต.ท.หญิง แทมมารีน ธนสุกาญจน์ (โรมัน: Tamarine Tanasugarn; ชื่อเล่น: แทมมี่; เกิด: 24 พฤษภาคม 2520 —) เป็นนักเทนนิสหญิงมือ 9 ของไทย และอันดับที่ 697 ของโลก อดีตนักเทนนิสมือ 1 ของไทย และเคยมีอันดับโลกสูงสุดอันดับ 19 เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและแทมมารีน ธนสุกาญจน์

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวแมกิโนต์

แนวแมกิโนต์(Ligne Maginot), ชื่อที่ตั้งมาจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงครามของฝรั่งเศส อังเดร์ แมกิโนต์ เป็นแนวป้อมปราการคอนกรีต สิ่งกีดขวาง และการติดตั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ถูกสร้างขึ้นโดยฝรั่งเศสในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและแนวแมกิโนต์

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ดู ลักเซมเบิร์กและโลกที่หนึ่ง

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ดู ลักเซมเบิร์กและโปเกมอน โก

ไรน์ลันท์

รน์ลันท์ (Rheinland) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกดินแดนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไรน์ ในเยอรมนีตะวันตก หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิฝรั่งเศสในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ไรน์ลันท์เป็นแคว้นที่มีประชากรพูดภาษาเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนล่างของแม่น้ำไรน์ ซึ่งเคยถึงผนวกเข้ากับอาณาจักรปรัสเซีย กษัตริย์แห่งปรัสเซียได้เปลี่ยนชื่อแคว้นใหม่ว่า มณฑลไรน์ (หรือ Rhenish Prussia) หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภาคตะวันตกของไรน์ลันท์ถูกยึดครองโดยกองทัพฝ่ายไตรภาคี ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซาย เยอรมนีได้รับไรน์ลันท์คืนเมื่อปี 1936.

ดู ลักเซมเบิร์กและไรน์ลันท์

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ดู ลักเซมเบิร์กและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

เพลงเกียรติยศ

ลงเกียรติยศ (honors music) เป็นเพลงสำหรับใช้บรรเลงเป็นเกียรติยศแก่บุคคล ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญ หรือผู้มียศทางทหารต่างๆ ในโอกาสต่างๆ ประมุขแห่งรัฐต่างๆ นั้นย่อมได้รับเกียรติจากบรรเลงเพลงเกียรติยศ ซึ่งในบางประเทศก็ใช้เพลงชาติในหน้าที่ดังกล่าวด้วย บางประเทศอาจใช้ "เพลงประจำตำแหน่งประธานาธิบดี" (presidential anthem) หรือ "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) บรรเลงเป็นเพลงเกียรติยศแทน.

ดู ลักเซมเบิร์กและเพลงเกียรติยศ

เศรษฐกิจยุโรป

รษฐกิจยุโรป ประกอบด้วยผู้คนกว่า 731 ล้านคนในประเทศต่าง ๆ 48 ประเทศ เช่นเดียวกับทวีปอื่น ๆ ความร่ำรวยของรัฐในทวีปยุโรปมีความแตกต่างกันออกไป แม้ว่าคนยากจนที่สุดของทวีปนี้จะดีกว่าคนยากจนที่สุดของทวีปอื่น ๆ ในแง่ของจีดีพีและมาตรฐานการครองชีพก็ตาม การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองทำให้ประเทศในยุโรปใกล้ชิดกันมากขึ้น ปิดท้ายในการก่อตัวสหภาพยุโรป (อียู) และในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและเศรษฐกิจยุโรป

เอเตียน เลอนัวร์

็อง-โฌแซ็ฟ เอเตียน เลอนัวร์ (Jean-Joseph Étienne Lenoir; 12 มกราคม ค.ศ. 1822 - 4 สิงหาคม ค.ศ. 1900) เป็นวิศวกรชาวเบลเยียม เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องยนต์สันดาปภายในคนแรกของโลก เขาเกิดในเมืองมูว์ซี-ลา-วีล (Mussy-la-Ville) ในลักเซมเบิร์ก (เป็นส่วนหนึ่งของเบลเยียมถึงปี ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและเอเตียน เลอนัวร์

เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกกีโยม ฌ็อง โฌเซฟ มารี รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524-) รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก ตั้งแต่พระบิดาทรงครองราชสมบัติในปีพ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายหลุยส์ กซาวีเย มารี กีโยม แห่งลักเซมเบิร์ก (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) เป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กกับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก นอกจากทรงเป็นเจ้าชายแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นเจ้าชายแห่งนัสเซา พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือซาเวียร์ ซานส์และเจ้าหญิงมาร์กาเรทาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายหลุยส์มีพระเชษฐา 2 พระองค์คือเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก มีพระกนิษฐาและพระอนุชารวม 2 พระองค์คือ เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์อภิเษกสมรสกับเทสซี แอนโทนี ทั้งคู่มีพระโอรส 2 พระองค์คือ เจ้าชายกาเบรียลแห่งนัสเซา และเจ้าชายโนอาห์แห่งนัสเซา พระองค์ทรงศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์กและโรงเรียนอัลปินนานาชาติโบโซริลที่สวิตเซอร์แลน.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายเฟลิกซ์ เลโอโปลด์ มารี กีโยม แห่งลักเซมเบิร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ในกรุงลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 2 ในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กกับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก นอกจากทรงเป็นเจ้าชายแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นเจ้าชายแห่งนัสเซา พระองค์มีพระบิดาและมารดาอุปถัมภ์คือ เจ้าชายฌองแห่งลักเซมเบิร์กและคาทาลีนา เมสตร์ พระองค์มีพระนามเดียวกับพระปัยกาคือ เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา พระองค์มีพระเชษฐา 1 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก พระอนุชาและพระกนิษฐารวม 3 พระองค์คือ เจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก,เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบาสเตียนแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สนพระทัยในกีฬาโปโล,สกีและงานช่างไม้ มักทรงเป็นตัวแทนของราชวงศ์ไปแข่งขันกีฬาต่างๆ พระองค์ทรงศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์กและโรงเรียนอัลปินนานาชาติโบโซริลที่สวิตเซอร์แลนด์ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำ ปัจจุบันพระองค์ทรงทำงานสาธารณะการบริหารคณะกรรมการเอสเอของบริษัทสวิส ในเดือนมิถุนายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก

้าฟ้าชายเซบัสเตียง อ็องรี มารี กีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก (ประสูติ 16 เมษายน พ.ศ. 2535 ลักเซมเบิร์ก) พระบุตรองค์ที่ 5 และองค์เล็กในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก กับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก กับอาร์คดัชเชสแอสตริดแห่งออสเตรีย-เอสต์ เจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม พระองค์มีพระเชษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก, เจ้าฟ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระเชษฐภคินี 1 พระองค์คือ เจ้าฟ้าหญิงอเล็กซันดราแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ทรงอยู่ในลำดับ 3 ของการสืบราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์ก หลังจากเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระเชษฐาทรงออกจากการสืบราชสันตติวงศ์ พระองค์ทรงเข้ารับการศึกษาที่ โรงเรียนนานาชาติเซนต์จอร์จ ลักเซมเบิร์ก และได้เข้าวิทยาลัยแอมเพิลฟอร์ธ ปัจจุบันศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล

้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เป็นบุตรของนาย แฮรี ซาเลม กับ นางราจิรา อารีบา ประสูติ ณ ประเทศเลบานอน ต่อมาได้เสกสมรสกับ เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด พระโอรสใน เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เจ้าหญิงแห่งฮัชไมต์จอร์แดน มีพระบุตร 3 พระอง.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล

เจ้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (Erbgroßherzogin Stéphanie von Luxemburg; La princesse Stéphanie, grande-duchesse héritière de Luxembourg) พระนามเดิม เคาน์เตสสเตฟานี มารี โกลดีน คริสตีน เดอ ล็องนัว (Stéphanie Marie Claudine Christine gravin de Lannoy; La comtesse Stéphanie Marie Claudine Christine de Lannoy, ประสูติ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์ก

้าฟ้าหญิงอเล็กซันดรา โฌเซฟิน เทเรซา ชาล็อต มารี วิลเฮลมินแห่งลักเซมเบิร์ก (ประสูติ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) พระบุตรองค์ที่ 4 และพระธิดาพระองค์เดียวในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก และแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก พระบิดามารดาอุปถัมภ์คือ มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญและเจ้าหญิงมาเรีย-แอนนา กาลิตท์ซิน อาร์คดัสเชสแห่งออสเตรีย พระองค์มีพระยศชั้นเจ้าฟ้าหญิง พระอิสริยยศ เจ้าฟ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าฟ้าหญิงแห่งนัสเซา เจ้าหญิงอเล็กซันดรามีพระเชษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก, เจ้าฟ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระอนุชา 1 พระองค์คือ เจ้าฟ้าชายเซบาสเตียนแห่งลักเซมเบิร์ก เนื่องจากพระนางทรงเป็นสตรีจึงไม่มีสิทธิในราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์กจนกว่าจะหมดรัชทายาทบุรุษ ถึงแม้ว่าพระปัยยิกาของเจ้าหญิงอเล็กซันดราจะทรงได้ครองราชย์เป็น แกรนด์ดัสเชสแห่งลักเซมเบิร์ก ซึ่งถูกต้องตามกฎบัตรซาลลิก โดยทางพระบิดาของพระนาง เจ้าหญิงอเล็กซานดรามีความเกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์ซึ่งครองราชย์ปัจจุบันในยุโรป เจ้าหญิงอเล็กซันดราเป็นพระมารดาอุปถัมภ์ในเจ้าฟ้าชายกาเบรียลแห่งนัสเซา พระโอรสพระองค์แรกในเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก กับเจ้าฟ้าหญิงเทสซีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงอเล็กซานดราทรงได้รับ the Order of the Gold Lion แห่งราชวงศ์นัสเซา ในวันที่ 23 มิถุนายน..

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1973, พระนามเดิม เมตเต-มาริต ชีเซม เฮออิบี) พระวรชายาในเจ้าชายโฮกุน มักนุส มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เว.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์

เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก

้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก.

ดู ลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ดู ลักเซมเบิร์กและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

เทสซี อ็องตอนี

ทสซี อ็องตอนี (Tessy Antony; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นอดีตพระชายาในเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระโอรสในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์กองค์ปัจจุบัน.

ดู ลักเซมเบิร์กและเทสซี อ็องตอนี

เครือราชรัฐบูร์กอญ

แผนที่แสดงเครือราชรัฐเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 สีเขียวบนแผนที่คือเครือราชรัฐบูร์กอญ เครือราชรัฐบูร์กอญ (Burgundische Reichskreis) เป็นหนึ่งในเครือราชรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู ลักเซมเบิร์กและเครือราชรัฐบูร์กอญ

เตเฌเว

ทีจีวี (Train à grande vitesse; TGV) เป็นบริการรถไฟความเร็วสูงและรถไฟทางไกลระหว่างเมืองของแอ็สแอนเซแอ็ฟ ผู้ให้บริการเดินรถไฟแห่งชาติฝรั่งเศส ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 โดยฌีเออเซ-อัลสตอม (บริษัทอัลสตอมในปัจจุบัน) และแอ็สแอนเซแอ็ฟ เดิมถูกออกแบบให้ใช้พลังงานจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันแก๊ส ต่อมารุ่นต้นแบบถูกพัฒนาให้เป็นรถไฟที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากวิกฤตการณ์น้ำมันในปี..

ดู ลักเซมเบิร์กและเตเฌเว

Wiki Loves Monuments

Wiki Loves Monuments (WLM) เป็นการแข่งขันประกวดภาพถ่ายในระดับนานาชาติประจำปี ในเดือนกันยายน โดยสมาชิกประชาคมวิกิพีเดีย ผู้เข้าร่วมจะถ่ายถ่ายภาพโบราณสถานและมรดกโลกในพื้นที่ของตน และอัปโหลดเข้าสู่วิกิมีเดียคอมมอนส์ วัตถุประสงค์ของการแข่งขันนี้คือเพื่อเน้นสถานที่สำคัญของประเทศที่เข้าร่วม การแข่งขัน Wiki Loves Monuments ครั้งแรกจัดเมื่อ..

ดู ลักเซมเบิร์กและWiki Loves Monuments

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเวิลด์ 2011มิสเวิลด์ 2014มิสเวิลด์ 2015ยุทธการที่ฌ็องบลู (ค.ศ.1940)ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยุโรปตะวันตกยูโรยูโรโซนระบบรัฐสภารัฐร่วมประมุขรัฐสภายุโรปรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปราชวงศ์ลอแรนราชวงศ์ลักเซมเบิร์กราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กราชอาณาจักรรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อสนธิสัญญารายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายพระนามรัชทายาทรายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์กรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สองลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปวันแม่วิกตอร์ อูโกสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สหรัฐสหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสถาบันวอลล์สตรีทสถาปัตยกรรมกอทิกสถานีอวกาศนานาชาติสงครามต่อต้านการก่อการร้ายสตัดเฮาเดอร์สนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1839)สนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสนธิสัญญาแบร์นสนธิสัญญาโรมสแตตินสไกป์องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์กอนุสัญญาแรมซาร์อเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์กฮิสทรีเวิลด์ทัวร์จักรวรรดิสเปนจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จังหวัดอาร์แดนจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จีเอฟพีทีธงชาติธนาคารแห่งประเทศจีนทวีปยุโรปดัชชีดัชชีเบอร์กันดีคาโรไลน์ วอซเนียคกีคณะกรรมาธิการยุโรปคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศตราสารยอมจำนนของเยอรมนีตราแผ่นดินในทวีปยุโรปฉากแท่นบูชาเมรอดซาลาแมนเดอร์ไฟปฏิบัติการบาร์บารอสซาประชาคมเศรษฐกิจยุโรปประมุขแห่งรัฐประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์กปัญหาเยอรมันนางงามจักรวาล 1977นางงามจักรวาล 1988นางงามจักรวาล 1995นางงามนานาชาติ 2013นางงามนานาชาติ 2014นางงามนานาชาติ 2015นางงามนานาชาติ 2016นาซีเยอรมนีนิติภาวะแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์กแม่น้ำไรน์แม็สแทมมารีน ธนสุกาญจน์แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)แนวแมกิโนต์โลกที่หนึ่งโปเกมอน โกไรน์ลันท์ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเพลงเกียรติยศเศรษฐกิจยุโรปเอเตียน เลอนัวร์เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาลเจ้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเทสซี อ็องตอนีเครือราชรัฐบูร์กอญเตเฌเวWiki Loves Monuments