เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ดัชนี ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

สารบัญ

  1. 48 ความสัมพันธ์: ชาห์แห่งอิหร่านพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรักการรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียตการปฏิวัติอิหร่านการเยือนต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเลิกล้มราชาธิปไตยการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองรัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐหุ่นเชิดรัฐโลกวิสัยรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์เปอร์เซียรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่านรูฮุลลอฮ์ โคมัยนีวอยแต็กสมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสีกลุ่มชนอิหร่านผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวีซอรูเด ชาฮันชาฮี อีรานซาลามะตีเย ชาห์ประเทศบาห์เรนโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารีเพลงสรรเสริญพระบารมีเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2เจ้าชายแพทริค อาลี ปาห์ลาวีเจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตาเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่านเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงฟาราห์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่านเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงอีมาน ปาห์ลาวีเจ้าหญิงซาห์รา มาห์นาซ ซาเฮดีเจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวีเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงเฟาเซห์ จาฮันบานี

ชาห์แห่งอิหร่าน

มเด็จพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่าน หรือที่มักเรียกว่าพระเจ้าชาห์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองราชวงศ์ซาฟาวิดจนถึงราชวงศ์ปาห์ลาวี โดยระบอบจักรวรรดินับตั้งแต่ ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและชาห์แห่งอิหร่าน

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี (Rezā Ŝāh Pahlawi พระนามเดิม เรซา ข่าน (15 มีนาคม ค.ศ. 1878 – 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นชาห์แห่งจักรวรรดิเปอร์เซียThe Columbia Encyclopedia, 6th ed.: ตั้งแต่ 15 ธันวาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี

พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก

ระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก (الملك فيصل الثان, Al-Malik Fayṣal Ath-thānī) พระนามเต็ม อัลมะลิก ฟัยศ็อล อัษษานี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 - 14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก

การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต

การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต หรือ การบุกครองเปอร์เซียของบริเตนและสหภาพโซเวียต เป็นการรุกรานจักรวรรรดิเปอร์เซียระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โดยกองกำลังของสหภาพโซเวียต จักรวรรดิบริเตน และเครือจักรภพ การรุกรานได้กินเวลาตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม - 17 กันยายน ปี 1941 และมีการใช้รหัสนามว่า ปฏิบัติการ Countenance มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความปลอดภัยให้กับบ่อน้ำมันของอิหร่านและการรับประกันของสัมพันธมิตรในการสนับสนุนแก่สหภาพโซเวียตที่ได้สู้รบกับกองกำลังฝ่ายอักษะในแนวรบด้านตะวันออก แม้ว่าอิหร่านได้ตั้งตัวเป็นกลางไม่ยุ่งเกี่ยวสงคราม แต่ทางฝ่ายสัมพันธมิตรได้พิจารณาเห็นว่าพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ได้มีความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรต่อฝ่ายอักษะ จึงได้บีบบังคับให้สละราชบัลลังก์ในระหว่างการยึดครองและได้แต่งตั้งพระโอรสของพระองค์มาแทนที่คือพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและการรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต

การปฏิวัติอิหร่าน

การปฏิวัติอิหร่าน (หรือเรียก การปฏิวัติอิสลาม หรือการปฏิวัติ ค.ศ. 1979; เปอร์เซีย: انقلاب اسلامی, Enghelābe Eslāmi หรือ انقلاب بیست و دو بهمن) หมายถึง เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการโค่นราชวงศ์ปาห์ลาวีภายใต้พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา และการแทนที่ด้วยสาธารณรัฐอิสลามภายใต้รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ผู้นำการปฏิวัติ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์การฝ่ายซ้ายและอิสลามหลายแห่ง และขบวนการนักศึกษาอิหร่าน เริ่มการเดินขบวนต่อต้านชาห์ในเดือนตุลาคม 2520 พัฒนาเป็นการรณรงค์การดื้อแพ่งซึ่งมีทั้งภาคฆราวาสและศาสนา ซึ่งบานปลายในเดือนมกราคม 2521 ระหว่างเดือนสิงหาคมและธันวาคม 2521 การนัดหยุดงานและการเดินขบวนทำให้ประเทศเป็นอัมพาต ชาห์เสด็จออกนอกประเทศอิหร่านเพื่อลี้ภัยเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2522 เป็นพระมหากษัตริย์เปอร์เซียพระองค์สุดท้าย ปล่อยภาระหน้าที่ให้สภาผู้สำเร็จราชการและนายกรัฐมนตรีที่อิงฝ่ายค้าน รัฐบาลเชิญรูฮุลลอฮ์ โคมัยนีกลับประเทศอิหร่าน และกลับสู่กรุงเตหะรานซึ่งมีชาวอิหร่านหลายล้านคนรอต้อนรับ การทรงราชย์สิ้นสุดหลังวันที่ 11 กุมภาพันธ์ เมื่อกองโจรและทหารกบฏชนะกำลังซึ่งภักดีต่อชาห์ในการสู้รบด้วยอาวุธตามถนน นำให้โคมัยนีเถลิงอำนาจอย่างเป็นทางการ อิหร่านออกเสียงลงคะแนนการลงประชามติทั่วประเทศให้เป็นสาธารณรัฐอิสลามเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2522 และรับรองรัฐธรรมนูญเทวาธิปไตย-สาธารณรัฐนิยมฉบับใหม่Kurzman ซึ่งโคมัยนีกลายเป็นผู้นำสูงสุดของประเทศ ในเดือนธันวาคม 2522 การปฏิวัตินี้แปลกสำหรับความประหลาดใจที่สร้างไปทั่วโลก เพราะขาดสาเหตุการปฏิวัติดังที่เคยมีมา (เช่น แพ้สงคราม วิกฤตการณ์การเงิน กบฏชาวนาหรือกองทัพไม่พอใจ) เกิดในชาติที่มีความมั่งคั่งทางวัตถุและเจริญรุ่งเรืองค่อนข้างดี มีความเปลี่ยนแปลงลึกซึ้งด้วยความเร็ว เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางทำให้มีการลี้ภัยของชาวอิหร่านจำนวนมากKurzman, p.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและการปฏิวัติอิหร่าน

การเยือนต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ประเทศที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จเยือน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จเยือนประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ ประเทศแรกที่เสด็จอย่างเป็นทางการ คือ สาธารณรัฐเวียดนาม ระหว่างวันที่ 18–21 ธันวาคม 2502 และประเทศสุดท้าย คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่ 8–9 เมษายน 2537 การเสด็จเยือนต่างประเทศครั้งใหญ่ คือ การเสด็จพระราชดำเนินสหรัฐอเมริกาและประเทศในยุโรปรวม 14 ประเทศกับ 1 รัฐ ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 18 พฤศจิกายน 2503.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและการเยือนต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและการเลิกล้มราชาธิปไตย

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรัฐหุ่นเชิด

รัฐโลกวิสัย

รัฐโลกวิสัย หรือ รัฐฆราวาส (secular state) เป็นแนวคิดสืบเนื่องมาจากหลักฆราวาสนิยม (secularism) ที่ให้รัฐมีหรือแสดงความเป็นกลางในประเด็นทางศาสนา โดยไม่สนับสนุนทั้งศาสนาและการไม่มีศาสนา รัฐฆราวาสยังพึงปฏิบัติกับพลเมืองทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าเขาเหล่านั้นถือศาสนาใด ในการนี้ รัฐพึงเลี่ยงการให้ความสำคัญแก่พลเมืองเพราะถือหรือไม่ถือศาสนาใด รัฐฆราวาสไม่พึงมีศาสนาประจำรัฐ ถึงแม้ว่าการไม่มีศาสนาประจำรัฐจะไม่ได้หมายความว่ารัฐนั้นเป็นฆราวาสเต็มตัวก็ตาม อย่างไรก็ดี รัฐที่เป็นฆราวาสอย่างแท้จริงนั้นพึงดำเนินการปกครองบ้านเมืองโดยปราศจากอิทธิพลจากศาสนา และพึงให้องค์การศาสนาปกครองตนเองโดยปราศจากอิทธิพลของรัฐ ตามหลักการแยกศาสนจักรกับอาณาจักร.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรัฐโลกวิสัย

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย

นี่คือ รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนี.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย

รายพระนามพระมหากษัตริย์เปอร์เซีย

แผนที่รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ (c. 850).

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรายพระนามพระมหากษัตริย์เปอร์เซีย

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่าน

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่าน

รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี

อายะตุลลอฮ์ รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี (เปอร์เซีย:; อังกฤษ: Ruhollah Khomeini) (24 กันยายน ค.ศ. 1902 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1989) อดีตผู้นำสูงสุดแห่งอิหร่าน ผู้ทำการล้มล้างอำนาจของพระเจ้าชาร์มูฮัมหมัด เรซา ปาฮ์เลวี ของอิหร่านซึ่งได้รับการสนับสนุนจากประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและรูฮุลลอฮ์ โคมัยนี

วอยแต็ก

รื่องหมายหน่วยของทหารขนส่งที่ 22 โปแลนด์ เป็นภาพวอยแต็กกำลังแบกกระสุนปืนใหญ่ วอยแต็ก (Wojtek,, แปล: นักรบยิ้ม) เป็นหมีซีเรียสีน้ำตาล ที่เข้าประจำการเป็นทหารของสาธารณรัฐโปแลนด์ ติดยศสิบโทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและวอยแต็ก

สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก

มเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก อัยรุมลู (เปอร์เซีย:تاج‌الملوک, พระราชสมภพ 17 มีนาคม ค.ศ. 1896 ณ บากู จักรวรรดิรัสเซีย - สวรรคต 10 มีนาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและสมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

สีกลุ่มชนอิหร่าน

ีกลุ่มชนอิหร่าน (Pan-Iranian colors) เป็นสีที่ใช้ในธงของประเทศหรือดินแดนที่มีกลุ่มชนอิหร่านอาศัยอยู่ ประกอบด้วยสีเขียว ขาว และแดง โดยธงของราชวงศ์กอญัรเป็นธงชนิดแรกที่ใช้สีกลุ่มชนอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและสีกลุ่มชนอิหร่าน

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (شهبانو فرح پهلوی) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี

วามทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี (ISBN 1-4013-5961-2) เป็นผลงานการประพันธ์ของฟาราห์ ปาห์ลาวี อดีตพระจักรพรรดินีแห่งอิหร่าน ที่ได้รวบรวมเรื่องราวในความทรงจำของเธอตั้งแต่ยังเด็ก และเป็นนักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ เมื่ออายุ 21 ปี ชีวิตของเธอได้พลิกผันเมื่อได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เธอจึงกลายเป็นจักรพรรดินีแห่งประเทศอิหร่าน แต่ต่อมาอีก 20 ปีให้หลัง ชีวิตของเธอก็เปลี่ยนแปลงอีกครั้งแต่เป็นชีวิตที่พลิกผันเหมือนฝันร้าย เมื่อระบอบราชาธิปไตยในอิหร่านล่มสลาย พระเจ้าชาห์และพระองค์ต้องเสด็จลี้ภัยไปตามประเทศต่างๆ จนพระสวามีได้เสด็จสวรรคตที่ประเทศอียิปต์ โดยการประพันธ์ของฟาราห์ ปาห์ลาวีชิ้นนี้ ได้เปิดเผยเรื่องราวความรักความผูกพันของเธอ ที่มีต่อพระราชสวามีและประเทศอิหร่านเป็นครั้งแรก และถือเป็นเรื่องราวการประพันธ์ของพระองค์ที่น่าประทับใจเป็นอย่างยิ่ง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี

ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน

ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน (سرود شاهنشاهی ایران) เป็นชื่อของเพลงชาติของประเทศอิหร่าน (เปอร์เซีย) ในสมัยของราชวงศ์ปาห์ลาวี เริ่มใช้ในปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน

ซาลามะตีเย ชาห์

ซาลามะตีเย ชาห์ (سلامتی شاه, Salamati-ye Shah) มีความหมายว่า "ขอให้พระเจ้าชาห์จงเจริญ" เป็นชื่อของเพลงซึ่งถือกันว่าเป็นเพลงชาติเพลงแรกสุดของประเทศอิหร่าน (ขณะนั้นยังเรียกว่าประเทศเปอร์เซีย) เพลงนี้เริ่มมีขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชาห์โมซซัฟฟาร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร แห่งราชวงศ์กอญัร (ครองราชย์ ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและซาลามะตีเย ชาห์

ประเทศบาห์เรน

ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและประเทศบาห์เรน

โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี

้าหญิงโซรยาแห่งอิหร่าน พระนามเดิม โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี (ثریا اسفندیاری بختیاری, UniPers: Sorayâ Asfandiyâri-Bakhtiyâri; 22 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี

เพลงสรรเสริญพระบารมี

ำว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) โดยการแปลเทียบเคียงจากชื่อเพลงสรรเสริญพระบารมีของไทย (แปลตามตัวว่า เพลงยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์) เพลงชนิดนี้เป็นเพลงปลุกใจชนิดหนึ่ง โดยมากจะคล้ายคลึงกับเพลงชาติ แต่มักใช้กับบรรดาพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เนื้อหาของเพลงมักเป็นไปในทางถวายพระพรแด่สถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงประเภทนี้นิยมบรรเลงในยามที่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เสด็จออกในที่สาธารณะ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในที่ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวาระโอกาสสำคัญของพระราชวงศ์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี เป็นต้น.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเพลงสรรเสริญพระบารมี

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1

้าชายอาลี เรซาที่ 1 ปาห์ลาวี (1 มีนาคม ค.ศ. 1922 - 17 ตุลาคม ค.ศ. 1954) พระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก ในอดีตพระองค์เป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์อิหร่านพระองค์หนึ่ง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2

้าชายอาลี เรซาที่ 2 ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:رضا پهلوی, ประสูติ 28 เมษายน ค.ศ. 1966 - 4 มกราคม ค.ศ. 2011) พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวีและอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2

เจ้าชายแพทริค อาลี ปาห์ลาวี

ระองค์ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาทลำดับที่ 1 ในการสืบราชบัลลังก์ แทนที่เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน เนื่องจากทรงเสกสมรสกับสตรีต่างชาติ แต่ถึงอย่างไรก็ตามประเทศอิหร่านได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ยังทรงให้องค์มกุฎราชกุมารเป็นผู้อ้างสิทธิราชบัลลังก์ลำดับที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าชายแพทริค อาลี ปาห์ลาวี

เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา

้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา (His Royal Highness Prince Prince Aimone, Duke of Aosta) เป็นพระโอรสใน เจ้าชายแอลมานุแอล ดยุกแห่งโอสตา และ เจ้าหญิงเฮเลนาแห่งออเลล็อง ทรงอภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงไอรีน ดัชเชสแห่งโอสตา ทรงเป็นพระราชชามาดา ใน สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ กับ เจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย หลังจากพระบิดาของพระองค์สิ้นพระชนม์ พระองค์จึงสืบพระอิสริยยศเป็น ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา ทรงมีพระโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ เจ้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งโอสตา ทรงเป็นพระอัยกา(ปู่) ใน เจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลี.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา

เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน

้าชายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน (رضا پهلوی, ปัจจุบันคือ นายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี, พระราชสมภพ 31 ตุลาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน

เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:شمس پهلوی, ประสูติ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - สิ้นพระชนม์ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก และเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี

้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี (شهناز پهلوی, ประสูติ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2483) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์แห่งอิหร่าน กับพระมเหสีองค์แรกคือเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ อดีตราชินีแห่งอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงฟาราห์ ปาห์ลาวี

้าหญิงฟาราห์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: شاهبانو فرح) (ประสูติ 17 มกราคม พ.ศ. 2547-) เป็นพระธิดาในเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน กับเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน ซึ่งเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศอิหร่าน ต่อจากพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ผู้เป็นพระอัยกาของเจ้าหญิง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงฟาราห์ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี

้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี (ประสูติ 12 มีนาคม พ.ศ. 2506-) พระราชธิดาพระองค์กลางในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และประเทศอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน

้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน (พระนามเดิม: อาเตมัด-อามินี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2511; یاسمین پهلوی) เป็นพระชายาในเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน มกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของอดีตจักรวรรดิอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน

เจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี

้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี (اشرف پهلوی Ashraf Pahlavī; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2462 — 7 มกราคม พ.ศ. 2559) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก และเป็นพระขนิษฐาฝาแฝดของพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงอีมาน ปาห์ลาวี

้าหญิงอีมาน ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: ایمان پهلوی) (ประสูติ 12 กันยายน ค.ศ. 1993-) เป็นพระธิดาในเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน กับเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน ซึ่งเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศอิหร่าน ต่อจากพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ผู้เป็นพระอัยกาของเจ้าหญิง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงอีมาน ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงซาห์รา มาห์นาซ ซาเฮดี

้าหญิงซาห์รา มาห์นาซ ซาเฮดี (H.H. Princess Zahra Mahnaz Zahedi) (ประสูติ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2501-) เป็นพระธิดาของนายอาร์เดชีร์ ซาเฮดี (اردشیر زاهدی,Ardeshir Zahedi) ที่ประสูติแด่เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงซาห์รา มาห์นาซ ซาเฮดี

เจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี

้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:نور پهلوی) (ประสูติ 3 เมษายน ค.ศ. 1992-) เป็นพระธิดาในเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน กับเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน ซึ่งเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศอิหร่าน ต่อจากพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ผู้เป็นพระอัยกาของเจ้าหญิง.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี

้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:لیلا پهلوی, ประสูติ 27 มีนาคม ค.ศ. 1970 - สิ้นพระชนม์ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2001) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (فوزية بنت فؤاد الأول.; فوزیه فؤاد; ประสูติ: 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์: 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2013) เจ้าหญิงแห่งอียิปต์และอดีตสมเด็จพระราชินีในโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์อิหร่าน หลังจากการเสกสมรสอีกครั้งใน..

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

เจ้าหญิงเฟาเซห์ จาฮันบานี

้าหญิงเฟาเซห์ จาฮันบานี (Princess Fouzieh Djahanbani) (ประสูติ พ.ศ. 2517-) เป็นพระธิดาของนายโควสลอว์ จาฮันบานี (Khosrow Jahanbani) กับเจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต.

ดู ราชวงศ์ปาห์ลาวีและเจ้าหญิงเฟาเซห์ จาฮันบานี

หรือที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิอิหร่าน