สารบัญ
70 ความสัมพันธ์: บริเทนส์กอตแทเลินต์ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับบิวอิคก์พระราชพิธีพัชราภิเษกพระราชวังบักกิงแฮมพระราชวังพลาเซ็นเทียพระราชวังฮอลีรูดพระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตพระราชวังเค็นซิงตันพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษการเลิกล้มราชาธิปไตยมาเรียแห่งเท็คมงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนามงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ราชวงศ์วินด์เซอร์ราชวงศ์นอร์มันราชวงศ์เวททินรายชื่อสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษวอลลิส ซิมป์สันวิชัย ศรีวัฒนประภาสีเงิน (มุทราศาสตร์)อินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีดอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ดยุกแห่งวินด์เซอร์คู สตาร์กงานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษตระกูลสเปนเซอร์ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักรตำหนักซานดริงแฮมซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์กแฮร์รอดส์แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กโจเซฟ ไฟนส์โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์เรล์ฟ ไฟนส์เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน... ขยายดัชนี (20 มากกว่า) »
บริเทนส์กอตแทเลินต์
ริเทนส์กอตทาเลนต์ (Britain's Got Talent) เป็นรายการโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักร ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวีและเป็นส่วนหนึ่งของรายการโทรทัศน์ชุดกอตแทเลินต์ที่จะค้นหาผู้ที่มีความสามารถทางด้านการแสดง ร้องเพลง ตลก รวมทั้งความสามารถอื่นๆ โดยไม่จำกัดอายุ นำเสนอรายการโดย แอนต์ แอนด์ เดค ซึ่งเป็นพิธีกรที่มีชื่อเสียงในอังกฤษ ซึ่งผู้ชนะจากการลงคะแนนโดยผู้ชมจะได้รับรางวัล 100,000 ปอนด์สเตอร์ลิง และได้รับโอกาสแสดงต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระบรมวงศานุวงศ์ ในส่วนคณะกรรมการตัดสิน ประกอบด้วย ไซมอน โคเวลล์, อแมนดา โฮลเดน, ปิแอร์ส มอร์แกน (ได้เปลี่ยนคณะกรรมการใหม่ 2 คนคือ เดวิดแฮดเซอร์ฮอฟและไมเคิล แมคอินไตย์ มาแทนปีแอร์ส ที่จะต้องไปรับงานของซีเอ็นเอ็นที่สหรัฐอเมริกาและไซมอน โคเวลล์ ที่จะมาเป็นกรรมการเฉพาะช่วงถ่ายทอดสดเท่านั้น นับตั้งแต่ซีรีส์ที่ 5 เป็นต้นไป ซีรีส์ชุดแรกของรายการนี้เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน - 17 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและบริเทนส์กอตแทเลินต์
ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ
ันเดรดเกรตเตสต์บริทันส์ หรือ ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ (100 Greatest Britons) คือรายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศในปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ
บิวอิคก์
วอิคก์ หรือ บูอิค (Buick) เป็นยี่ห้อรถยนต์ระดับหรูของสหรัฐอเมริกาในเครือเจเนรัลมอเตอร์ (จีเอ็ม) รถยนต์บิวอิคก์มีจำหน่ายอย่างเป็นทางการในสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก จีน และอิสราเอล บิวอิคก์ขึ้นชื่อเป็นยี่ห้อรถยนต์ที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาที่ยังคงอยู่ รถยนต์ของบิวอิคก์เกือบทุกรุ่นยังมีส่วนคล้ายกับรถยนต์จากยี่ห้ออื่น ๆ ในเครือจีเอ็มทางด้านสถาปัตยกรรมของรถยนต์อีกด้ว.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและบิวอิคก์
พระราชพิธีพัชราภิเษก
ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระราชพิธีพัชราภิเษก
พระราชวังบักกิงแฮม
ระราชวังบักกิงแฮม (Buckingham Palace) เดิมชื่อ คฤหาสน์บักกิงแฮม เป็นพระราชวังที่เป็นที่ประทับเป็นทางการของราชวงศ์อังกฤษตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักรเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับการเลี้ยงรับรองของรัฐและยังเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวสำคัญที่หนึ่งของกรุงลอนดอน และยังเป็นที่รวมพลังใจทั้งในการฉลองและในยามคับขันของชาวอังกฤษ พระราชวังบักกิงแฮมแต่เดิมชื่อ “คฤหาสน์บักกิงแฮม” (Buckingham House) สิ่งก่อสร้างเดิมเป็นคฤหาสน์ที่สร้างสำหรับจอห์น เชฟฟิลด์ ดยุคแห่งบักกิงแฮมในปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระราชวังบักกิงแฮม
พระราชวังพลาเซ็นเทีย
ระราชวังพลาเซ็นเทีย (Palace of Placentia) เป็นพระราชวังของพระราชวงศ์อังกฤษที่สร้างโดยฮัมฟรีย์ ดยุคแห่งกลอสเตอร์ในปี ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระราชวังพลาเซ็นเทีย
พระราชวังฮอลีรูด
ระราชวังฮอลีรูด (Holyrood Palace หรือ Palace of Holyroodhouse) ชื่อ "Holyrood" เป็นคำที่แปลงเป็นภาษาอังกฤษจากคำว่า "Haly Ruid" ของภาษาสกอตที่แปลว่า "กางเขนศักดิ์สิทธิ์" (Holy Cross) พระราชวังฮอลีรูดเป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่เอดินบะระในสกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ฮอลีรูดเป็นพระราชวังที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษที่ยังทรงใช้ในสถานที่ประทับหลักในสกอตแลนด์ ฮอลีรูดเดิมเป็นสำนักสงฆ์ที่ก่อตั้งโดยพระเจ้าเดวิดที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ ในปี ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระราชวังฮอลีรูด
พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต
ระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต (Hampton Court Palace) เป็นพระราชวังหลวงที่ตั้งอยู่ที่ลอนดอนบะระห์แห่งริชมอนด์อัพพอนเทมส์ 18.8 กิโลเมตร ทางตะวันตกเฉียงใต้ของชาริงครอสในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร และเหนือใจกลางลอนดอนบนฝั่งแม่น้ำเทมส์ เป็นพระราชวังที่ไม่ได้ใช้ประทับโดยพระราชวงศ์อังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 พระราชวังเดิมสร้างสำหรับพระคาร์ดินัลทอมัส โวลซีย์ ข้าราชสำนักคนโปรดในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ราวปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต
พระราชวังเค็นซิงตัน
ระราชวังเค็นซิงตัน (ภาษาอังกฤษ: Kensington Palace) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่โบโรเค็นซิงตันและเชลเซีย ลอนดอน ในสหราชอาณาจักร เป็นวังที่เดิมสร้างสำหรับดยุคแห่งนอตติงแฮม เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 พระราชวังเค็นซิงตันใช้เป็นที่ประทับของราชวงศ์อังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ในปัจจุบันเป็นที่ประทับของเจ้าฟ้าชายริชาร์ด ดยุคแห่งกลอสเตอร์ และเบอร์จีต ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์; เจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเค้นทและแคทเธอริน ดัชเชสแห่งเค้นท; และเจ้าชายและเจ้าหญิงไมเคิลแห่งเค้นท และเจ้าหญิงไดอานาประทับจนกระทั่งปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระราชวังเค็นซิงตัน
พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก
ระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 (28 มกราคม พ.ศ. 2311 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก (13 มีนาคม พ.ศ. 2351 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382)และพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นพระขนิษฐาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น พระประมุขสูงสุดที่ทรงภูมิธรรม (An enlightened despot) ในยุคเรืองปัญญา คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระผู้เป็นเจ้าและความยุติธรรม (Gud og den retfærdige sag).
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี
ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี หรือนักบุญเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี (Edward the Confessor หรือ Saint Edward the Confessor) (ราว ค.ศ. 1003/1004 – 4 มกราคม ค.ศ. 1066) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เวสเซ็กซ์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี
การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ
ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ผู้ฟื้นฟูราชวงศ์ขึ้นใหม่หลังจากสงครามกลางเมือง การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ หรือ ยุคฟื้นฟู (English Restoration หรือ The Restoration) เริ่มขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ
การเลิกล้มราชาธิปไตย
ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและการเลิกล้มราชาธิปไตย
มาเรียแห่งเท็ค
มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและมาเรียแห่งเท็ค
มงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา
มงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา (Crown of Mary of Modena) เป็นมงกุฎพระอัครมเหสี (Consort Crown) ที่มีความสำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์อังกฤษ สั่งทำขึ้นเพื่อสำหรับสมเด็จพระราชินีแมรี พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ตามประเพณีแห่งราชสำนักอังกฤษ เมื่อมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ พระอัครมเหสีจะต้องเสด็จเข้าในพระราชพิธีฯด้วย โดยหลังจากการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 2 เข้าพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปีค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและมงกุฎพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา
มงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธ
มงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธ (Crown of the Queen Elizabeth) เป็นมงกุฎตัวเรือนทำจากแพลตินัมของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี ซึ่งเป็นพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 และเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 มงกุฎองค์นี้สร้างขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชสวามีที่เวสต์มินสเตอร์แอบบี.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและมงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธ
ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์
้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ (ม็อด ชาร์ล็อต แมรี วิกตอเรีย ต่อมาทรงเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์
ราชวงศ์วินด์เซอร์
ราชวงศ์วินด์เซอร์ เป็นราชวงศ์ที่เป็นสาขาของ ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน ของเยอรมนี เป็นราชวงศ์ปัจจุบันที่ปกครอง สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และ เครือจักรภพ ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 1 ปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและราชวงศ์วินด์เซอร์
ราชวงศ์นอร์มัน
ตราสัญลัษณ์ประจำราชวงศ์นอร์มัน ราชวงศ์นอร์มัน (Norman dynasty) เป็นชื่อของราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษตั้งแต่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ ในปีค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและราชวงศ์นอร์มัน
ราชวงศ์เวททิน
ราชวงศ์เวททิน (House of Wettin) เป็นราชตระกูลเคานท์, ดยุก, พรินซ์อีเล็คเตอร์ (Kurfürsten) และ พระมหากษัตริย์เยอรมันที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐแซกโซนีในเยอรมนี เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนในแซกโซนี-อันฮาลท์ และ ทูริงเกีย เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงในบริเตนใหญ่ (สหราชอาณาจักร) กับเบลเยียมเท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและราชวงศ์เวททิน
รายชื่อสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักร
รายชื่อสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักร (List of cultural icons of the United Kingdom) สัญลักษณ์ของสหราชอาณาจักรส่วนใหญ่ คือ สัญลักษณ์ของประเทศอังกฤษ ในทางทฤษฎีรายชื่อนี้อาจถูกเรียกว่า สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอังกฤษ อย่างไรก็ตามไม่เพียงประเทศอังกฤษเท่า สัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ ไอร์แลนด์เหนือ และเวลส์ ยังถูกเผยแพร่ไปยังส่วนอื่นๆ ของสหราชอาณาจักร หรือถูกก่อตั้ง ถูกประดิษฐ์หลังจากพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและรายชื่อสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักร
รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
วอลลิส ซิมป์สัน
วอลลิส ดัชเชสแห่งวินด์เซอร์ เดิมคือ นางวอลลิส ซิมป์สัน (พระนามแรกประสูติ เบสซี วอลลิส วอร์ฟิลด์, ประสูติ 19 มิถุนายน ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและวอลลิส ซิมป์สัน
วิชัย ศรีวัฒนประภา
วิชัย ศรีวัฒนประภา (สกุลเดิม: รักศรีอักษร) นักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันเป็นเจ้าของกลุ่มกิจการคิง เพาเวอร์ และประธานสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ ซิตี้ ในอังกฤษ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและวิชัย ศรีวัฒนประภา
สีเงิน (มุทราศาสตร์)
“Argent” สีเงินทางซ้าย หรือ ว่าง ตราของเมือง Santiago do Cacém ที่แสดงความแตกต่างระหว่างสีขาวและสีเงิน สีเงิน (Argent) เป็นภาษามุทราศาสตร์ที่บรรยายลักษณะของผิวตรา (Tincture) ที่เป็นสีเงินหรือบางครั้งก็เรียกว่าสีขาว ที่อยู่ในกลุ่มผิวตราสีอ่อนที่เรียกว่า “โลหะ” ถ้าเป็นการแกะพิมพ์ “เงิน” ก็จะเป็นบริเวณที่ทิ้งว่างไม่มีลวดลาย หรืออาจจะจารึกด้วยอักษรย่อ “ar.” ของคำว่า “Argent” คำว่า “Argent” มาจากภาษาลาติน ว่า “argentum” ที่มาจากภาษากรีก “Αργυρος” ที่แปลว่า “เงิน” หรือ “โลหะสีขาว” ในการสร้างตราอาร์มในสมัยโบราณบริเวณที่ระบุว่าเป็นสีเงินอาจจะทำด้วยแผ่นเงิน แต่เมื่อเวลาผ่านไปเงินที่ใช้ก็มีปฏิกิริยากับอากาศและเปลี่ยนเป็นสีที่คร่ำลง ฉะนั้นบางครั้งจึงเป็นการยากที่จะตีความหมายของตราในสมัยโบราณที่มีส่วนที่เป็นสีดำว่าเป็นสีดำ (sable) หรือเป็นสีเงิน.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและสีเงิน (มุทราศาสตร์)
อินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีด
อินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีด เป็นชื่อเพลงชาติของบาร์เบโดส ประพันธ์คำร้องโดย Irving Burgie เรียบเรียงเสียงประสานโดย C.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและอินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีด
อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์
อดอลฟัส แคมบริดจ์ อดีตเจ้าชายแห่งเท็ค อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ GCB, GCVO, CMG (Adolphus Cambridge, 1st Marquess of Cambridge; พระอิสริยยศเดิม เจ้าชายอดอลฟัสแห่งเท็ค (Prince Adolphus of Teck) ต่อมาคือ ดยุคแห่งเท็ค; อดอลฟัส ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด จอร์จ ฟิลิป หลุยส์ ลาดิสเลาส์; 13 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์
ดยุกแห่งวินด์เซอร์
กแห่งวินด์เซอร์ (Duke of Windsor) เป็นฐานันดรศักดิ์หนึ่งของสหราชอาณาจักร ซึ่งถูกตั้งขึ้นเป็นกรณีพิเศษเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและดยุกแห่งวินด์เซอร์
คู สตาร์ก
แคทลีน ดี-แอนน์ สตาร์ก (เกิด 26 เมษายน ค.ศ. 1956) เป็นนักแสดง นางแบบ และช่างภาพชาวอเมริกัน รู้จักกันในชื่อ คู สตาร์ก (Koo Stark) สตาร์กมีชื่อเสียงจากการรับบทเปลือยในภาพยนตร์อีโรติกของอังกฤษ เรื่อง The Awakening of Emily หรือ Emily ในปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและคู สตาร์ก
งานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ
มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 กับ M. de St Antoine” โดย แอนโทนี แวน ไดค์, (ค.ศ. 1633) งานสะสมศิลปะหลวง หรือ งานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ (Royal Collection) คืองานสะสมศิลปะที่เป็นของพระราชวงศ์อังกฤษ แต่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรที่รักษาเพื่อผู้สืบราชบัลลังก์และเพื่อชาติ งานสะสมประกอบด้วยจิตรกรรมกว่า 7,000 ชิ้น, จิตรกรรมสีน้ำ และ ภาพวาดเส้น 40,000 ชิ้น และงานพิมพ์ของศิลปินชั้นครู (old master print) อีกประมาณ 150,000 และรวมทั้งพรมทอแขวนผนัง, เฟอร์นิเจอร์, เครื่องกระเบื้อง, หนังสือ และงานศิลปะอื่นๆ งานเหล่านี้เก็บสะสมไว้ตามสถานที่ต่างหลายแห่งที่รวมทั้งที่พระราชวังแฮมพ์ตันคอร์ท และ พระราชวังวินด์เซอร์ ซึ่งเปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ และ หอศิลป์สมเด็จพระราชินี (Queen's Gallery) ภายในพระราชวังบัคคิงแฮมในลอนดอน นอกจากนั้นก็มีที่There is also a หอศิลป์สมเด็จพระราชินี, เอดินบะระห์ติดกับพระราชวังโฮลีรูด ราคาของงานสะสมทั้งหมดประมาณกันว่ามีมูลค่ากว่าหมื่นล้านปอน.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและงานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ
ตระกูลสเปนเซอร์
ตระกูลสเปนเซอร์ (Spencer family) เป็นหนึ่งในตระกูลขุนนางและชนชั้นสูงเก่าแก่ของเกาะอังกฤษ สมาชิกในตระกูลนี้ได้รับแต่งตั้งเป็นอัศวิน, บารอเนต และขุนนางจำนวนมาก โดยตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลที่ตระกูลนี้ถือครองอยู่ ได้แก่ ดยุกแห่งมาร์ลบะระ, เอิร์ลแห่งซันเดอร์แลนด์, เอิร์ลสเปนเซอร์ และไวเคานต์เชอร์ชิล สมาชิกตระกูลนี้ที่มีชื่อเสียงอย่างที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิล และ ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ เฮนรี สเปนเซอร์ เป็นนายที่ดินเวิร์มเลกตันในมณฑลวาร์วิกเชอร์ และเป็นนายค่าเช่าของบ้านอัลทอร์ปในมณฑลนอร์แทมป์ตันเชอร์ ต่อมา จอร์จ สเปนเซอร์ ผู้เป็นหลาน ได้ค้าขายปศุศัตว์และสินค้าอื่นๆจนร่ำรวย เขาซื้อที่ดินเวิร์มเลกตันในปี 1506 และซื้อบ้านอัลทอร์ปในปี 1508 ที่ในอัลทอร์ปนี้กว้างนับพันไร่และทำให้การเลี้ยงแกะได้ผลดีมากH.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและตระกูลสเปนเซอร์
ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร
ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร (Royal coat of arms of the United Kingdom) เป็นตราอาร์มของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรที่ในปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ตรานี้ใช้โดยสมเด็จพระราชินีนาถในโอกาสทางราชการในฐานะพระมหากษัตรีย์แห่งสหราชอาณาจักร และ รู้จักอย่างเป็นทางการว่า “ตราอาร์มแห่งราชอาณาจักร” (Arms of Dominion) ตราอาร์มที่แปลงจากตรานี้ใช้โดยสมาชิกอื่นๆ ในพระราชวงศ์อังกฤษ และ โดยรัฐบาลบริเตนในกิจการที่เกี่ยวกับการบริหารและการปกครองประเทศ ในสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถทรงมีตราที่แปลงจากตรานี้ ซึ่งเป็นตราเดียวกับที่ใช้โดยรัฐบาลสกอตแลนด์ (Scotland Office) โล่ในตราแบ่งสี่ ในช่องที่หนึ่งหรือช่องบนซ้าย และช่องที่สี่หรือล่างขวาเป็นตราสิงห์สามตัวที่เป็นสัญลักษณ์ของอังกฤษ ในช่องที่สองหรือบนขวาเป็นสิงห์ยืนในกรอบล้อมด้วยสัญลักษณ์ดอกลิลลี ที่เป็นสัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ และในช่องที่สามหรือช่องล่างซ้ายเป็นฮาร์พเกลลิค (Clàrsach) ที่เป็นสัญลักษณ์ของไอร์แลนด์เหนือ (การบรรยายเป็นไปตามหลักการให้คำนิยามของตรา) เครื่องยอด (crest) เป็นสิงห์ยืนหันหน้าหน้าสวมมงกุฎอิมพีเรียลสเตทบนหัวและยืนบนสัญลักษณ์ของมงกุฎเดียวกัน ประคองข้าง (Supporters) ด้านซ้ายเป็นสิงห์ยืนผงาดสวมมงกุฎ ประคองข้างด้านขวาเป็นยูนิคอร์นเงินแห่งสกอตแลนด์ ตามตำนานยูนิคอร์นที่เป็นอิสระเป็นสัตว์ที่อันตราย ฉะนั้นยูนิคอร์นที่ใช้ในอิสริยาภรณ์จึงเป็นยูนิคอร์นที่ล่ามโซ่ เช่นเดียวกับยูนิคอร์นสองตัวที่ประคองข้างตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ ตรามีคำขวัญของทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (Dieu et Mon Droit) “พระเจ้าและสิทธิแห่งข้า” และ คำขวัญของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ “ความละอายจงมาสู่ผู้คิดร้าย” (Honi soit qui mal y pense) บนแถบอยู่รอบโล่หลังตร.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร
ตำหนักซานดริงแฮม
ตำหนักซานดริงแฮม (ภาษาอังกฤษ: Sandringham House) เป็นคฤหาสน์ชนบทตั้งอยู่ที่หมู่บ้านซานดริงแฮม, นอร์โฟล์คในสหราชอาณาจักร เป็นตำหนักที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษ บริเวณที่ตั้งของตำหนักมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยเอลิซาเบธ ในปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและตำหนักซานดริงแฮม
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก
ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก หรือเดิมชื่อ ซาราห์ มากาเร็ต เฟอร์กูสัน ประสูติเมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2502 อดีตพระชายาในเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก เคยทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมาชิกแห่งพระบรมราชวงศ์แห่งสหราชอาณาจักร พระมารดาในเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก และเจ้าหญิงยูจีนีแห่งยอร์ก รัชทายาทสืบราชบัลลังก์ลำดับที่ 6 และ 7 หรือเป็นที่รู้จักกันดีในพระสมัญญา เฟอร์กี.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก
แฮร์รอดส์
แฮร์รอดส์ (Harrods) เป็นห้างสรรพสินค้าหรูหราบนถนนบรอมพ์ตันในเขตไนท์สบริดจ์ ลอนดอน สหราชอาณาจักร ตราแฮร์รอดส์ยังนำไปใช้กับวิสาหกิจอื่นๆ ที่ดำเนินงานโดยกลุ่มบริษัทแฮร์รอดส์ รวมถึงธนาคารแฮร์รอดส์ แฮร์รอดส์เอสเตทส์ แฮร์รอดส์เอเวียชัน และแอร์แฮร์รอดส์ ห้างตั้งอยู่บนที่ดินขนาด 18,000 ตารางเมตร มีพื้นที่จำหน่ายสินค้ากว่า 90,000 ตารางเมตรในร้านค้ากว่า 330 ร้าน ห้างเซลฟริดจ์สบนถนนออกซ์ฟอร์ดซึ่งเป็นห้างที่ใหญ่เป็นอันดับสองในสหราชอาณาจักร มีขนาดมากกว่าครึ่งหนึ่งของแฮร์รอดส์เล็กน้อย โดยมีพื้นที่จำหน่ายสินค้า 50,000 ตารางเมตร คติพจน์ของแฮร์รอดส์คือ Omnia Omnibus Ubique - ทุกสิ่งสำหรับทุกคนในทุกแห่ง ร้านค้าหลายร้านภายในห้างมีชื่อเสียงระดับโลก รวมถึงแผนกคริสต์มาสตามเทศกาลและศูนย์อาหาร.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและแฮร์รอดส์
แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ หรือ เจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ (Caroline Mathilde; 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2294 — 10 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
โจเซฟ ไฟนส์
ซฟ ไฟนส์ (Joseph Fiennes) เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ มีผลงานเป็นที่รู้จักในบท วิลเลียม เชกสเปียร์ ใน Shakespeare in Love, บทเซอร์ โรเบิร์ต ดัดลีย์ ใน Elizabeth, บทคอมมอซาร์ ดานิลอฟ ใน Enemy at the Gates, บทมาร์ติน ลูเธอร์ ใน Luther และบทมาร์ก เบนฟอร์ด ในซีรีส์ทางโทรทัศน์เรื่อง FlashForward โจเซฟ ไฟนส์เป็นน้องชายคนสุดท้องของเรล์ฟ ไฟนส์ นักแสดง, มาร์ทา ไฟนส์และโซฟี ไฟนส์ ผู้กำกับ, แมกนัส ไฟนส์ นักแต่งเพลง และเป็นญาติห่างๆ กับราชวงศ์อังกฤษ เขามีคู่แฝดชื่อ จาค็อป ไฟน.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและโจเซฟ ไฟนส์
โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์
ซฟี เคานท์เตสแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม โซฟี เฮเลน สกุลเดิม ไรส์-โจนส์ (The Countess of Wessex; ประสูติ 20 มกราคม พ.ศ. 2508) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ พระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระองค์ทรงปฏิบัติงานเป็นประชาสัมพันธ์จนกระทั่งปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์
เรล์ฟ ไฟนส์
รล์ฟ ไฟนส์ (Ralph Fiennes) เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1962 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ แสดงในภาพยนตร์อย่างเช่น Schindler's List, The English Patient, In Bruges, The Constant Gardener, Strange Days, Maid in Manhattan และภาพยนตร์แฮร์รีพอตเตอร์ ไฟนส์ได้รับรางวัลโทนีและได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 2 ครั้ง ในปี 2001 ไฟนส์ได้รับรางวัลเชกสเปียร์จากโรงละครเชกสเปียร์ในวอชิงตันดีซี ไฟนส์ยังเป็นทูตให้กับยูนิเซฟสหราชอาณาจักร เรล์ฟ ไฟนส์เป็นพี่ชายของโจเซฟ ไฟนส์, มาร์ทา ไฟนส์และโซฟี ไฟนส์ ผู้กำกับ, แมกนัส ไฟนส์ นักแต่งเพลง และเป็นญาติห่างๆ กับราชวงศ์อังกฤษ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเรล์ฟ ไฟนส์
เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ
้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ (秩父宮 雍仁, Chichibu no miya Yasuhito Shinnō?, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2444 - 4 มกราคม พ.ศ. 2496) หรือ เจ้าชายยะสุฮิโตะ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้อุปถัมป์ ด้านกีฬา, การแพทย์ โดยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงสามารถตรัสภาษาอังกฤษได้ จึงได้ทรงดูแลความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์ได้ทรงเข้าประจำการในกองทัพญี่ปุ่น พระองค์นั้นก็เหมือนกับเจ้าชายพระองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ญี่ปุ่นที่ได้รับการอภัยโทษไม่ต้องเป็นอาชญากรสงคราม หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ
เจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์
้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ (ริชาร์ด อเล็กซานเดอร์ วอลเตอร์ จอร์จ; ประสูติ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2487) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งกลอสเตอร์ตั้งแต่พระบิดาสิ้นพระชนม์เมื่อปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์
เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก
รอยัลไฮเนส เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก (HRH The Prince Andrew, Duke of York) (แอนดรูว์ อัลเบิร์ต คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด เมานต์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก
เจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์
ตราประจำเจ้าฟ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ เจ้าฟ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ (ไมเคิล จอร์จ ชาร์ลส์ แฟรงกลิน; ประสูติ 4 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์
อมพล เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเคนต์ (His Royal Highness Prince Edward, Duke of Kent) (เอ็ดเวิร์ด จอร์จ นิโคลัส พอล แพทริค; ประสูติ 9 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์
้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี ริชาร์ด หลุยส์ (HRH Prince Edward, Earl of Wessex; ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์
เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์
้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เมื่อมีพระชนมายุ 19 ปี เจ้าหญิงมารี หลุยส์ หรือพระนามเต็ม ฟรันซิสกา โยเซฟา หลุยส์ ออกัสตา มารี คริสตินา เฮเลนา (พระอิสริยยศแบบเดิม เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Princess Marie Louise of Schleswig-Holstein, VA, CI, GCVO, GBE, RRC; 12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์
เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์
้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์
เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน
้าหญิงมาร์กาเรตโยงมาที่หน้านี้ สำหรับผู้ที่ใช้พระนามว่า "เจ้าหญิงมาร์กาเรต" อื่นๆ ดู เจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม) เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน (มาร์กาเรต โรส; ประสูติ: 21 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน
เจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก
้าหญิงยูเจนีแห่งยอร์ก หรือ ยูเจนี วิกตอเรีย เฮเลนาในฐานะเชื้อพระวงศ์ที่ทรงมีฐานันดรศักดิ์ เจ้าหญิงยูเจนีจึงไม่ทรงมีราชสกุล แต่เมื่อมีการใช้ราชสกุล จะเป็น เมานท์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ (หรือชื่อทางดินแดนของพระชนก คือ "ยอร์ก") (Princess Eugenie of York; ประสูติ 23 มีนาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก
เจ้าหญิงลูอิส ดัชเชสแห่งอาร์กายล์
้าหญิงลูอิส หรือ ลูอิส แคโรไลน์ อัลเบอร์ตา หลังอภิเษกสมรสได้เปลี่ยนชื่อเป็น ดัชเชสแห่งอาร์กายล์ และมาร์ชเนสแห่งลอร์น (Princess Louise, Duchess of Argyll, VA, CI, GCVO, GBE, RRC, GCStJ; 18 มีนาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงลูอิส ดัชเชสแห่งอาร์กายล์
เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งเอดินเบอระ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (วิกตอเรีย เมลิตา; 25 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน
้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน
เจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์
้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ (Princess Augusta of Cambridge) (ออกัสตา แคโรไลน์ ชาร์ล็อต เอลิซาเบธ แมรี โซเฟีย หลุยส์; 19 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์
เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี
้าหญิงอเล็กซานดรา เดอะฮอนอเรเบิล เลดีโอกิลวี (อเล็กซานดรา เฮเลน เอลิซาเบธ โอลกา คริสตาเบล; ประสูติ 25 ธันวาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี
เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเอดินบะระและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือ อเล็กซานดรา หลุยส์ โอลกา วิกตอเรีย (HRH Princess Alexandra of Edinburgh and Saxe-Coburg and Gotha; 1 กันยายน พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
เจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต
้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต เจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย แพทริเซีย เฮเลนา เอลิซาเบธ (Princess Patricia of Connaught; ภายหลังจากการอภิเษกสมรสคือ เลดี้ แพทริเซีย แรมเซย์ (Lady Patricia Ramsay); 17 มีนาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต
เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ (Mary, Princess Royal and Princess of Orange; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1631 - (24 ธันวาคม ค.ศ. 1660) เจ้าหญิงแมรีประสูติเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด
้าหญิงแมรี พระราชกุมารี (Princess Mary, Princess Royal; วิกตอเรีย อเล็กซานดรา อลิซ แมรี; 25 เมษายน พ.ศ. 2440 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2508) หลังจากอภิเษกสมรสคือ เจ้าหญิงแมรี เคาน์เตสแห่งแฮร์วูด (Princess Mary, Countess of Harewood) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ และพระวรราชกุมารีพระองค์ที่หกตั้งแต่เริ่มใช้พระอิสริยยศนี้ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงในชั้นพระองค์เจ้าตั้งแต่แรกประสูติในฐานะพระราชปนัดดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และต่อมาในชั้นเจ้าฟ้าในฐานะพระราชนัดดาและพระราชธิดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และหลังจากการอภิเษกสมรสพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เคาน์เตสแห่งแฮร์วู.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด
เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์
้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์
เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
เจ้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์
้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์ (พระนามเดิม มารี คริสติน อันนา อักเนซ เฮดวิก อีดา ฟอน ไรบ์นิตซ์; ประสูติ 15 มกราคม พ.ศ. 2488) พระบรมวงศานุวงศ์พระราชวงศ์อังกฤษ พระชายาในเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ พระราชนัดดาในพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงไมเคิลแห่งเคนต์
เจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก
้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก (Princess Beatrice of York หรือ เบียทริซ เอลิซาเบท แมรี (Beatrice Elizabeth Mary (ประสูติ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กกับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เจ้าหญิงทรงอยู่ในอันดับที่แปดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และทรงเป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกที่ประสูติในพระราชวงศ์นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี ในปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก
เจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์
้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก เจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรีย หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย หลุยส์ โซเฟีย ออกัสตา อาเมเลีย เฮเลนา หรือพระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Princess Helena Victoria, พระอิสริยยศเดิม Princess Helena Victoria of Schleswig-Holstein; 3 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์
เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ
้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ (9 กันยายน พ.ศ. 2452 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2538) พระนามเดิม เซะสึโกะ มะสึไดระ เป็นพระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชายชิชิบุ พระราชโอรสในจักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีเทเม ทั้งนี้พระองค์เป็นพระประยูรญาติของเจ้านายหลายพระองค์ อาทิ เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ (ต่อมาคือจักรพรรดินีโคจุง) และเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ (ต่อมาคือเจ้าหญิงพังจา พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมิน) และยังเป็นหนึ่งในพระบรมวงศานุวงศ์ญี่ปุ่นที่พระราชวงศ์อังกฤษโปรดปราน โดยเฉพาะเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ออกพระโอษฐ์อยู่เสมอว่าเจ้าหญิงเซะสึโกะเป็น "พระอัยยิกาชาวญี่ปุ่น".
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ
เดมเลอร์ (รถยนต์)
มเลอร์ (ชื่อบริษัท: Daimler Motor Company) เป็นชื่อบริษัทผลิตรถยนต์ระดับหรูของสหราชอาณาจักร มีฐานการผลิตที่เมืองโคเวนทรี ในอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเดมเลอร์ (รถยนต์)
เดอะมอลล์ (ถนน)
มุมมองของถนนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้สู่พระราชวังบักกิงแฮม (พ.ศ. 2554) เดอะมอลล์ (The Mall) คือถนนสายหนึ่งในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร โดยเริ่มตั้งแต่พระราชวังบักกิงแฮมทางทิศตะวันตกเรื่อยไปถึงประตู แอดมีรัลตีอาร์ช (Admiralty Arch) ก่อนที่จะไปบรรจบกับถนนไวต์ฮอลที่จัตุรัสทราฟัลการ์ทางทิศตะวันออก นอกจากนี้ยังตัดผ่านถนนสปริงการ์เดนส์อันเคยเป็นที่ตั้งของสำนักแรงงานกรุงลอนดอนและสภาเมืองลอนดอนอีกด้วย ถนนเดอะมอลล์ปิดการจราจรทุกวันอาทิตย์, วันหยุดราชการ และวันงานพิธีสำคัญต่างๆ ของประเทศ เดอะมอลล์ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นถนนประกอบพิธีของรัฐในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่นเดียวกับถนนหลักในเมืองสำคัญอื่นๆ เช่น กรุงเบอร์ลิน, กรุงเม็กซิโกซิตี, กรุงออสโล, กรุงปารีส, กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, กรุงเวียนนา และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเดอะมอลล์ (ถนน)
เดอะแบงค์จ็อบ
อะแบงค์จ็อบ (The Bank Job, วีซีดีจำหน่ายในไทยใช้ชื่อว่า เปิดตำนาน "ปล้น" บันลือโลก) เป็นภาพยนตร์อังกฤษที่ออกฉายในปี..
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและเดอะแบงค์จ็อบ
12 พฤษภาคม
วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.
ดู ราชวงศ์สหราชอาณาจักรและ12 พฤษภาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อสมาชิกในราชวงศ์อังกฤษรายพระนามสมาชิกในราชวงศ์อังกฤษราชวงศ์อังกฤษพระราชวงศ์อังกฤษพระบรมราชวงศ์แห่งอังกฤษ