โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ละเอียด พิบูลสงคราม

ดัชนี ละเอียด พิบูลสงคราม

ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามเป็นบุตรคนโตในจำนวน 9 คนของเจริญ กับแช่ม พันธุ์กระวี เกิดที่ตำบลดอนพุทรา จังหวัดนครปฐม ศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนสตรีวิทยา ต่อมาย้ายไปอาศัยที่จังหวัดพิษณุโลก เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลพิษณุโลก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม) ซึ่งเป็นโรงเรียนชายประจำจังหวัด แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนผดุงนารี ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม พบรักกับร้อยตรีแปลก ขีตตะสังคะ เมื่ออายุได้ 14 ปี และได้สมรสกันที่จังหวัดพิษณุโลก และได้ย้ายติดตามสามีเรื่อยมา มีบุตรธิดาด้วยกัน 6 คน คือ.

18 ความสัมพันธ์: กฤษณภูมิ พิบูลสงครามรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลารายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายกสินจัย เปล่งพานิชสุชีลา ศรีสมบูรณ์หะยีสุหลงทำเนียบรัฐบาลไทยทินกร พันธุ์กระวีคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยนิตย์ พิบูลสงครามแปลก พิบูลสงครามโรงเรียนพิบูลวิทยาลัยเลขา อภัยวงศ์

กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม

กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม (ชื่อเล่น: เจเจ; เกิด: 15 สิงหาคม พ.ศ. 2539) เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานจากภาพยนตร์เรื่อง เกรียน ฟิคชั่น.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและกฤษณภูมิ พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

นื้อหาในหน้านี้เป็นบัญชีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาประเภทต่างๆ ตามที่ปรากฎหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงแต่รัชกาลปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 และระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484; หมายเหต.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 (26 กุมภาพันธ์ - 16 กันยายน พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

สินจัย เปล่งพานิช

นจัย เปล่งพานิช (นก) นามสกุลเดิม หงษ์ไทย เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2508 เป็นนักแสดงที่มีผลงานการแสดงภาพยนตร์และละครมากมาย ทั้งยังเคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด ทอฝัน (2533) กับค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและสินจัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

สุชีลา ศรีสมบูรณ์

มบูรณ์ ศรีบุรี หรือเป็นที่รู้จักในนาม สุชีลา ศรีสมบูรณ์ (ราว พ.ศ. 2478–79) เป็นนางสาวไท..

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและสุชีลา ศรีสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

หะยีสุหลง

หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ หรือ หะยีสุหลง โต๊ะมีนา หรือที่รู้จักและนิยมเรียกชื่อกันสั้น ๆ ว่า หะยีสุหลง เป็นโต๊ะอิหม่ามที่มีชื่อเสียงในอดีต เป็นผู้นำและปัญญาชนของชาวไทยมุสลิมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและหะยีสุหลง · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทินกร พันธุ์กระวี

นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก และเป็นประธานกรรมการและผู้ก่อตั้ง บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด อดีตนายกสมาคมอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและทินกร พันธุ์กระวี · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย

ณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย (หรือ คนะกัมการส่งเสิมวัธนธัมภาสาไทย) ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 โดยมีวัตถุประสงค์ปรับปรุงส่งเสริมวัฒนธรรมทางภาษาไทยให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น และเพื่อพิจารณาปรับปรุงส่งเสริมภาษาไทยและหนังสือไทย ทั้งในทางเรียงความ ร้อยแก้ว และกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ทั้งนี้ คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยได้ยกร่างและเสนอรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามให้ประกาศใช้อักขรวิธีไทยแบบใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

นิตย์ พิบูลสงคราม

นิตย์ พิบูลสงคราม (30 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ บุตรชายคนสุดท้องของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี กับท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและนิตย์ พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย

รงเรียนพิบูลวิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายขนาดใหญ่พิเศษ มีพื้นที่ 109 ไร่ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายคือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกและแห่งเดียวของกรมสามัญศึกษาในภูมิภาค มีห้องรวม 78 ห้อง นักเรียนประมาณ 3,333 คน ครูอาจารย์ 163 คน มีอาคารเรียน 7 หลัง, อาคารเกษตร 1 หลัง, อาคารสารสนเทศ 1 หลัง, อาคารคหกรรม 1 หลัง, อาคารพลศึกษา 1 หลัง, สนามฟุตบอล 1 สนาม, สนามบาสเกตบอล 1 สนาม, สระว่ายน้ำ 1 สระ และ หอประชุม 3 หลัง โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี ได้รับการคัดเลือกจาก สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ให้เป็น 1 ใน30 โรงเรียนประเภท sister school ตามโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (spirit of asean) ให้เป็นศูนย์อาเซียนศึกษ.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เลขา อภัยวงศ์

ณหญิงเลขา อภัยวงศ์ (นามเดิม: เจน เล็ก คุณะดิลก; 10 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2526) เป็นนักการเมือง และนักธุรกิจชาวไทย เป็นภริยาของควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: ละเอียด พิบูลสงครามและเลขา อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลยสงคราม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »