โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชสกุล

ดัชนี ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

75 ความสัมพันธ์: บ้านมะลิวัลย์พระบรมวงศานุวงศ์พระยศเจ้านายไทยพระยาพัทลุง (ขุน)พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยายุทธิษเฐียรพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกเมน กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิปพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชกลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์มหิดลราชสกุลศุขสวัสดิราชสกุลสวัสดิวัตน์รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)ริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชวังบ้านหม้อวังท่าพระสกุลสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรหม่อมไกรสรหลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)หลิว หง...อารียา สิริโสภาจักรพรรดิฮั่นฮุ่ยจักรพรรดิซ่งไท่จงจู เปียวจตุบททำเนียบรัฐบาลไทยทำเนียบท่าช้างทุติยจุลจอมเกล้าทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษท่านผู้หญิงณ อยุธยาตระกูลฟูจิวาระตระกูลคุโจปฐมจุลจอมเกล้าประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 2006นามสกุลนางสนองพระโอษฐ์โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ไซอิ๋วเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์เจ้าฟ้าสุทัศน์เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวลเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)เทวกุลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

บ้านมะลิวัลย์

้านมะลิวัลย์ วังมะลิวัลย์ หรือ บ้านมะลิวัลย์ ตั้งอยู่เลขที่ 39 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ทำการของสำนักงานองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations - FAO).

ใหม่!!: ราชสกุลและบ้านมะลิวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระบรมวงศานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพัทลุง (ขุน)

ระยาพัทลุง (ขุน) หรือ ขุนคางเหล็ก (เกิด พ.ศ. 2277) เป็นบุตรชายของพระยาราชบังสัน (ตะตา) บุตรชายของพระยาพัทลุง (ฮุเซน) บุตรสุลต่านสุลัยมาน เกิดและเติบโตในกรุงศรีอยุธยา จึงพูดภาษาปักษ์ใต้ไม่เป็น เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่ออายุ 14 ปี ต่อมา เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกได้เข้าถวายตัวช่วยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นครั้งแรก ตามเสด็จลงไปปราบก๊กเจ้านครศรีธรรมร..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระยาพัทลุง (ขุน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย) · ดูเพิ่มเติม »

พระยายุทธิษเฐียร

ระยายุทธิษฐิระ หรือ พระยายุทธิษเฐียร ทรงเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วง เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัยในปี พ.ศ. 2011 จนกระทั่งอาณาจักรล้านนาเสียดินแดนอาณาจักรสุโขทัยแก่อาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ. 2017 นอกจากนี้ พระเจ้าติโลกราชยังทรงแต่งตั้งให้พระยายุทธิษฐิระ เป็นเจ้าเมืองพะเยาและดูแลหัวเมืองล้านนาตะวันออกตอนล่าง จนถูกปลดในปี พ.ศ. 2022.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระยายุทธิษเฐียร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549

ระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม เป็นส่วนหนึ่ง ใน พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต โดยมีพิธีการดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม.. (10 มกราคม พ.ศ. 2419 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นปราชญ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ทรงเป็นต้นราชสกุล "รัชนี" สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ 2000000000000000 ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม "ทองดี") และพระอัครชายา (พระนามเดิม "หยก"หรือ ดาวเรือง) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระมเหสี และ เจ้าจอมมารดา รวมทั้งสิ้น 37 และพระองค์ยังมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม 73 พระอง.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 58 พระองค์ โดยประสูติก่อนบวรราชาภิเษก 33 พระองค์ และประสูติหลังจากบวรราชาภิเษก 25 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 51 พระองค์ โดยประสูติก่อนบรมราชาภิเษก 38 พระองค์ และประสูติหลังจากบรมราชาภิเษก 13 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล ดังต่อไปนี้ กรมหลวงวรเสร.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล ประสูติเมื่อวันอังคาร แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ ตรงกับวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2369 ทรงเป็นราชโอรสลำดับที่ 46 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาขำ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯให้ทรงกำกับช่างและทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นภูวนัยนฤเบนทราภิบาล ต่อมาในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ แรม 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีวอก..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2355 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2431) พระราชโอรสพระองค์ที่ 58 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นต้นราชสกุลอรุณวงศ์ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ ประสูติ ณ วันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 6 ค่ำ ปีวอก ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2355 ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม ทรงรับราชการในรัชกาลที่ 4 ว่าการกรมกองแก้วจินดา และกรมช่างหล่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นกรมหมื่นวรศักดาพิศาล เมื่อปีกุน พ.ศ. 2394 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ เมื่อปีจอ พ.ศ. 2417 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ สิ้นพระชนม์เมื่อวันศุกร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 8 ปีชวด ตรงกับวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2431 พระชันษา 76 ปี.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร ทรงเป็นต้นราชสกุลจันทรทัต.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2398 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2411 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล รับหน้าที่เป็นนายด่าน ทำการก่อสร้างหอพระคันธารราฐ ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งก่อสร้างค้างมาตั้งแต่รัชกาลก่อน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสังเกตเห็นว่าพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์นี้ มีพระอัธยาศัยนิยมศึกษาตัวบทกฎหมายและอรรถคดี จึงโปรดฯ ให้ไปศึกษากฎหมายและการพิจารณาความกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ซึ่งทรงบัญชาการศาลรับสั่ง อยู่ในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2417 โปรดให้ตั้งองคมนตรีสภา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นองคมนตรีในครั้งนั้นด้วย และแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรี พิจารณาความรับสั่งบางเรื่อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ตั้งศาลฎีกา ขึ้นในปี พ.ศ. 2419 พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล ทรงเป็นอธิบดีศาลฎีกา พระองค์แรก และทรงได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็นกรมหมื่นพิชิตปรีชากร และเป็นอธิบดีศาลแพ่งกลาง และศาลแพ่งเกษม อีก 2 ศาล ในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2427 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพิชิตปรีชากร เป็นข้าหลวงขึ้นไปรักษาเมืองเชียงใหม่พระองค์ได้ทรงจัดการศาลต่างประเทศ และจัดการระเบียบการปกครองภาคเหนือใหม่ ต่อมาเมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2428 ทรงได้รับสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ในปี พ.ศ. 2434 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงเป็นข้าหลวงใหญ่ เสด็จขึ้นไปว่าราชการอยู่ที่มณฑลอีสาน จังหวัดอุบลราชธานี ทรงปรับปรุงการปกครองหัวเมืองทางภาคอีสาน ซึ่งในขณะนั้นเป็นเพียงหัวเมืองชั้นนอก ประมาณ 20 หัวเมืองขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร ยังมิได้รวมเป็นมณฑล ในการเสด็จออกตรวจราชการตามท้องที่ต่าง ๆ ทำให้พระองค์ทรงมีความรู้เกี่ยวกับชายแดนลาว และเขมร เป็นอย่างดี เมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงพิชิตปรีชากร เป็นผู้พิพากษาฝ่ายไทยร่วมกันพิจารณาคดีความร่วมกับฝรั่งเศส ในกรณีพระยอดเมืองขวาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2437 ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ที่สอง สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัตน์วิศิษฎ์ ซึ่งถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง เพื่อเสด็จไปราชการ ณ ประเทศยุโรป และได้เป็นรัฐมนตรีในสภารัฐมนตรีอีกด้วย http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/013/102.PDF พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงมีความรู้ด้านการแพทย์ ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่คิดประดิษฐ์ปรุงยาไทยผสมกับยาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีพระอัจฉริยภาพในด้านการพระนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรองมากมายหลายเรื่อง เช่น ท้ายกาสีหา นางปทุมสังกา พระองค์ยังได้ร่วมกับพระเจ้าพี่ยาเธอ และพระเจ้าน้องยาเธอจัดตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นในปี พ.ศ. 2423 เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงศึกษาภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เองจนกระทั่งอ่านสามารถ fiction และ novel ภาษาอังกฤษได้คล่อง ทรงนิพนธ์เรื่องสนุกนึก ซึ่งเป็นเรื่องสั้นเรื่องแรก ที่เรียกว่าเป็นบันเทิงคดี ตามแบบอย่างนิยายฝรั่งถือเป็นนิยายเรื่องแรกของไทย ในปี พ.ศ. 2439 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ได้ถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม เพราะทรงพระประชวร และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2452 พระชันษาได้ 53 ปี ทรงเป็นต้นราชสกุลคัคณาง.

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกเมน กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกเมน กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์ เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 11 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นลำดับที่ 2 ในเจ้าจอมมารดาเฟือง ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 6 แรม 11 ค่ำ ปีกุน สับตศก จุลศักราช 1177 ตรงกับวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2358 ใน..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกเมน กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป อยู่แถวหลังองค์ที่ ๗ ข้าราชการพลเรือนชั้นที่ 2 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยานุชิต พระราชโอรสพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง โดยประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 6 ค่ำ ปีระกาตรีศก..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2425 เสด็จไปศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์จากประเทศอังกฤษ สำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็ง นพศก..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช ทรงเป็นต้นราชสกุลอิศรเสนา ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีวอก ตรงกับวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ราชสกุลและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์

กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มคนเพื่อกดดันขับไล่ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 โดยมีแกนนำประกอบด้ว.

ใหม่!!: ราชสกุลและกลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 02.54 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 3 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2551 ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง หมายกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงยกสัปตปฎลเศวตฉัตรเหนือยอดพระเมรุในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และหมายกำหนดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งพระราชพิธีสองอย่างหลังจะมีขึ้น ณ พระเมรุ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง.

ใหม่!!: ราชสกุลและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

มเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16:37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี ชั้น 5 ด้านตะวันออก โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม - 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ราชสกุลและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดี และถวายความอาลัย แด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ราชสกุลและการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหิดล

มหิดล สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชสกุลและมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุลศุขสวัสดิ

ัตรพระราชทานนามราชสกุล ราชสกุลศุขสวัสดิ เป็นราชสกุลมหาสาขาหนึ่งใน มหามกุฎราชสันตติวงศ์ โดยมี พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เป็นองค์ต้นราชสกุล ราชตระกูลนี้ยังมีความเกี่ยวเนื่องใกล้ชิดกับราชสกุล “เกษมศรี” ซึ่งเป็นอีกมหาสาขาหนึ่ง ที่มีองค์ต้นราชสกุล คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ ด้วยองค์ต้นราชสกุลทั้งสองประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานนามสกุลอันเป็นมงคลนาม “ศุขสวัสดิ” ณ วันที่ ๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๕๘ พร้อมการเขียนเป็นตัวอักษรโรมันว่า “Sukhasvasti” ซึ่งคนโดยทั่วไปมักอ่านออกเสียงด้วยวิธีการอ่านตามสมัยนิยม ว่า “สุก-สะ-หวัด” แต่โดยที่คำว่า “ศุข” นั้น เป็นคำสันสกฤต ที่มีตัวสะกดอ่านออกเสียงเหมือนตัว ก ซึ่งหลักอักขรวิธีของไทย ได้กำหนดไว้ว่า เมื่อไปเข้าสมาสหน้าคำใด ๆ จะต้องอ่านเสียงตัวสะกดนั้นอย่างมีสระ อะ ในเสียงกึ่งมาตรา ประสมอยู่ด้วยเสมอ ดังนั้น จึงควรอ่านออกเสียงนามราชสกุลที่พระราชทานนี้ ว่า “สุก-ขะ-สะ-หวัด-ดิ” ซึ่งน่าจะถูกต้องตามหลักภาษาและสอดคล้องกับคำโรมันที่พระราชทานไว้ ปัจจุบันสมาชิกในราชสกุลได้เขียนนามสกุลแตกต่างกันออกไป เป็น “ศุขสวัสดิ์” บ้าง หรือ “สุขสวัสดิ์” บ้าง แทนที่จะใช้ “ศุขสวัสดิ” ตามที่ได้รับพระราชทาน ทั้งนี้ คงเนื่องมาจากในสมัยหนึ่งได้มีการกำหนดให้ตัดตัวอักษรภาษาไทยออกไปหลายตัว รวมทั้ง “ศ” และ “ษ” โดยให้คงไว้แต่ตัว “ส” ทำให้นามราชสกุลต้องเปลี่ยนผิดเพี้ยนไป ทั้งการเติมทัณฑฆาตก็คงเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ แม้ภายหลังเมื่อได้มีการกลับฟื้นฟูให้มีการใช้พยัญชนะและสระตามรูปแบบเดิมแล้ว แต่สมาชิกในราชสกุลบางท่านก็เปลี่ยน บางท่านก็ไม่เปลี่ยน หรือเปลี่ยนแล้วแต่ก็ยังคงให้มีทัณฑฆาตไว้ ทำให้เกิดการเขียนชื่อราชสกุลแตกกันออกไปเป็นถึงสามแนว โดยสมาชิกในราชสกุลที่ยังคงใช้นามราชสกุลตามต้นคำที่ได้รับพระราชทานนั้นมีอยู่ไม่มาก จนกลายเป็นชนหมู่น้อยในกลุ่มใหญ่ที่เขียนแปลกแตกต่างจากหมู่พวกไป ทั้งยังพบว่ามีผู้ที่มิได้เกี่ยวดองเป็นผู้สืบราชตระกูล ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทะเบียนท้องที่ให้จดทะเบียนนามสกุลของตนว่า “สุขสวัสดิ์” โดยมีกระจายอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ บางท่านก็เป็นผู้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ดังนั้นหากจะบ่งชี้ว่า ผู้ใดเป็นผู้สืบราชตระกูลก็ต้องดูว่ามีการระบุฐานันดรหน้านามหรือมีสร้อยคำ “ณ อยุธยา” อันเป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นราชตระกูลต่อท้ายนามสกุลอยู่หรือไม.

ใหม่!!: ราชสกุลและราชสกุลศุขสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุลสวัสดิวัตน์

ราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นราชสกุลที่สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ พระอนุชาในสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และ ทรงอภิเษกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี มีพระโอรสและพระธิดา รวม ๕ พระองค์ คือ.

ใหม่!!: ราชสกุลและราชสกุลสวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ใหม่!!: ราชสกุลและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ใหม่!!: ราชสกุลและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3

นี่คือรายนามเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ราชสกุลและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ราชสกุลและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ราชสกุลและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: ราชสกุลและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

ริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระโกศพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ริ้วขบวนพระอิสริยยศในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วกระบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: ราชสกุลและริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วขบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: ราชสกุลและริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

วังบ้านหม้อ

วังบ้านหม้อ วังบ้านหม้อ ตั้งอยู่ริมถนนอัษฎางค์ ริมคลองคูเมืองเดิม ฝั่งตรงข้ามกับ ศาลเจ้าพ่อหอกลอง เดิมเป็นวังประทับของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเจ้าจอมมารดาศิลา ซึ่งเป็นต้นราชสกุล กุญชร นับตั้งแต่ได้เข้ารับราชการที่กรมม้า และกรมคชบาล สมเด็จฯ กรมพระพิทักษเทเวศร์ ได้ทรงพำนักอยู่ที่ วังบ้านหม้อมาจวนจนกระทั่งสิ้นพระชนม์ วังบ้านหม้อมีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 3-5) ปัจจุบันวังบ้านหม้อตกอยู่ในความครอบครองของ หม่อมหลวงแฉล้ม กุญชร ธิดาคนที่ 27 ของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ปัจจุบันเหลือเพียงท้องพระโรง ศาลาท้องพระโรง และเก๋งด้านหน้าท้องพระโรง อันเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีมาตั้งแต่สร้างวัง.

ใหม่!!: ราชสกุลและวังบ้านหม้อ · ดูเพิ่มเติม »

วังท่าพระ

วังท่าพระ หรือ วังล่าง ตั้งอยู่ข้างพระบรมมหาราชวัง ริมถนนหน้าพระลานทางด้านทิศตะวันตก ใกล้ท่าช้างวังหลวง แต่เดิมวังท่าพระนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศรีศากยมุนี จากพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย มาประดิษฐานไว้ ณ วัดสุทัศนเทพวราราม เมื่อพระพุทธรูปมาถึงประตูท่าช้าง ปรากฏว่าอัญเชิญเข้ามาไม่ได้เนื่องจากองค์พระนั้นมีขนาดใหญ่เกินกว่าจะนำผ่านเข้ามาได้ จึงจำเป็นต้องรื้อทั้งประตูถอนทั้งกำแพงออก จึงได้เรียกขานอดีตท่าเรือนี้แทนว่าท่าพระ วังที่อยู่ใกล้กันนั้นจึงเรียกตามว่า "วังท่าพระ".

ใหม่!!: ราชสกุลและวังท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

สกุล

กุล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชสกุลและสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: ราชสกุลและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์

มเด็จพระศรีเสาวภาคย์นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 129 มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 20 แห่งอาณาจักรอยุธยา และรัชกาลที่ 4 ในราชวงศ์สุโขทัย เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเอกาทศรถ และมีพระเชษฐาที่ประสูติร่วมพระราชมารดา ได้แก่ เจ้าฟ้าสุทัศน์ ซึ่งดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช พระองค์ประชวรพระยอดจนเสียพระเนตรไปข้างหนึ่ง และมีพระบุคลิกค่อนข้างอ่อนแอและไม่สนพระทัยเกี่ยวกับราชการบ้านเมือง หลังจากที่สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตลง พระองค์ได้รับทูลเชิญให้ขึ้นครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ. 2153 ทรงพระนามว่า สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 4 ในรัชสมัยของพระองค์ ได้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นในแผ่นดิน โดยเรือของชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาค้าขาย ได้ปล้นราษฎร ได้บุกเข้าไปในพระนคร และเข้าไปในพระราชวังหลวง จับสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์และบังคับให้ทรงปฏิญาณสัญญาว่ามิให้ผู้ใดทำร้ายพวกญี่ปุ่น แล้วได้ลงเรือแล่นหนีออกทะเล โดยนำตัวสมเด็จพระสังฆราชไปเป็นตัวประกันจนถึงปากน้ำ เมื่อครองราชย์อยู่ได้ 1 ปี 2 เดือน พระศรีศิลป์และจมื่นศรีเสารักษ์ก็ร่วมกันนำกองกำลังเข้ายึดพระราชวังหลวง เมื่อทรงทราบก็ตกพระทัยอยู่ครู่หนึ่ง จึงตรัสว่า "เวราเราแล้วก็ตามเถิด แต่อย่าให้ลำบากเลย" พระองค์ถูกพันธนาการอย่างแน่นหนา จนรุ่งเช้าจึงให้พระภิกษุ 100 รูปมาบังสุกุล ถวายธูปเทียนขมา แล้วนำพระองค์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ตรงกับปี พ.ศ. 2154 พระบรมศพถูกนำไปฝังที่วัดโคกพร.

ใหม่!!: ราชสกุลและสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: ราชสกุลและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชสกุลและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: ราชสกุลและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมไกรสร

หม่อมไกรสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไกรสร ต่อมามีพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงรักษ์รณเรศ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ทรงเป็นต้นราชสกุล พึ่งบุญ และ สกุล อนิรุทธเทว.

ใหม่!!: ราชสกุลและหม่อมไกรสร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)

หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค) หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ นามเดิม แจ๋ว เกิดในราชินิกุลบุนนาค เป็นบุตรเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) มารดาชื่อ มอญ นับเป็นราชินิกุลบุนนาค ชั้นที่ ๔ และวงศ์เฉกอะหมัด ชั้นที่ ๙ (สืบเชื้อสายจากเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)) เกิดเมื่อปี ๒๔๓๒ ถึงแก่กรรมเมื่อปี ๒๔๙.

ใหม่!!: ราชสกุลและหลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

หลิว หง

สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้ฮง (?-180 ปีก่อนคริสตกาล)ทรงพระนามเดิมว่า หลิวฮง เป็นพระราชโอรสอีกพระองค์ใน จักรพรรดิฮั่นฮุ่ยตี้เมื่อพระเชษฐาคือ จักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้กง ถูกลิไทเฮาจับสำเร็จโทษเมื่อ 184 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตกแต่ตลอด 4 ปีแห่งการครองราชย์ก็ทรงเป็นเช่นเดียวกับพระเชษฐาคือเป็นเพียงหุ่นเชิดของลิไทเฮาและพรรคพวกของพระนางพระองค์ก็ถูกกล่าวหาเช่นเดียวกับพระเชษฐาคือพระสติวิปลาสจึงถูกลิไทเฮาจับสำเร็จโทษ หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ราชสกุลและหลิว หง · ดูเพิ่มเติม »

อารียา สิริโสภา

อารียา สิริโสภา หรือ อารียา สิริโสดา หรือชื่อเล่นว่า ป๊อป (เกิด: 28 มิถุนายน พ.ศ. 2514) เป็นนางสาวไทย ประจำปี พ.ศ. 2537 (คนที่ 32 ของประเทศไทย) และเป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดนางงามจักรวาล 1994 ที่ ฟิลิปปินส์ อารียาเป็นบุตรของปทุมวรรณ ชุมสาย ซึ่งเป็นชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เธอมีน้องชายชื่อเล่นว่า เป้ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ประเทศสหรัฐอเมริกา เคยรับราชการเป็นอาจารย์สอนในโรงเรียนทหาร มียศร้อยโทหญิง จนมีฉายาที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "หมวดป๊อป" ภายหลังได้ลาออก ปัจจุบันเป็นนักแสดง พิธีกร นักเขียน และผู้กำกับภาพยนตร์ ครอบครัวของอารียาเคยใช้นามสกุลว่า "เย้าเยือน" ต่อมาได้เปลี่ยนนามสกุลเป็น "ชุมสาย" เมื่อใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา ตามชื่อของญาติผู้ใหญ่ ซึ่งพ้องกับราชสกุลชุมสาย ณ อยุธยา ทั้งๆ ที่ไม่ได้เป็นญาติกัน เมื่ออารียาเริ่มมีชื่อเสียงจากการประกวดนางสาวไทย และถูกเข้าใจผิดจากสื่อมวลชน บางครั้งได้ลงข่าวโดยเติม "ณ อยุธยา" ที่ท้ายนามสกุล จนถูกทักท้วงจากกลุ่มราชนิกูลในราชสกุลชุมสาย ในปี..

ใหม่!!: ราชสกุลและอารียา สิริโสภา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นฮุ่ย

ฮั่นฮุ่ย (210–188 ปีก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว อิ๋ง (劉盈) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น เป็นโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฮั่นเกาจู่กับนางลฺหวี่ จื้อ (呂雉) หลิว อิ๋ง ไร้ความสามารถ นางลฺหวี่ จื้อ มารดาซึ่งมีจิตใจหยาบช้า จึงครอบงำราชการบ้านเมือง หลิว อิ๋ง พยายามป้องกันมิให้หลิว หรูอี้ น้องชายร่วมบิดา ถูกนางลฺหวี่ จื้อ ฆ่า แต่ไม่สำเร็จ หลิว อิ๋ง เป็นทุกข์ หันไปใช้ชีวิตเสเพล จนถึงแก่ความตายทั้งที่ยัง?เยาว์นัก เมื่อหลิว อิ๋ง ตาย นางลฺหวี่ จื้อ จึงยกหลิว กง (劉恭) ลูกของหลิว อิ๋ง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิด 210 ปีก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: ราชสกุลและจักรพรรดิฮั่นฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จง

220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชสกุลและจักรพรรดิซ่งไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จู เปียว

จู เปียว (10 ตุลาคม 1355 - 17 พฤษภาคม 1392) เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ ในจักรพรรดิหงอู่ และเป็นพระราชบิดาในจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์หยวน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: ราชสกุลและจู เปียว · ดูเพิ่มเติม »

จตุบท

แมวจตุบทจากสมุดข่อยโบราณ แมวจตุบท เป็นแมวสีดำ นอกจากปลายเท้าขึ้นมาจนถึงข้อพับทั้งสี่ข้างเป็นสีขาว นัยน์ตาเป็นสีเหลืองคล้ายดอกโสน ตำราว่าแมวชนิดนี้คนธรรมดาไม่ควรเลี้ยง ควรเลี้ยงเฉพาะราชนิกูล หรือเชื้อพระวงศ์เท่านั้น.

ใหม่!!: ราชสกุลและจตุบท · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: ราชสกุลและทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบท่าช้าง

ทำเนียบท่าช้าง หรือ วังถนนพระอาทิตย์ ตั้งอยู่บนถนนพระอาทิตย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นบ้านของเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) บุตรเจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุลคชเสนี เชื้อสายมอญ เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรีย)เป็นปู่ของเจ้าจอมมารดากลิ่นในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นมรดกตกทอดมาถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (พระองค์เจ้ากฤดาภินิหาร) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตำหนัก 2 ชั้น เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทิธิ์และเจ้าจอมมารดา ต่อมาเรียกอาคารหลักนี้ว่า ตำหนักเดิม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างตำหนักใหม่ ในปี พ.ศ. 2460 สร้างเป็นอาคารทรงยุโรปก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น เรียกว่า วังมะลิวัลย์ จากนั้น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์ทรงย้ายไปประทับอยู่ ณ วังมะลิวัลย์จนสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2468 ส่วนตำหนักเดิมนั้น สันนิษฐานว่าเป็นที่พำนักของเจ้าจอมมารดากลิ่น หลังจากที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์สิ้นพระชนม์ พระโอรสองค์ใหญ่ซึ่งทรงเป็นผู้จัดการมรดก ได้ทูลเกล้าฯ ถวายร.7ขายตำหนักและที่ดินแก่พระคลังข้างที่ใน พ.ศ. 2468 ต่อมาหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตกมาเป็นกรรมสิทธิของ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบัน ในรัชสมัยรัชกาลที่ 7 พระองค์พระราชทานตำหนักเดิม วังถนนพระอาทิตย์ ให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เมื่อพักได้ระยะหนึ่งจนตำหนักใหม่สูง 3 ชั้นสร้างเสร็จ ตำหนักเดิมจึงไม่มีผู้ใดอาศัย หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยคณะราษฎร์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฏ์ เสด็จออกจากวังนี้ ทรงลี้ภัยทางการเมืองสู่ ปีนัง เข้าสู่ ร.8 ประมาณปี..

ใหม่!!: ราชสกุลและทำเนียบท่าช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยจุลจอมเกล้า

ทุติยจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ท.. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 250 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 18 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยเท่านั้น.

ใหม่!!: ราชสกุลและทุติยจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 200 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไท.

ใหม่!!: ราชสกุลและทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ท่านผู้หญิง

ท่านผู้หญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) และ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ซึ่งนับเป็นเกียรติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้แก่สตรีผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษ มิได้ขอพระราชทานโดยรัฐบาล.

ใหม่!!: ราชสกุลและท่านผู้หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ณ อยุธยา

ณ อยุธยา เป็นการสร้อยต่อท้ายนามสกุลสำหรับราชสกุล เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "na Ayudhya".

ใหม่!!: ราชสกุลและณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ใหม่!!: ราชสกุลและตระกูลฟูจิวาระ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลคุโจ

ตระกูลคุโจ เป็นตระกูลสาขาของตระกูลฟุจิวะระ โดยได้แยกออกมาจาก ฟุจิวะระ โนะ ทาดะมิชิ ตระกูลคุโจวมีอำนาจเช่นเดียวกับตระกูลฟุจิวาระ ในด้านราชสำนักมีบุตรสาวของตระกูลนี้มากมายแต่งงานกับจักรพรรดิ หนึ่งในนั้นคือ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม ในฐานะตระกูลขุนนาง ตระกูลคุโจได้แบ่งตำแหน่งเซ็สโซและคัมปะกุ และตำแหน่งต่างๆ กับ ตระกูลโคโนอิ, ตระกูลทาคาสุซากะ, ตระกูลนิโจ และตระกูลอิจิโจ ซึ่งเป็นเครือญาติเดียวกันจากศตวรรษที่ 12 จนถึงปี..

ใหม่!!: ราชสกุลและตระกูลคุโจ · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: ราชสกุลและปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: ราชสกุลและประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุล

ื่อสกุล หรือ นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล (หรือสกุล) เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้น ว่ามาจากครอบครัวไหน ตระกูลใด ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ทั่วไปในหลาย ๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละที่ก็อาจจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป ในหลาย ๆ วัฒนธรรม (เช่น ทางตะวันตก ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟริกา) นามสกุลจะอยู่ในลำดับหลังสุดของชื่อบุคคล แต่ในบางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม) นามสกุลจะอยู่ในลำดับแรก ส่วนนามสกุลของไทยจะอยู่เป็นลำดับสุดท้ายเหมือนทางตะวันตก ในบางวัฒนธรรม จะใช้นามสกุลในการเรียกขานในโอกาสที่เป็นทางการ เช่น บารัก โอบามา (Barack Obama) จะถูกเรียกว่า คุณโอบามา (Mr. Obama) ไม่ใช่ คุณบารัก เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชสกุลและนามสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นางสนองพระโอษฐ์

ลตติก โนลส์ เคาน์เตสแห่งเอสเซกซ์และไลเชสเตอร์ นางสนองพระโอษฐ์ในราชสำนักอังกฤษ นางสนองพระโอษฐ์ (lady-in-waiting) หมายถึงสตรีผู้ช่วยส่วนพระองค์ในราชสำนัก ซึ่งถวายการรับใช้แด่สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี เจ้าฟ้าหญิง หรือสตรีสูงศักดิ์ นางสนองพระโอษฐ์มักจะมีพื้นหลังมากจากครอบครัวที่มีฐานะทางสังคมสูงแต่มีฐานันดรต่ำกว่าสตรีที่ตนรับใช้ ซึ่งแม้ว่านางสนองพระโอษฐ์คนใดจะรับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม มักจะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นคนรับใช้หรือข้าราชบริพาร นางสนองพระโอษฐ์ ยังหมายถึงกลุ่มของสตรีผู้มีฐานะครอบครัว บรรดาศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่ทางการที่หลากหลาย ซึ่งความแตกต่างกันในฐานะ บรรดาศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่เหล่านี้มักจะมีเกียรติศักดิ์สูง พระบรมวงศานุวงศ์หญิงหรือสตรีผู้สูงศักดิ์อาจทรงสามารถเลือกนางสนองพระโอษฐ์ได้ด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็ได้ แต่แม้ว่าจะทรงมีสิทธิในการเลือกนางสนองพระโอษฐ์ได้อย่างเสรี หากตามประวัติศาสตร์แล้ว การตัดสินใจดังกล่าวมักจะได้รับอิทธิพลจากองค์พระมหากษัตริย์ พระราชบิดา-พระราชมารดา พระราชสวามี หรือเหล่าเสนาบดีของพระมหากษัตร.

ใหม่!!: ราชสกุลและนางสนองพระโอษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์

มะสิริอนุสสรณ์ (Khemasiri Memorial School / KMS) เป็นโรงเรียนเอกชนหญิงล้วน ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 210 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10170 เขมะสิริอนุสสรณ์แปลว่า ระลึกถึงเกษมศรี มีเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือ รักประเพณี มีมรรยาทงาม และปรัชญาของโรงเรียน นักเรียนจะดีเพราะมีวัฒนธรรม นักเรียนจะเป็นผู้นำเพราะมีความรู้.

ใหม่!!: ราชสกุลและโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว

วาดเรื่องไซอิ๋ว จากพระราชวังฤดูร้อน ที ประเทศจีน แสดงภาพตัวละครเอกของเรื่อง (จากซ้าย) ซุนหงอคง, ม้ามังกร, พระถังซัมจั๋ง, ตือโป๊ยก่าย, ซัวเจ๋ง ไซอิ๋ว (ซีโหยวจี้; Journey to the West แปลตรงตัวว่า บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก) เป็นนิยายคลาสสิกของจีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป (อินเดีย) เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซำจั๋ง (อ้างอิงจากผู้มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ มีนามว่าพระเสวียนจั้ง 玄奘大師) โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทางต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทำให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดในวรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับสามก๊ก(三國演義) ความฝันในหอแดง (紅樓夢) และซ้องกั๋ง (水滸傳) การ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ดราก้อนบอล เป็นหนึ่งในงานที่ได้รับอิทธิพลจากไซอิ๋ว หลักฐานภาพจิตรกรรมฝาฝนังตุนหวง พระเสวียนจั้ง เดินทางมีสัมภาระจูงเสือเดินทางไปด้ว.

ใหม่!!: ราชสกุลและไซอิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์

้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ (ເຈົ້າບຸນອຸ້ມ ນະ ຈຳປາສັກ; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – สิ้นพระชนม์: 17 มีนาคม พ.ศ. 2523) หรือ เสด็จเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาสัก เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 13 (พระองค์สุดท้าย) ทรงประสูติในราชวงศ์จำปาศักดิ์และสืบพระราชสันตติวงศ์มาจากสมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (เจ้าหน่อกษัตริย์) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาราชอาณาจักรจำปาศักดิ์และพระมหากษัตริย์แห่งนครจำปาศักดิ์พระองค์แรกของลาว เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลพระราชอาณาจักรลาว 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ และสกุล จำปา ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี พ.ศ. 2518 ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวในฐานะที่เป็นผู้ยอมสละราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจำปาศักดิ์ เพื่อให้ประเทศลาวรวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน และทรงดำรงพระอิสริยยศแห่งราชวงศ์สูงเป็นลำดับที่ 3 ของพระราชอาณาจักร รองจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตและสมเด็จเจ้าฟ้าองค์มกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: ราชสกุลและเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสุทัศน์

้าฟ้าสุทัศน์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเอกาทศรถที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หลังจากนั้น เจ้าฟ้าสุทัศน์กราบบังคมทูลสมเด็จพระเอกาทศรถว่า ขอพิจารณาคนออก สมเด็จพระเอกาทศรสจึงตรัสว่า "จะเป็นขบถหรือ" เป็นเหตุให้เจ้าฟ้าสุทัศน์เกิดความเกรงพระราชอาญาจากสมเด็จพระราชบิดา เมื่อพระองค์ออกจากที่เฝ้าและเสด็จมายังพระราชวังบวรสถานมงคลแล้ว พระองค์ได้เสวยยาพิษและเสด็จสวรรคตลง ความทราบถึงสมเด็จพระเอกาทศรถทำให้พระองค์ทรงพระโทมนัสเป็นอันมากและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพตามพระอิสริยยศพระมหาอุปราช ซึ่งพระองค์ทรงตั้งพระทัยบำเพ็ญทานกุศลเป็นอเนกประการ.

ใหม่!!: ราชสกุลและเจ้าฟ้าสุทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล

้าคุณพระราชพันธุ์นวล เป็นภรรยาในเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) ท่านเกิดในตระกูลคหบดีชาวบ้านอัมพวา ตำบลบางช้าง จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นธิดาของพระชนกทอง ณ บางช้างกับสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี ท่านเป็นพระน้องนางในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี มีพระพี่น้องร่วมบิดามารดา รวม 10 พระองค์ ซึ่งนับเป็นสายสกุลราชินิกุล ได้แก.

ใหม่!!: ราชสกุลและเจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) (สกุลเดิม บุนนาค) (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2486) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยูรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและสมเด็จเจ้าพร.

ใหม่!!: ราชสกุลและเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

เทวกุล

ทวกุล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชสกุลและเทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: ราชสกุลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชินิกุลราชินีกุลราชนิกูล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »