โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก

ดัชนี รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ เป็นรายชื่อของตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก โดยตลาดหลักทรัพย์เป็นสถานที่ที่มีการซื้อขายหุ้น นอกจากนี้ยังมีตลาดอนุพันธ์และตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าอีกด้ว.

8 ความสัมพันธ์: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในทวีปแอฟริการายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในเอเชียใต้รายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์รายชื่อเวลาเปิดตลาดหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์ลอนดอนตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกงเศรษฐกิจญี่ปุ่น

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในทวีปแอฟริกา

ทวีปแอฟริกา ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในทวีปแอฟริกา ชึ่งทั้งหมด 22 คลาดหลักทรัพย์ 21 ประเทศ และตลาดหลักทรัพย์ที่เก่าแก่ที่สุดในทวีป คือ ตลาดหลักทรัพย์ไคโรและอเล็กซานเดรีย ก่อตั้งในปี 1883.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในเอเชียใต้

้านล่างนี้เป็น รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในเอเชียใต้ ซึ่งมีทั้งหมด 8 ประเทศ ดังนี้.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ในเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์

้านล่างนี้คือ รายชื่อ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง ที่ไม่มี ตลาดหลักทรั.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและรายชื่อประเทศที่ไม่มีตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเวลาเปิดตลาดหลักทรัพย์

้านล่างนี้เป็น รายชื่อเวลาเปิดและเวลาปิดของตลาดหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายล่วงหน้าทั่วโลก.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและรายชื่อเวลาเปิดตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดหลักทรัพย์

ตลาดหลักทรัพย์ หรือ ตลาดหุ้น เป็นสถานที่สำหรับซื้อขายแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ระยะยาว ของ บริษัทมหาชนจำกัด ซึ่งถือว่าเป็นตลาดรอง (Secondary Market) ทั้งนี้เนื่องจากจะทำการซื้อขายเฉพาะหลักทรัพย์ที่ได้ออกจำหน่ายให้แก่ประชาชนโดยทั่วไปแล้วเท่านั้น หลักทรัพย์ระยะยาว จะประกอบไปด้วยตราสารหนี้ และตราสารทุนซึ่งประกอบไปด้วย หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิแบบต่าง ๆ ใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ หุ้นกู้ และ หน่วยลงทุน เป็นต้น โดยเรียกว่าเป็นประเภทของตราสารเพื่อการลงทุนตลาดหลักทรัพย์มีอยู่แทบทุกประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน

ตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน ตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน (อังกฤษ:London Stock Exchange) หรือที่รู้จักกันในนามดัชนี FTSE เป็นตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง

ตราสัญลักษณ์ของตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง Trade Lobby ตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง (Hong Kong Stock Exchange; HKEx) เป็นตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในฮ่องกง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจญี่ปุ่น

รษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจาก สหรัฐอเมริกา และ ประเทศจีน ถือว่าใหญ่เป็นอันดับ 2 ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองในรัชสมัยโชวะ จักรวรรดิญี่ปุ่นมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก แม้ว่าจะพ่ายแพ้สงครามแต่ญี่ปุ่นก็สามารถไต่เต้าขึ้นมามีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต และครองตำแหน่งนี้ยาวนานกว่าสองทศวรรษจนกระทั่งสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี 1990 ญี่ปุ่นก็กลายเป็นชาติเศรษฐกิจอันดับสองของโลกจนถึงปี 2009 จากข้อมูลของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อำนาจซื้อต่อหัวของญี่ปุ่นในเวทีโลก อยู่ที่ 35,855 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงเป็นอันดับ 22 ของโลก การคาดการณ์เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีการสำรวจเป็นรายไตรมาสที่เรียกว่า ทังกัง จัดทำโดยธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบัน ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ผลิตยานยนต์ได้มากเป็นอันดับ 3 ของโลก นอกจากนี้ ยังมีอุตสาหรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดของโลก ที่มักจะมีการจัดอันดับในบรรดาหมู่ประเทศนวัตตกรรมชั้นนำ ซึ่งในระยะหลังมานี้ญี่ปุ่นต้องเผชิญการแข่งขันกับ จีน และ เกาหลีใต้ ที่เริ่มช่วงชิงส่วนแบ่งในตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้า ทั้งนี้ อุตสาหกรรมการผลิตในประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน ได้ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการผลิตเป็นหลัก ซึ่งใช้แรงงานคนน้อย และมีความแม่นยำมากกว่า จำพวก ยานยนต์ไฮบริด และหุ่นยนต์อัตโนมัติต่างๆ ซึ่งพบได้ทั่วไปในโรงงานในภูมิภาคคันโต ทั้งนี้ภูมิภาคคันไซก็เป็นหนึ่งในพื้นที่อุตสาหกรรมชั้นนำและศูนย์การผลิตสำหรับเศรษฐกิจญี่ปุ่น.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกและเศรษฐกิจญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »