สารบัญ
33 ความสัมพันธ์: การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลรายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์กรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์กรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรียประเทศลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายชาลส์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายเลียมแห่งนัสเซาเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงมารี กาบรีแยลแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงมารี แอดิเลดแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซาเจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญเจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กเครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎโอ๊ค
การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์
250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์
รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล
นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล ซึ่งเรียงลำดับพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย์ 60 ปีขึ้นไปตามรัชกาล.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล
รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก
รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก รายพระนามนี้รวมถึงบุคคลทุกคนที่ได้รับการพิจารณาว่าจะได้รับมรดกสืบราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์ก หรือ แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก ไม่ว่าจะเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานนับตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งลักเซมเบิร์กในวันที่ 15 มีนาคม..
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและรายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดน
ู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดน จะดำรงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน" ในช่วงแรกสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนจะเป็นเพียงตำนาน ดังนั้นจนกระทั่งถึงราว..
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดน
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก
รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก
ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก
อาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย-อัสตริสแห่งออสเตรีย (เดิม:เจ้าหญิงมาเรีย-อัสตริสแห่งลักเซมเบิร์ก) ทรงเป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเบียม และ สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระมารดา พระองค์ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เสกสมรสกับ อาร์ชดยุกคาร์ล-คริสเตียนแห่งออสเตรีย มีพระบุตร 4 พระอง.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย
ประเทศลักเซมเบิร์ก
ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและประเทศลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก (22 เมษายน พ.ศ. 2395 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455) ทรงดำรงเป็นแกรนด์ดยุคผู้ปกครองแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์กตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน..
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์ก (Adolphe, Grand Duke of Luxembourg) (24 กรกฎาคม 1817 - 17 พฤศจิกายน 1905) เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์กพระองค์แรกจากราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บวร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์ก (16 เมษายน พ.ศ. 2498-) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในแกรนด์ดยุกฌ็องและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม เป็นพระภาคิไนยใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก (5 มกราคม พ.ศ. 2464 -) (พระนามเดิม: ฌอง เบอร์นอย กีโยม โรเบิร์ต แอนโตน หลุยส์ มารี อดอล์ฟ มาร์ก เดอ อาเวียโน) ทรงปกครองลักเซมเบิร์กตั้งแต..
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก (Charlotte, Grand Duchess of Luxembourg, พระนามเต็ม ชาร์ล็อต อเดลก็อนเด เอลิซ มารี วิลเฮลมีน; 23 มกราคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก (พระนามเดิม มาเรีย เตเรซา เมสเตร อี บาติสตา-ฟายา: พระราชสมภพ 22 มีนาคม พ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายชาลส์แห่งลักเซมเบิร์ก
้าชายชาลส์แห่งลักเซมเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายชาลส์แห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกกีโยม ฌ็อง โฌเซฟ มารี รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524-) รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก ตั้งแต่พระบิดาทรงครองราชสมบัติในปีพ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก
้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เป็นพระอนุชาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระราชมารดา พระองค์เสกสมรสกับ นางสาวซิบิลลา ซานดรา วอลเลอร์ ทอรโลเนีย พระนัดดาใน เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน และเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน รับพระราชทานพระอิสริยยศ เจ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 3 พระอง.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก
้าชายหลุยส์ กซาวีเย มารี กีโยม แห่งลักเซมเบิร์ก (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) เป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กกับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก นอกจากทรงเป็นเจ้าชายแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นเจ้าชายแห่งนัสเซา พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือซาเวียร์ ซานส์และเจ้าหญิงมาร์กาเรทาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายหลุยส์มีพระเชษฐา 2 พระองค์คือเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก มีพระกนิษฐาและพระอนุชารวม 2 พระองค์คือ เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์อภิเษกสมรสกับเทสซี แอนโทนี ทั้งคู่มีพระโอรส 2 พระองค์คือ เจ้าชายกาเบรียลแห่งนัสเซา และเจ้าชายโนอาห์แห่งนัสเซา พระองค์ทรงศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์กและโรงเรียนอัลปินนานาชาติโบโซริลที่สวิตเซอร์แลน.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก
้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระโอรสในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระอนุชาในแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเสกสมรสกับนางสาวไดอานา มารี อัมเลต เออร์นีเกล เดอ กลอเรีย (ภายหลัง เคาน์เตสแห่งนัสเซา) มีโอรส-ธิดารวม 4 อง.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก
้าชายเฟลิกซ์ เลโอโปลด์ มารี กีโยม แห่งลักเซมเบิร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ในกรุงลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 2 ในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กกับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก นอกจากทรงเป็นเจ้าชายแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นเจ้าชายแห่งนัสเซา พระองค์มีพระบิดาและมารดาอุปถัมภ์คือ เจ้าชายฌองแห่งลักเซมเบิร์กและคาทาลีนา เมสตร์ พระองค์มีพระนามเดียวกับพระปัยกาคือ เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา พระองค์มีพระเชษฐา 1 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก พระอนุชาและพระกนิษฐารวม 3 พระองค์คือ เจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก,เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบาสเตียนแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สนพระทัยในกีฬาโปโล,สกีและงานช่างไม้ มักทรงเป็นตัวแทนของราชวงศ์ไปแข่งขันกีฬาต่างๆ พระองค์ทรงศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์กและโรงเรียนอัลปินนานาชาติโบโซริลที่สวิตเซอร์แลนด์ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำ ปัจจุบันพระองค์ทรงทำงานสาธารณะการบริหารคณะกรรมการเอสเอของบริษัทสวิส ในเดือนมิถุนายน..
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายเลียมแห่งนัสเซา
้าชายเลียมแห่งนัสเซา เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก กับ เจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระนัดดาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก เมื่อแรกประสูติ ทรงมีพระอิสริยยศที่ เจ้าชายแห่งนัสเซา เช่นพระภคินี คือ เจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายเลียมแห่งนัสเซา
เจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก
้าฟ้าชายเซบัสเตียง อ็องรี มารี กีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก (ประสูติ 16 เมษายน พ.ศ. 2535 ลักเซมเบิร์ก) พระบุตรองค์ที่ 5 และองค์เล็กในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก กับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก กับอาร์คดัชเชสแอสตริดแห่งออสเตรีย-เอสต์ เจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม พระองค์มีพระเชษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก, เจ้าฟ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระเชษฐภคินี 1 พระองค์คือ เจ้าฟ้าหญิงอเล็กซันดราแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ทรงอยู่ในลำดับ 3 ของการสืบราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์ก หลังจากเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระเชษฐาทรงออกจากการสืบราชสันตติวงศ์ พระองค์ทรงเข้ารับการศึกษาที่ โรงเรียนนานาชาติเซนต์จอร์จ ลักเซมเบิร์ก และได้เข้าวิทยาลัยแอมเพิลฟอร์ธ ปัจจุบันศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงมารี กาบรีแยลแห่งลักเซมเบิร์ก
้าหญิงมารี กาเบรียล เจ้าหญิงพระมารดาและเคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก เป็นพระธิดาใน แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก กับ เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เป็นพระขนิษฐาใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระมาตุจฉาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สมรสกับ คนุดที่ 7 เคานท์แห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระชายา และเคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก มีพระบุตร 8 พระองค์ ต่อมาพระสวามีสิ้นพระชนม์ พระธิดาพระองค์ใหญ่สืบพระอิสริยยศเป็น โมนิคที่ 8 เคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระมารดาและเคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงมารี กาบรีแยลแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงมารี แอดิเลดแห่งลักเซมเบิร์ก
้าหญิงมารี แอดิเลดแห่งลักเซมเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงมารี แอดิเลดแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (Erbgroßherzogin Stéphanie von Luxemburg; La princesse Stéphanie, grande-duchesse héritière de Luxembourg) พระนามเดิม เคาน์เตสสเตฟานี มารี โกลดีน คริสตีน เดอ ล็องนัว (Stéphanie Marie Claudine Christine gravin de Lannoy; La comtesse Stéphanie Marie Claudine Christine de Lannoy, ประสูติ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงสเตฟานี แกรนด์ดัชเชสรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซา
้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซา เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก กับ เจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระนัดดาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก เมื่อแรกประสูติ ทรงมีพระอิสริยยศที่ เจ้าหญิงแห่งนัสเซา พระองค์ทรงมีพระอนุชา 1 พระองค์ คือ เจ้าชายเลียมแห่งลักเซมเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซา
เจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญ
้าหญิงอาลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงพระมารดาแห่งลีญ เป็นพระธิดาในแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก กับเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เป็นพระขนิษฐาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระมาตุจฉาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สมรสกับ อ็องตวน เจ้าชายที่ 13 แห่งลีญ พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระชายาแห่งลีญ มีพระบุตร 7 พระองค์ ต่อมาพระสวามีสิ้นพระชนม์ พระโอรสพระองค์ใหญ่สืบพระอิสริยยศเป็นมีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระมารดาแห่งลีญ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญ
เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์ก
้าฟ้าหญิงอเล็กซันดรา โฌเซฟิน เทเรซา ชาล็อต มารี วิลเฮลมินแห่งลักเซมเบิร์ก (ประสูติ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) พระบุตรองค์ที่ 4 และพระธิดาพระองค์เดียวในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก และแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก พระบิดามารดาอุปถัมภ์คือ มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญและเจ้าหญิงมาเรีย-แอนนา กาลิตท์ซิน อาร์คดัสเชสแห่งออสเตรีย พระองค์มีพระยศชั้นเจ้าฟ้าหญิง พระอิสริยยศ เจ้าฟ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าฟ้าหญิงแห่งนัสเซา เจ้าหญิงอเล็กซันดรามีพระเชษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก, เจ้าฟ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระอนุชา 1 พระองค์คือ เจ้าฟ้าชายเซบาสเตียนแห่งลักเซมเบิร์ก เนื่องจากพระนางทรงเป็นสตรีจึงไม่มีสิทธิในราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์กจนกว่าจะหมดรัชทายาทบุรุษ ถึงแม้ว่าพระปัยยิกาของเจ้าหญิงอเล็กซันดราจะทรงได้ครองราชย์เป็น แกรนด์ดัสเชสแห่งลักเซมเบิร์ก ซึ่งถูกต้องตามกฎบัตรซาลลิก โดยทางพระบิดาของพระนาง เจ้าหญิงอเล็กซานดรามีความเกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์ซึ่งครองราชย์ปัจจุบันในยุโรป เจ้าหญิงอเล็กซันดราเป็นพระมารดาอุปถัมภ์ในเจ้าฟ้าชายกาเบรียลแห่งนัสเซา พระโอรสพระองค์แรกในเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก กับเจ้าฟ้าหญิงเทสซีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงอเล็กซานดราทรงได้รับ the Order of the Gold Lion แห่งราชวงศ์นัสเซา ในวันที่ 23 มิถุนายน..
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งลักเซมเบิร์ก
้าหญิงซิบิลลาแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นธิดาในดอนนา โอลิมเปีย เอ็มมานูเอลลา เอ็นริเค็ตตา มาเรีย ตอร์โลเนีย เด ปรินชิปี ดี ซีวีเตลลา-เชซี และนายพอล พระองค์เป็นพระนัดดาใน เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน กับ อเลสซานโดร ตอร์โลเนีย เจ้าชายที่ 5 แห่งซีวีเตลลา-เชซี และเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน ผ่านทางสายพระมารดา พระองค์เสกสมรสกับ เจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 3 พระอง.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก
้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระชายาใน เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ประสูติที่ ประเทศเยอรมนี พระองค์และพระสวามี มีพระโอรส-ธิดารวม 2 พระองค์ ซึ่งพระบุตรของพระองค์ ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าชาย/เจ้าหญิงแห่งนัสเซ.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก
้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก
เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎโอ๊ค
รื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฏโอ๊ค (Eechelaafkrounenuerden; Ordre de la couronne de Chêne; Eichenlaubkronenorden) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ คือเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของลักเซมเบิร์ก.
ดู ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กและเครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎโอ๊ค
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Count of Nassau-WeilburgHouse of Nassau-WeilburgNassau-Weilburgตระกูลนาซอ-ไวล์บวร์กนาซอ-ไวล์บวร์กเคานท์แห่งนาซอ-ไวล์บวร์ก