สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียรัชทายาทที่ได้รับสมมุติสมเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนียซาดิเย ทอปตานีเพลงสรรเสริญพระบารมีเจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนียเจ้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนียเจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนียเจ้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย
พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย
มเด็จพระเจ้าซ็อกที่ 1 สคันเดอร์เบ็กที่ 3 แห่งแอลเบเนีย (Zog I, Skanderbeg III) พระนามเดิม อาเหม็ด มุห์ตา เบย์ โซโกลลี ภายหลังเปลี่ยนเป็น อาเหม็ด โซกู (8 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์โซกูและพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย
รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).
ดู ราชวงศ์โซกูและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
สมเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนีย
มเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนีย ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีใน พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย และพระราชมารดาในเจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.
ดู ราชวงศ์โซกูและสมเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนีย
ซาดิเย ทอปตานี
ซาดิเย ทอปตานี (Sadijé Toptani หรือ Nëna Mbretëreshë e Shqiptarëve) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1876 ณ กรุงติรานา โดยพระองค์เป็นบุตรสาวของนายซาละห์ เบย์ ทอปตานี ซึ่งเป็นญาติของนายอาซาด ปาชา ทอปตานีซึ่งเป็นสมาชิกที่มีชื่อเสียงผู้หนึ่งในตระกูลทอปตานี ส่วนซาดิเย ทอปตานีเองก็ได้เป็นภรรยาคนที่สองของจามาล ปาชา โซกู ภายหลังจากการเสียชีวิตของมะลัก ฮานิม (Melek Hanem) ภรรยาคนแรก หลังจากพระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียได้เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ของประเทศแอลเบเนียในปี ค.ศ.
ดู ราชวงศ์โซกูและซาดิเย ทอปตานี
เพลงสรรเสริญพระบารมี
ำว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) โดยการแปลเทียบเคียงจากชื่อเพลงสรรเสริญพระบารมีของไทย (แปลตามตัวว่า เพลงยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์) เพลงชนิดนี้เป็นเพลงปลุกใจชนิดหนึ่ง โดยมากจะคล้ายคลึงกับเพลงชาติ แต่มักใช้กับบรรดาพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เนื้อหาของเพลงมักเป็นไปในทางถวายพระพรแด่สถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงประเภทนี้นิยมบรรเลงในยามที่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เสด็จออกในที่สาธารณะ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในที่ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวาระโอกาสสำคัญของพระราชวงศ์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี เป็นต้น.
ดู ราชวงศ์โซกูและเพลงสรรเสริญพระบารมี
เจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย
้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.
ดู ราชวงศ์โซกูและเจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย
เจ้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย
้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.
ดู ราชวงศ์โซกูและเจ้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย
เจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย
้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนี.
ดู ราชวงศ์โซกูและเจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย
เจ้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย
้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนี.