สารบัญ
74 ความสัมพันธ์: บราติสลาวาชาวฮังการีพระมหากษัตริย์ฮังการีพระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการีพระเจ้าวาตสลัฟที่ 3 แห่งโบฮีเมียพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีพระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการีพระเจ้าแฟร์ดีนันด์ที่ 4 แห่งชาวโรมันพันเซอร์ 3พันเซอร์ 4การบุกครองยูโกสลาเวียการบุกครองทวีปยุโรปของมองโกลการรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซการเลิกล้มราชาธิปไตยกุสตาฟ ยานีกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นกติกาสัญญาไตรภาคีฝ่ายอักษะยอเซ็ฟ ติซอยุทธการที่โมเฮ็คส์รัฐกันชนรัฐร่วมประมุขรัฐหุ่นเชิดราชวงศ์อ็องฌูราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)รายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในประเทศฮังการีรายพระนามพระมหากษัตริย์ฮังการีรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการีรูดอล์ฟ อีมิว คาลมานรถถังพันเทอร์วลาดที่ 3 นักเสียบสมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์สาธารณรัฐเยอรมันออสเตรียสุลัยมานผู้เกรียงไกรสงครามสามสิบปีสงครามออตโตมัน-ฮังการีสงครามฮุสไซต์สงครามครูเสดครั้งที่ 4อาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสโดโรเธียแห่งออสเตรียจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรียจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิจักรวรรดิออสเตรีย... ขยายดัชนี (24 มากกว่า) »
บราติสลาวา
ราติสลาวา (Bratislava) คือเมืองหลวงของประเทศสโลวาเกีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ มีประชากรประมาณ 427,000 คน บราติสลาวาตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสโลวาเกียบน 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบ มีอาณาเขตติดกับประเทศออสเตรียและประเทศฮังการี จึงเป็นเมืองหลวงแห่งเดียวในโลกที่มีอาณาเขตติดต่อกับ 2 ประเทศ เมืองนี้และเวียนนายังเป็นเมืองหลวง 2 แห่งที่ตั้งอยู่ใกล้กันมากที่สุดในยุโรป โดยตั้งอยู่ห่างกันไม่ถึง 60 กิโลเมตร บราติสลาวาเป็นศูนย์กลางทางการปกครอง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของสโลวาเกีย เป็นที่ตั้งของทำเนียบประธานาธิบดี รัฐสภา และหน่วยงานภาครัฐต่างๆ และยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์ โรงละคร หอศิลป์ และสถาบันอื่น ๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการศึกษา รวมทั้งสำนักงานใหญ่ของสถาบันทางธุรกิจและการเงินขนาดใหญ่ของสโลวาเกียจำนวนมาก ประวัติศาสตร์ของเมืองนี้ได้รับอิทธิพลจากหลายเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ออสเตรีย เช็ก เยอรมัน ฮังการี ยิว และสโลวัก โดยในอดีตเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาเยอรมันว่า Pressburg เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฮังการีภายใต้ Habsburg monarchy ระหว่าง พ.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและบราติสลาวา
ชาวฮังการี
ชาวฮังการี หรือ ม็อดยอร์ (Hungarian people หรือ Magyars, magyarok) คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับประเทศฮังการี ชนมาจยาร์มีด้วยกันราว 10 ล้านคนในประเทศฮังการี (ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและชาวฮังการี
พระมหากษัตริย์ฮังการี
ระมหากษัตริย์ฮังการี เป็นพระอิสริยยศของพระประมุขแห่งราชอาณาจักรฮังการีที่ใช้ระหว่างปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพระมหากษัตริย์ฮังการี
พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการี
มเด็จพระเจ้ายาโนส ซาโพลไยแห่งฮังการี (János Szapolyai) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1487 – 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1540) ยาโนสเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮังการีผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการี
พระเจ้าวาตสลัฟที่ 3 แห่งโบฮีเมีย
ระเจ้าวาตสลัฟที่ 3 แห่งโบฮีเมีย (Václav III.; Wacław III; Wenceslaus III of Bohemia; 6 ตุลาคม ค.ศ. 1289 – 4 สิงหาคม ค.ศ. 1306) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโบฮีเมียและโปแลนด์ ระหว่าง ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพระเจ้าวาตสลัฟที่ 3 แห่งโบฮีเมีย
พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี
ระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี (Louis II of Hungary; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1506 – 29 สิงหาคม ค.ศ. 1526) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮังการีผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี
พระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี
ระเจ้าอิชต์วานที่ 1 หรือ นักบุญอิชต์วานที่ 1 (I.; Sanctus Stephanus; ค.ศ. 967/ค.ศ. 969/ค.ศ. 975 (แอสแตร์โกม) – 15 สิงหาคม ค.ศ. 1038 (แอสแตร์โกม หรือเซเคซเฟเฮร์วาร์)) อิชต์วานทรงเป็นแกรนด์พรินซ์แห่งฮังการีระหว่างปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี
พระเจ้าแฟร์ดีนันด์ที่ 4 แห่งชาวโรมัน
ระเจ้าแฟร์ดีนันด์ที่ 4 แห่งชาวโรมัน (Ferdinand IV of Hungary) (8 กันยายน ค.ศ. 1633 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1654) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน พระมหากษัตริย์ฮังการี และพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 กับจักรพรรดินีมาเรีย อันนา ทรงดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์โบฮีเมียในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพระเจ้าแฟร์ดีนันด์ที่ 4 แห่งชาวโรมัน
พันเซอร์ 3
ันเซอร์คัมพฟ์วาเกิน 3 (Panzerkampfwagen (อักษรย่อ Pz.Kpfw. III)) หรือที่เรียกในอีกชื่อหนึ่งคือ พันเซอร์ 3 เป็นรถถังเบาขนาดใหญ่ซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยเยอรมันในช่วงยุคปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพันเซอร์ 3
พันเซอร์ 4
ันเซอร์คัมพฟ์วาเกิน 4 (Panzerkampfwagen (อักษรย่อ Pz.Kpfw. IV)) หรือที่เรียกในอีกชื่อหนึ่งคือ พันเซอร์ 4 เป็นรถถังขนาดกลางซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยเยอรมันในช่วงยุคปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและพันเซอร์ 4
การบุกครองยูโกสลาเวีย
การบุกครองยูโกสลาเวีย, หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สงครามเดือนเมษายน เรื่มขึ่นเมื่อ เยอรมนี เปิดฉากโจมตี ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ร่วมกับ ฝ่ายอักษะ โดยเริ่มขึ้นในวันที่ 6 เมษายน 1941 ในช่วง สงครามโลกครั้งที่สอง หลังเกิด รัฐประหารยูโกสลาเวีย เมื่อหลายวันก่อนหน้า ยูโกสลาเวียดำรงความเป็นกลางในสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้เกือบ 2 ปี แต่เมื่อเดือนมีนาคมปี 1941 เจ้าชาย Paul ถูกบีบบังคับให้เซ็นสัญญาเป็นพันธมิตรกับฝ่ายอักษะ ทำให้เกิดการโค่นล้มอำนาจของพระองค์เพื่อปฏิเสธการเป็นพันธมิตรกับอักษะในเบลเกรด และ องค์มกุฏราชกุมารได้ถูกยกขึ้นมาเป็นพระเจ้า Peter II ปกครองยูโกสลาเวียแทน ฝ่ายอักษะจึงเข้าโจมตียูโกสลาเวียและแยกดินแดนยูโกสลาเวียเป็นส่วนๆแบ่งสรรกันในหมู่ฝ่ายอักษะ (อิตาลี เยอรมนี บัลแกเรีย ฮังการี โรมาเนีย แอลเบเนีย) แต่ที่สำคัญคือยกกลุ่ม Ustaša ให้ขึ้นมาเป็นรัฐบาลปกครองรัฐเอกราชโครเอเชีย (Independent State of Croatia) .
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและการบุกครองยูโกสลาเวีย
การบุกครองทวีปยุโรปของมองโกล
ทธการโมฮี การรุกรานของมองโกลในยุโรป (Mongol invasion of Europe) จุดมุ่งหมายของการรุกรานของมองโกลภายใต้การนำของซูบูไท (Subutai) คือการทำลายราชนครรัฐต่างๆ ของสลาฟตะวันออกเช่นจักรวรรดิเคียฟรุส และ จักรวรรดิวลาดิเมียร์-ซุสดา (Vladimir-Suzda) หลังจากนั้นมองโกลก็รุกรานราชอาณาจักรฮังการี (ในยุทธการโมฮี) และบริเวณต่างๆ ในโปแลนด์ การโจมตีฮังการีนำโดยบาตู ข่าน (Batu Khan) หลานของเจงกีส ข่าน และโปแลนด์นำโดยคาดาน หลานของเจงกีส ข่านเช่นกัน แต่แผนการรุกรานทั้งสองมาจากซูบูไท ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 นักประวัติศาสตร์ยังคงโต้แย้งกันว่าการรุกรานของมองโกลในยุโรปตะวันออกมีความสำคัญพอที่จะการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มทางประวัติศาสตร์หรือไม่ นักประวัติศาสตร์การทหารส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นการกระทำที่ต้องการที่จะสร้างความตระหนกให้แก่มหาอำนาจของโลกตะวันตกเพื่อไม่ให้เข้ามายุ่งเกี่ยวกับกิจการของมองโกลในยุโรปตะวันออกโดยเฉพาะในรัสเซีย หลักฐานมิได้สนับสนุนความคิดที่ว่าบาตู ข่านต้องการที่จะรักษาความมั่นคงในบริเวณพรมแดนทางด้านตะวันตกของชัยชนะที่ได้รับต่อรัสเซีย และเมื่อหลังจากการเข้าทำลายฮังการีและโปแลนด์อย่างรวดเร็วแล้วเท่านั้นที่บาตู ข่านเริ่มจะคิดถึงการรุกรานยุโรปตะวันตก สำหรับมองโกลการรุกรานยุโรปเป็นเพียงหนึ่งในสงครามสามด้านของการรณรงค์ที่รวมทั้งตะวันออกกลางและดินแดนของราชวงศ์ซ่ง.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและการบุกครองทวีปยุโรปของมองโกล
การรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ
การรุกลูวอฟ-ซานโดเมียร์ซ (Львівсько-Сандомирська операція, Львовско-Сандомирская стратегическая наступательная операция) เป็นแผนการหลักของกองทัพแดงเพื่อบีบให้กองทัพเยอรมันถอยออกจาก ยูเครน และโปแลนด์ตะวันออก การรบดำเนินไปในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพแดงประสบความสำเร็จภายในหนึ่งเดือนของการโจมตี หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและการรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ
การเลิกล้มราชาธิปไตย
ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและการเลิกล้มราชาธิปไตย
กุสตาฟ ยานี
วิเตซ กุสตาฟ ยานี (Gusztáv Jány) เป็นผู้บัญชาการฮังการีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บังคับบัญชากองทัพฮังการีที่สองในยุทธการที่สตาลินกราดต่อมาเขาถูกตัตสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามและประหารชีวิต.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและกุสตาฟ ยานี
กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น
กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น
กติกาสัญญาไตรภาคี
กติกาสัญญาไตรภาคี (Tripartite Pact) หรือ กติกาสัญญาเบอร์ลิน เป็นความตกลงทางการทหาร ทำขึ้นระหว่าง นาซีเยอรมนี, ราชอาณาจักรอิตาลี และ จักรวรรดิญี่ปุ่น ในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและกติกาสัญญาไตรภาคี
ฝ่ายอักษะ
ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและฝ่ายอักษะ
ยอเซ็ฟ ติซอ
อเซ็ฟ ติซอ (Jozef Tiso; 13 ตุลาคม ค.ศ. 1887 – 18 เมษายน ค.ศ. 1947) เป็นนักบวชโรมันคาทอลิกชาวสโลวักและนักการเมืองจากพรรคประชาชนสโลวัก ระหว่างปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและยอเซ็ฟ ติซอ
ยุทธการที่โมเฮ็คส์
ทธการที่โมเฮ็คส์ (mohácsi csata or mohácsi vész, Mohaç savaşı or Mohaç meydan savaşı, Battle of Mohács) เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นที่โมเฮ็คส์ทางใต้ของบูดาเปสต์ในฮังการีปัจจุบันเมื่อวันที่29 สิงหาคม ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและยุทธการที่โมเฮ็คส์
รัฐกันชน
รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรัฐกันชน
รัฐร่วมประมุข
ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรัฐร่วมประมุข
รัฐหุ่นเชิด
รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรัฐหุ่นเชิด
ราชวงศ์อ็องฌู
ัญทอนลักษณ์ที่ใช้บนเหรียญโดยชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอ็องตกกำการณ์เฌูและพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนเปิลส์ ราชวงศ์อ็องฌู โกเตตพัดกระโดดหรือ ราชวงศ์อ็องเฌอแว็ง (Andegavinus, (จากภาษาฝรั่งเศสเก่าจากภาษาละตินยุคกลางที่มาจากคำว่า Andegavia, อ็องฌู, ฝรั่งเศส); Houseฉ of Anjou) เป็นชื่อที่ใช้สำหรับผู้ที่พำกกนักอยู่ที่อ็องฌูที่เดิมเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรฝรั่งเศส และรว,มทั้งผู้ที่พำนักอยู่ที่ออแฉปตแตะนัปกพฏอ็องเฌ (Angers) ด้วย ปขฏผาดโผนร นอกจากนั้นแล้วก็ยังเป็นคำที่ใช้สำหรับตระกูลจากสมัยกลางหลายตระกูลที่เริ่มมาจากเคานต์ (หรือดยุคตั้งแต่ ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและราชวงศ์อ็องฌู
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)
ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1946) (ฮังการี: Magyar Királyság) เป็นราชอาณาจักรในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรายชื่อสนธิสัญญา
รายชื่อธงในประเทศฮังการี
นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในฮังการี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรายชื่อธงในประเทศฮังการี
รายพระนามพระมหากษัตริย์ฮังการี
ระมหากษัตริย์ฮังการี (magyar király) เป็นตำแหน่งที่ปกครองราชอาณาจักรฮังการีตั้งแต่ ค.ศ. 1000 - ค.ศ. 1918 และในรัชสมัยของจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชอาณาจักรฮังการีก็ได้ถูกผนวกรวมเข้ากับจักรวรรดิออสเตรียตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นม.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรายพระนามพระมหากษัตริย์ฮังการี
รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์
นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่การสถาปนากรุงคอนสแตนติโนเปิลในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์
รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย
นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย
รายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี
รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศฮังการี ตั้งแต่การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันประมุขแห่งรัฐฮังการีเป็นตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ (Magyarország köztársasági elnöke) ประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฮังการี ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ ยาโนช อาแดร์ เป็นผู้ได้รับเลือกคนล่าสุดโดยเริ่มดำรงตำแหน่งวันที่ 10 พฤษภาคม..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี
รูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน
รูดอล์ฟ (รูดี้) อีมิว คาลมาน (Rudolf (Rudy) Emil Kálmán; เกิด 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน) เป็นวิศวกรไฟฟ้า นักทฤษฎีระบบเชิงคณิตศาสตร์ และผู้พัฒนาตัวกรองคาลมาน (Kalman filter) และเป็นผู้นำเสนอแบบจำลองปริภูมิสถานะ และนำเสนอแนวคิดเรื่องสภาพควบคุมได้และสภาพสังเกตได้ มาใช้ในการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ อันเป็นการนำองค์ความรู้ของทฤษฎีระบบควบคุมไปสู่ยุคใหม่ ที่เรียกว่า ทฤษฎีระบบควบคุมสมัยใหม่ (modern control theory).
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน
รถถังพันเทอร์
right พันเทอร์ (Panther) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พันเซอร์ 5 (Panzer V) ชื่ออย่างเป็นทางการคือ Panzerkampfwagen V Panther เป็นรถถังขนาดกลางของนาซีเยอรมนีที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยถูกออกแบบในช่วงปี ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและรถถังพันเทอร์
วลาดที่ 3 นักเสียบ
วลาดที่ 3 เจ้าชายแห่งวาลาเคีย (ค.ศ. 1431–1476/7) หรือที่รู้จักโดยสกุล แดรกคิวลา พระองค์ทรงได้รับสมัญญาหลังสิ้นพระชนม์ว่า วลาดนักเสียบ (Vlad the Impaler; Vlad Țepeș) และทรงเป็นเจ้า (Voivode) ครองวาลาเคีย 3 สมัย ส่วนใหญ่ระหว่าง..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและวลาดที่ 3 นักเสียบ
สมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์
มเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์ (Jadwiga of Poland) (3 ตุลาคม 1373 - 17 กรกฎาคม 1399) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ ต้งแต่ปี 1384 จนถึงการสวรรคตของพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 แห่งฮังการีกับสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธแห่งบอสเนีย พระองค์เป็นที่รู้จักในภาษาโปแลนด์ในพระนามว่า เจดวิกา ในภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันว่า เฮ็ดวิก ยุโรปในช่วงเวลานั้นการครองราชย์ของพระราชินีนาถค่อนข้างไม่ใช่เรื่องที่ปกติ พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์อย่างเป็นทางการของประเทศโปแลนด์Hedvigis Rex Polonie: M.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์
สาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย
รณรัฐเยอรมัน-ออสเตรีย หรือ เยอรมัน-ออสเตรีย (Republik Deutschösterreich หรือ Deutsch-Österreich, Republic of German-Austria หรือ German-Austria) เดิมเป็นรัฐหลงเหลือ (rump state) ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งของบริเวณของผู้พูดภาษาเยอรมัน (ไม่ใช่ออสเตรียของเยอรมนี) กล่าวกันว่ามีเนื้อที่ทั้งหมด 118,311 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 10.4 คนที่รวมบริเวณที่ปัจจุบันคือออสเตรียและบริเวณของผู้พูดภาษาเยอรมัน (ซิสไลทาเนีย) ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งรวมทั้งจังหวัดโบลซาโน-โบลเซน และเมืองทาร์วิซิโอที่ปัจจุบันอยู่ในอิตาลี; ทางตอนใต้ของจังหวัดคารินเทีย และทางตอนใต้ของสไตเรียที่ปัจจุบันอยู่ในสโลวีเนียและซูเดเทินลันด์ (Sudetenland) และเยอรมันโบฮีเมีย (ต่อมาเป็นส่วนหนึ่งของซูเดเทินลันด์) ที่ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก ออสเตรียของเยอรมัน.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย
สุลัยมานผู้เกรียงไกร
ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร
สงครามสามสิบปี
งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสงครามสามสิบปี
สงครามออตโตมัน-ฮังการี
งครามออตโตมัน-ฮังการี (Ottoman–Hungarian Wars) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันระหว่างจักรวรรดิฮังการี และ ราชอาณาจักรฮังการี หลังจากสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นในรัชสมัยการปกครองของจักรพรรดิโรมันราชวงศ์พาลาโอโลกอสแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ออตโตมันก็ยึดกาลลิโปลิ (Fall of Gallipoli) และได้รับชัยชนะในยุทธการคอซอวอซึ่งดูจะทำให้ออตโตมันอยู่ในฐานะที่สามารถยึดคาบสมุทรบอลข่านได้ทั้งหมด แต่การรุกรานของออตโตมันในเซอร์เบียทำให้ราชอาณาจักรฮังการีเข้าสู่สงครามในการต่อต้านออตโตมันเพราะทั้งสองฝ่ายต่างก็เห็นประโยชน์ร่วมกันในการยึดดินแดนต่างๆ ในคาบสมุทรบอลข่านที่รวมทั้ง อาณาจักรเดสโพเททเซอร์เบีย บัลแกเรีย ราชรัฐวาลเลเคีย และ ราชรัฐโมลดาเวี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสงครามออตโตมัน-ฮังการี
สงครามฮุสไซต์
งครามฮุสไซต์ (Hussite Wars) หรือ สงครามโบฮีเมีย หรือ การปฏิวัติฮุสไซต์ เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายฮุสไซต์ที่นับถือคำสอนของยัน ฮุสกับฝ่ายโรมันคาทอลิก นำโดยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการสู้รบกันเองในหมู่นักรบฮุสไซต์ สงครามนี้เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์ความแตกแยกหลายเหตุการณ์ระหว่างผู้นับถือคำสอนของฮุสกับผู้ปกครองที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เช่น การเผาทั้งเป็นฮุส, เหตุบัญชรฆาตในกรุงปรากและการสวรรคตของพระเจ้าเวนเซลแห่งชาวโรมัน ในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสงครามฮุสไซต์
สงครามครูเสดครั้งที่ 4
งครามครูเสดครั้งที่ 4 (Fourth Crusade) (ค.ศ. 1202-ค.ศ. 1204) เป็นสงครามครูเสด ครั้งที่สี่ที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1202 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและสงครามครูเสดครั้งที่ 4
อาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรีย
อาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและอาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสโดโรเธียแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสโดโรเธียแห่งออสเตรีย (Dorothea Theresa Marie Franziska, Prinzessin von Bayern;; 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2558) เป็นสมาชิกแห่งราชวงศ์วิทเทลส์บัคและเป็นเจ้าหญิงแห่งบาวาเรียโดยกำเนิด เธอกลายเป็นแกรนด์ดัชชีทัสกานีในนามตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและอาร์ชดัชเชสโดโรเธียแห่งออสเตรีย
จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส
ักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส หรือ โคมเนนัส (Manuel I Komnenos หรือ Comnenus, Μανουήλ Α' Κομνηνός) (28 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส
จักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Sigismund, Holy Roman Emperor) (14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1368 - 9 ธันวาคม ค.ศ. 1437) แห่งราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างวันที่ ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย
มเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ อมาลี่ ยูจีนี่; Elisabeth Amalie Eugenie von Habsburg-Lorraine, ราชสกุลเดิม: Wittelsbach) ทรงเป็นดัชเชสแห่งบาวาเรีย และทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีแห่งออสเตรีย และสมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี ตั้งแต่ทรงอภิเษกสมรสกีบสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว์ พระองค์มีพระนามเล่นว่า ซีซี่ โดยพระราชวงศ์ ครอบครัวและพระสหายทรงเรียกพระองค์ตั้งแต่ทรงพระเยาว.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Ferdinand I, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (10 มีนาคม ค.ศ. 1503 - 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1564) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างวันที่ ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรวรรดิ
ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรวรรดิ
จักรวรรดิออสเตรีย
ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรวรรดิออสเตรีย
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
ธงชาติฮังการี
งชาติฮังการี (Magyarország zászlaja) เริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1957 มีทั้งหมด 3 สี คือ สีแดง,สีขาว และ สีเขียว โดยสีแดง หมายถึง เลือดของผู้รักชาติ สีขาว หมายถึง สันติภาพและแม่น้ำดานูบ สีเขียว หมายถึง ความหวังและธรรมชาติ ในประเทศฮังการี และเคยเป็นธงประจำสาธารณรัฐประชาชนฮังการี แบบสร้างธงชาติฮังการี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและธงชาติฮังการี
ทรานซิลเวเนีย
ทรานซิลเวเนียสีเหลืองบนแผนที่ของโรมาเนียกับเขตแดนของประเทศต่างๆ ภูมิภาคประวัติศาสตร์ บานัต, คริซานา และ มารามัวร์ส สีเหลืองเข้ม ทรานซิลเวเนีย (Transylvania, Ardeal หรือ Transilvania; Erdély) เป็นภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของโรมาเนีย โดยมีเขตแดนด้านตะวันออกและทางใต้ติดต่อกับ เทือกเขาคาร์เพเธียน (Carpathian mountains) ทางตะวันตกจรดเทือกเขาอพูเซนิ (Apuseni Mountains) แต่ “ทรานซิลเวเนีย” ที่ใช้กันมักจะรวมบริเวณที่เลยไปจากตัวทรานซิลเวเนียเองและภูมิภาคประวัติศาสตร์ของบริเวณบานัต, คริซานา (Crişana) และ มารามัวร์ส (Maramureş) ทรานซิลเวเนียเดิมเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรดาเซีย (82 ก.ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและทรานซิลเวเนีย
ดัชชีสติเรีย
ัชชีสติเรีย (Duchy of Styria; Herzogtum Steiermark; Vojvodina Štajerska; Stájerország) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของออสเตรียและทางเหนืของสโลวีเนียปัจจุบัน ดัชชีสติเรียเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนกระทั่งถูกยุบในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและดัชชีสติเรีย
คริสต์สหัสวรรษที่ 2
ริสต์สหัสวรรษที่ 2 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..2000 ตามปฏิทินเกรกอเรียนUnited States Naval Observatory, (Washington, DC, June 14, 2011).
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและคริสต์สหัสวรรษที่ 2
คริสเตียน ดอปเพลอร์
ริสเตียน ดอปเพลอร์ (Christian Doppler; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1803 – 17 มีนาคม ค.ศ. 1853) เป็นนักฟิสิกส์และนักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรี.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและคริสเตียน ดอปเพลอร์
ความตกลงอัตราส่วนร้อย
ตาลินThe document is contained in Britain's Public Record Office, https://images.nationalarchives.gov.uk/assetbank-nationalarchives/action/viewFullSizedImage?id.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและความตกลงอัตราส่วนร้อย
ตราแผ่นดินของโครเอเชีย
ตราแผ่นดินของโครเอเชีย เริ่มใช้เมื่อ..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและตราแผ่นดินของโครเอเชีย
ต้นสมัยกลาง
ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและต้นสมัยกลาง
ซาดาร์
ซาดาร์ (Zadar; Zara; Iader) เป็นเมืองใหญ่อันดับที่ห้าของประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดกับทะเลเอเดรียติกในภูมิภาคดัลเมเทีย มีอายุเก่าแก่ประมาณ 2,800 ปี ในอดีตเป็นเมืองท่าทางทะเลที่สำคัญแห่งหนึ่งของทะเลเอเดรียติกและเป็นที่ช่วงชิงของหลายอาณาจักรเพื่อครองความได้เปรียบของการค้าทางทะเลในบริเวณนี้ ในช่วงสาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ซาดาร์ได้รับการพัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวที่โดดเด่นแห่งหนึ่งของฝั่งทะเลเอเดรียติก และแม้ปัจจุบันนี้หลังโครเอเชียได้แยกตัวออกมาเป็นประเทศเอกราชจากยูโกสลาเวียเมื่อต้นทศวรรษที่ 90 ซาดาร์ก็ยังคงเป็น 1 ในแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ด้วยความที่อยู่ใต้การปกครองของสาธารณรัฐเวนิสมาช้านาน ซาดาร์จึงได้เป็นแหล่งกำเนิดของ Maraschino ซึ่งเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ได้จากการบ่มเชอร์รี่สายพันธุ์ marasca.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและซาดาร์
ปฏิบัติการบากราติออน
ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและปฏิบัติการบากราติออน
ปฏิบัติการสีน้ำเงิน
18 พฤศจิกายน ปฏิบัติการสีน้ำเงิน (Case Blue; Fall Blau) ภายหลังเปลี่ยนชื่อปฏิบัติการ Braunschweig เป็นแผนสำหรับเป็นที่ในช่วงฤดูร้อน 1942 กลยุทธ์ในการเข้าโจมภาคใต้ของสหภาพโซเวียตระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน ถึง24 พฤศจิกายน 1942 หลังจากความล้มเหลวในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งไม่สามารถยึดมอสโกได้ทันเวล.เยอรมนีจึงเล็งเมืองทางภาคใต้ของสหภาพโซเวียตนำโดยกองทัพกลุ่ม A และ B ช่วงแรกเข้าตีเมืองทางภาคใต้เข้าสู่สตาลินกราด จากนั้นกองทัพกลุ่ม A จะข้ามภูเขาคอเคซัสเพื่อเข้ายึดแหล่งน้ำมันใหญ่ของสหภาพโซเวียต ส่วนกองทัพกลุ่ม B จะนำกองกำลังเข้าป้องกันแม่น้ำโวลก้าในเขตสตาลินกราด ในการยุทธช่วงแรกกองทัพเยอรมนีสามารถนำเอาชนะกองทัพโชเวียตที่โวโรเนซและรอสตอฟ อย่างง่ายได้แต่เมื่อเข้าสู่ยุทธการที่สตาลินกราดพบการต้านทานอย่างหนักและพ่ายแพ้ในปฏิบัติการยูเรนัสและปฏิบัติการเสาร์ทำให้แผนการเข้าสู่แหล่งน้ำมันใหญ่ล้มเหลว นำถอยทัพกลับคูบานและเคิร์สต.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและปฏิบัติการสีน้ำเงิน
ประเทศสโลวาเกีย
ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและประเทศสโลวาเกีย
ประเทศฮังการี
ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและประเทศฮังการี
ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ปัญหาเยอรมัน
ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและปัญหาเยอรมัน
นาดทาโทรซาบลีซกา
ลงชาติสาธารณรัฐสโลวัก หรือประเทศสโลวาเกีย มีชื่อว่า "นาดทาโทรซาบลีซกา" (สโลวัก: Nad Tatrou sa blýska) อันมีความหมายว่า "สายฟ้าเหนือเขาทาทราส" ทำนองเพลงมาจากเพลงพื้นเมืองของสโลวาเกีย ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและนาดทาโทรซาบลีซกา
แฟแร็นตส์ ซาลอชี
แฟแร็นตส์ ซาลอชี (6 มกราคม ค.ศ. 1897 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1946) เป็นผู้นำพรรคแอร์โรว์ครอสส์ที่นิยมฟาสซิสต์-กลุ่มเคลื่อนไหวชาวฮังการี,"ผู้นำแห่งชาติ"(Nemzetvezető) ได้เป็นประมุขแห่งรัฐและนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรฮังการีในฐานะ"รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี"(Nemzeti Összefogás Kormánya) ในช่วงหกเดือนสุดท้ายของการเข้าร่วมของฮังการีในสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากเยอรมันได้เข้ายึดครองฮังการีและทำการล้มล้างอำนาจมิกโลช โฮร์ตีด้วยกองกำลัง ในช่วงบทบาทสั้นๆของเขา คนของซาลอชีได้ทำการสังหารหมู่ชาวยิวประมาณ 10,000 - 15,000 คน ภายหลังสงคราม เขาถูกจับกุมและถูกไต่สวนโดยศาลฮังการี เขาจึงถูกตัดสินลงโทษด้วยการประหารชีวิตสำหรับการก่ออาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ หมวดหมู่:ชาวฮังการี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฮังการี หมวดหมู่:ทหารชาวฮังการี หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:อาชญากรสงคราม หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและแฟแร็นตส์ ซาลอชี
แมรีแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการีและโบฮีเมีย
แมรีแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการีและโบฮีเมีย หรือ มาเรียแห่งคาสตีล หรือ มารีแห่งเบอร์กันดี (Mary of Austria หรือ Maria of Castile หรือ Marie of Burgundy) (18 กันยายน ค.ศ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและแมรีแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการีและโบฮีเมีย
โอซีเยก
อซีเยก (Osijek; Eszék; Esseg) คือเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ในภูมิภาคทางทิศตะวันออกของโครเอเชียที่เรียกว่าสลาโวเนีย (Slavonija; Slavonia) ใกล้กับชายแดนประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย มีแม่น้ำดราวาเป็นแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านเมือง ได้รับการยกย่องอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นเมืองหลวงของภูมิภาคสลาโวเนีย ด้านประวัติศาสตร์โอซีเยกมีอายุยืนยาวติดต่อกันมากว่า 800 ปี ผ่านการปกครองจากหลายอาณาจักรทั้งราชอาณาจักรฮังการี, อาณาจักรออตโตมัน, ฮับส์บูร์ก, ออสเตรีย-ฮังการี รวมถึง ยูโกสลาเวีย ในช่วงทศวรรษที่ 90 โอซีเยกเป็นหนึ่งในเมืองซึ่งได้รับความเสียหายมากที่สุดในสงครามการประกาศอิสรภาพของโครเอเชีย ทำให้เมืองซึ่งเคยเฟื่องฟูในฐานะเมืองอุตสาหกรรมหลักแห่งนึงของรัฐโครเอเชียในสหพันธรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียประสบกับปัญหาความซบเซาทางเศรษฐกิจ แม้กระทั่งทุกวันนี้ก็ยังไม่ฟื้นตัวดีนัก ปัจจุบันนี้ด้วยประชากรราวๆ 108,000 คน โอซีเยกจึงเป็นศูนย์กลางการปกครองของเขตโอซีเยก-บารานยา เป็นที่ตั้งของสนามบินเพียงแห่งเดียวในภูมิภาคสลาโวเนียตะวันออก มีความสำคัญในฐานะศูนย์รวมความเจริญทางเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา การคมนาคม และการท่องเที่ยว.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและโอซีเยก
เอลิซาเบธแห่งบอสเนีย สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการีและโปแลนด์
อลิซาเบธแห่งบอสเนีย (ราวค.ศ. 1339 – มกราคม ค.ศ. 1387) เป็นสมเด็จพระราชินีและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งราชอาณาจักรฮังการีและราชอาณาจักรโครเอเชีย และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ เป็นพระธิดาในบานสตีเฟนที่ 2 แห่งบาเนทบอสเนีย เอลิซาเบธอภิเษกสมรสกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 แห่งฮังการีในปี..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและเอลิซาเบธแห่งบอสเนีย สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการีและโปแลนด์
เอสดี.เคเอฟเซด. 251
อสดี.เคเอฟเซ.
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและเอสดี.เคเอฟเซด. 251
เจ้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2
้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2 (II.) ประสูติเมื่อวันที่ 27 มีนาคม..
ดู ราชอาณาจักรฮังการีและเจ้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2
เซมุน
ซมุน (Zemun.; Земун.) เป็นแขวงย่อย 1 ในทั้งหมด 17 แขวงซึ่งประกอบกันเข้าเป็นเขตปกครองพิเศษใต้อำนาจการปกครองของกรุงเบลเกรด โดยอยู่ทางทิศตะวันตกของใจกลางกรุงเบลเกรดข้ามแม่น้ำซาวาไปทางฝั่งซ้ายและมีแม่น้ำดานูบเป็นเส้นแบ่งเขตของแขวงเซมุนออกจากแขวงปาลิลูลาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แต่เดิมมา ประวัติศาสตร์ของเซมุนนั้นเป็นเมืองซึ่งแยกออกจากเบลเกรดโดยสิ้นเชิง เคยเป็นเมืองชายแดนระหว่างรัฐมาหลายยุค โดยเฉพาะความสำคัญที่สุดของเซมุนในหน้าประวัติศาสตร์คือช่วงตั้งแต่หลังสนธิสัญญาเบลเกรดในปี..
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Hungarian EmpireHungarian KingdomKingdom of Hungaryจักรวรรดิฮังการี