โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ดัชนี รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

56 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยชัย ชิดชอบบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณบุญเท่ง ทองสวัสดิ์พรรคประชาธิปัตย์พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)พรเพชร วิชิตชลชัยพิชัย รัตตกุลพึ่ง ศรีจันทร์การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535มหาวิทยาลัยทักษิณมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลามารุต บุนนาคมีชัย ฤชุพันธุ์ยงยุทธ ติยะไพรัชรัฐสภาไทยรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีการายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณรายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามประธานวุฒิสภาไทยรายนามประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติวันมูหะมัดนอร์ มะทาวิลาศ โอสถานนท์ศิริ สิริโยธินสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชอาทิตย์ อุไรรัตน์อุทัย พิมพ์ใจชนจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดเชียงรายที่สุดในประเทศไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53ประภาศน์ อวยชัยประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ประธานรัฐสภาไทยประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยปัญจะ เกสรทอง...โภคิน พลกุลเกษม บุญศรีเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)5 เมษายน ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ที่ประชุมใหญ่ของพรรคมีมติเอกฉันท์ให้รวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)

ลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) เป็นบุคคลที่มีความสำคัญบุคคลหนึ่งของประเทศไทย เป็นผู้มีส่วนร่วมในประวัติศาสตร์การเมืองไทยในช่วงหลังเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกพฤฒสภาหลายสมัย และได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็นทั้งประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธาน.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเครื่องบรมราชาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เป็น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ระหว่างวันที่ 4 - 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2493 ปรากฏบันทึกรายละเอียดไว้ ดังนี้.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)

ระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) (31 ธันวาคม พ.ศ. 2434 - ?) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 1 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี 2 สมั.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พรเพชร วิชิตชลชัย

ตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง ใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เคยดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 และที่ปรึกษากฎหมายของคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพรเพชร วิชิตชลชัย · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พึ่ง ศรีจันทร์

ึ่ง ศรีจันทร์ (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2450 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2535) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 1 สมัย อดีตรัฐมนตรี 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ 4 สมั.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและพึ่ง ศรีจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551

นายสมัคร สุนทรเวช และนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี หลังจากที่ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีจากการรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดำรงตำแหน่งครบวาระตามรัฐธรรมนูญ โดยนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยต้องมี..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548

.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ใน พ.ศ. 2548 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีในตำแหน่งที่ว่างลง หลังจากที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งครบวาระ 4 ปี โดยนายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้กำหนดวิธีลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีแบบเปิดเผยด้วยการขานชื่อ..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก บรรยายกาศการลงมติ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทักษิณ

"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มีผลบังคับใช้ในวันศุกร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยทักษิณ โดยชื่อ มหาวิทยาลัยทักษิณ สื่อถึง "มหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้" มหาวิทยาลัยทักษิณ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิต พร้อมพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี โดยเฉพาะในด้านการบริการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการประกันคุณภาพภายในที่ได้รับการประเมินในระดับดีมาก ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยทักษิณประกอบด้วย 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตสงขลา และวิทยาเขตพัทลุง รวมทั้งมีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ครอบคลุมสาขาวิชาการทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมา ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า มหาวิทยาลัยทักษิณ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยทักษิณ โดยชื่อ มหาวิทยาลัยทักษิณ สื่อถึง "มหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้" มหาวิทยาลัยทักษิณ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี โดยเฉพาะในด้านการบริการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและด้านการประกันคุณภาพภายในที่ได้รับการประเมินในระดับดีมาก ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยประกอบด้วย 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตสงขลาและวิทยาเขตพัทลุง รวมทั้งมีศุนย์อยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง จัดการเรียนการสินในระดับปริญญาตรี โท และเอก ครอบคลุมสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

มีชัย ฤชุพันธุ์

มีชัย ฤชุพันธุ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติคนเดียวที่เป็นพลเรือน (ไม่ได้เป็นทหารหรือตำรวจ) รักษาการนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ อดีตประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา และ รองนายกรัฐมนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายมีชัย ฤชุพันธุ์ สมรสกับคุณหญิงอัมพร (เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) ฤชุพันธุ์ (ถึงแก่อนิจกรรม) มีบุตรี 2 คน คือ นางมยุระ ช่วงโชติ และ นางมธุรส โลจายะ หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พลเอกสุจินดา คราประยูร ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ได้รับการคัดเลือกจากคณะรัฐมนตรีให้เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรี จึงทำให้ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งประมุขของทั้งฝ่ายบริหาร (รักษาการนายกรัฐมนตรี) และฝ่ายนิติบัญญัติ (ประธานรัฐสภา).

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและมีชัย ฤชุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา

ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของผู้ทรงดำรงตำแหน่งและดำรงตำแหน่งอธิบดีและประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณ

130px รายนามนิสิตเก่าและบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยทักษิณ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

รายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรของไท.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานวุฒิสภาไทย

ประธานวุฒิสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของวุฒิสภา หรือสภาสูงของไทย ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทย หรือสภาล่าง มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย วุฒิสภาไทย มีบัญญัติครั้งแรกไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรายนามประธานวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

้านล่างนี้คือรายนามประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและรายนามประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ โอสถานนท์

ันตรี วิลาศ โอสถานนท์ หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 อดีตประธานพฤฒสภาและประธานรั.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและวิลาศ โอสถานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริ สิริโยธิน

ลตรีศิริ สิริโยธิน (5 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและศิริ สิริโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช. และเจ้าของฉายา "ดร.ไข่ผง" จากการเคยมีกิจการโรงงานผลิตไข่ผงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและอาทิตย์ อุไรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและอุทัย พิมพ์ใจชน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53 · ดูเพิ่มเติม »

ประภาศน์ อวยชัย

ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและประภาศน์ อวยชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2458 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 5 สมัย เจ้าของฉายา โค้วตงหมง และเจ้าของวลี ยุ่งตายห.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานรัฐสภาไทย

ประธานรัฐสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ ของไทย ซึ่งในแต่ละช่วงเวลา จะประกอบด้วยสภาเดียวหรือสองสภา แล้วแต่บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญในขณะนั้น ซึ่งในสมัยก่อน ประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐสภาไทยประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยมีโดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง นอกจากนี้ประธานรัฐสภายังดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา ปัจจุบันตำแหน่งนี้ได้ว่างลง โดยพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ทำหน้าที่แทน.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นตำแหน่งหัวหน้าสภาผู้แทนราษฎร (สภาล่าง) ของประเทศไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนล่าสุดคือ นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ. 2554 และสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎรจึงทำให้ตำแหน่งนี้ว่างลง.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและปัญจะ เกสรทอง · ดูเพิ่มเติม »

โภคิน พลกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและโภคิน พลกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกษม บุญศรี

กษม บุญศรี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2531) อดีตแม่กองธรรมสนามหลวง ราชบัณฑิตภาคีสมาชิก อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 1 สมั.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและเกษม บุญศรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) (6 มิถุนายน พ.ศ. 2418 - พ.ศ. 2489) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยและ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรของไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »