เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ดัชนี ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

สารบัญ

  1. 185 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ ชุนชิฟุจิวะระ โนะ สึเนะโกะฟุจิวะระ โนะ อะริโกะฟุจิวะระ โนะ อิชิ (จักรพรรดิโฮะริกะวะ)ฟุจิวะระ โนะ ทะชิฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะฟุจิวะระ โนะ คิสึชิฟุจิวะระ โนะ นะริโกะฟุจิวะระ โนะ โชชิฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (จักรพรรดิชิระกะวะ)ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (จักรพรรดิซังโจ)พิพิธภัณฑ์ของสะสมในพระองค์กองทัพแดงญี่ปุ่นการสังหารหมู่นานกิงการเลิกล้มราชาธิปไตยมาซาโกะ เซ็งราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศราชวงศ์รายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่นสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะสำนักพระราชวังญี่ปุ่นอากิตะ (เมือง)อี พัง-จาฮิซะชิ โอะวะดะจักรพรรดิชิระกะวะจักรพรรดิบิดะสึจักรพรรดิบุเระสึจักรพรรดิชูไอจักรพรรดิมมมุจักรพรรดิมนโตะกุจักรพรรดิยูเรียะกุจักรพรรดิสึจิมิกาโดะจักรพรรดิอังกังจักรพรรดิอังโกจักรพรรดิอันโตะกุจักรพรรดิอิงเงียวจักรพรรดิอิโตะกุจักรพรรดิอุดะจักรพรรดิฮะนะโซะโนะจักรพรรดิฮันเซจักรพรรดิฮิงะชิยะมะจักรพรรดิจิมมุจักรพรรดิจุนนะจักรพรรดิจุนนิงจักรพรรดิคัมมุจักรพรรดิคิมเมจักรพรรดิซะกุระมะชิจักรพรรดิซะงะจักรพรรดิซุชุง... ขยายดัชนี (135 มากกว่า) »

ฟุจิวะระ โนะ ชุนชิ

ฟุจิวะระ โนะ ชุนชิ (1752 – 1776) จักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นโดยเป็นจักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-โฮะริกะวะ และเป็นพระราชมารดาของ จักรพรร.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ ชุนชิ

ฟุจิวะระ โนะ สึเนะโกะ

ฟุจิวะระ โนะ สึเนะโกะ (Fujiwara no Tsuneko) จักรพรรดินีใน จักรพรรดินินโก จักรพรรดิองค์ที่ 120 และเป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดิโคเม จักรพรรดิองค์ที่ 122 หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:ราชวงศ์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ สึเนะโกะ

ฟุจิวะระ โนะ อะริโกะ

ฟุจิวะระ โนะ อะริโกะ (1750 – 2 มีนาคม 1829) จักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นโดยเป็นจักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-โฮะริกะว.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ อะริโกะ

ฟุจิวะระ โนะ อิชิ (จักรพรรดิโฮะริกะวะ)

ฟุจิวะระ โนะ อิชิ (1619 – 5 มีนาคม 1646) พระสนมและพระราชมารดาในจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นโดยเป็นพระสนมใน จักรพรรดิโฮะริกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 73 และเป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดิโทะบะ จักรพรรดิองค์ที่ 74 หลังจากประสูติจักรพรรดิโทะบะได้ไม่นานพระสนมอิชิก็สิ้นพระชนม์ เมื่อจักรพรรดิโทะบะขึ้นสืบราชบัลลังก์ใน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ อิชิ (จักรพรรดิโฮะริกะวะ)

ฟุจิวะระ โนะ ทะชิ

ฟุจิวะระ โนะ ทะชิ (1683 – 19 มกราคม 1745) จักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นซึ่งในครั้งแรกพระองค์เป็น จักรพรรดินีรอง หรือ โคโง (Kōgō) ใน จักรพรรดิโคะโนะเอะ กระทั่งครั้งที่ 2 พระองค์ได้มาเป็นจักรพรรดินีใน จักรพรรดินิโจ ทำให้พระองค์ถูกเรียกว่า จักรพรรดินี 2 รุ่น โดยพระองค์เป็นธิดาบุญธรรมของ ฟุจิวะระ โนะ โยะรินะงะ ขุนนางที่กำลังเรืองอำนาจในราชสำนักขณะนั้น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ ทะชิ

ฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะ

ฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะ (Fujiwara no Tamako) จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโทะบะ จักรพรรดิองค์ที่ 74 และเป็นพระราชมารดาของ จักรพรรดิซุโตะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 75 และ จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ ทะมะโกะ

ฟุจิวะระ โนะ คิสึชิ

ฟุจิวะระ โนะ คิสึชิ (Fujiwara no Kitsushi) จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-ซะงะ จักรพรรดิองค์ที่ 88 และเป็นพระราชมารดาของจักรพรรดิถึง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะ จักรพรรดิองค์ที่ 89 และ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 90.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ คิสึชิ

ฟุจิวะระ โนะ นะริโกะ

ฟุจิวะระ โนะ นะริโกะ (Fujiwara no Nariko, 1660 - 1703) จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโทะบะ จักรพรรดิองค์ที่ 74 และเป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดิโคะโนะเอะ จักรพรรดิองค์ที่ 76 จักรพรรดินีนะริโกะประสูติเมื่อ พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ นะริโกะ

ฟุจิวะระ โนะ โชชิ

ฟุจิวะระ โนะ โชชิ (1761 – 9 มีนาคม 1818) จักรพรรดินีแห่งจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยเป็นจักรพรรดินีหรือ ชูงู ใน จักรพรรดิโกะ-โฮะริกะว.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ โชชิ

ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (จักรพรรดิชิระกะวะ)

ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (1600 – 24 ตุลาคม 1627) จักรพรรดินีใน จักรพรรดิชิระกะวะ โดยพระนางเป็นธิดาของ มินะโมะโตะ โนะ อะคิฟุซะ และถูกยกให้เป็นลูกบุญธรรมของ ฟุจิวะระ โนะ โมะโระซะเนะ ฟุจิวะระ โนะ เคนชิเป็นพระราชมารดาของ จักรพรรดิโฮะริกะวะ หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (จักรพรรดิชิระกะวะ)

ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (จักรพรรดิซังโจ)

ฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (1537 – 16 ตุลาคม 1570) จักรพรรดินีแห่งจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยพระองค์เป็นจักรพรรดินีลำดับที่ 2 หรือ ชูงู ใน จักรพรรดิซังโจ และเป็นพระมารดาของ เจ้าหญิงเทชิ จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ และเป็นพระราชมารดาของ จักรพรรดิโกะ-ซังโจ หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฟุจิวะระ โนะ เคนชิ (จักรพรรดิซังโจ)

พิพิธภัณฑ์ของสะสมในพระองค์

ัณฑ์ของสะสมในพระองค์ (Museum of the Imperial Collections) เป็นพิพิธภัณฑ์เก็บรวบรวมของสะสมในสมเด็จพระจักรพรรดิและราชวงศ์ญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณพระราชอุทยานฝั่งตะวันออกของพระราชวังหลวงโตเกียว ไม่มีค่าเข้าชม ระหว่างการเปลี่ยนช่วงรัชสมัยโชวะเป็นเฮเซได้เกิดความคิดที่จะจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ของสะสมในพระองค์ขึ้นมา ในปี 1989 ราชวงศ์ญี่ปุ่นได้บริจาคสมบัติราว 6,000 ชิ้นแก่รัฐบาลญี่ปุ่นในปีนั้น ผลงานจำนวนมากเป็นฝีมือของศิลปินหลวงในพระราชสำนัก พิพิธภัณฑ์ได้ถูกก่อสร้างและเริ่มเปิดดำเนินการในปี 1993 ซึ่งต่อมา พิพิธภัณฑ์ก็ได้ถูกเติมเต็มด้วยการบริจาคของสมาชิกราชวงศ์อย่าง เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ ในปี 1996 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง พระพันปีหลวง ในปี 2001.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและพิพิธภัณฑ์ของสะสมในพระองค์

กองทัพแดงญี่ปุ่น

กองทัพแดงญี่ปุ่น (Japanese Red Army, JRA; 日本赤軍, โรมะจิ: Nihon Sekigun) เป็นกลุ่มปฏิบัติการข้ามชาติที่ก่อตั้งตั้งแต่พ.ศ. 2513 โดยแยกตัวออกมาจากสันนิบาตคอมมิวนิสต์มีจุดมุ่งหมายเพื่อโค่นล้มราชวงศ์ญี่ปุ่น เครือข่ายของกลุ่มได้แพร่หลายอยู่ในหลายประเทศในเอเชีย เชื่อกันว่าฐานที่มั่นอยู่ในประเทศเลบานอนตั้งแต่พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและกองทัพแดงญี่ปุ่น

การสังหารหมู่นานกิง

การสังหารหมู่นานกิง (Nanking Massacre หรือ Nanjing Massacre) หรือรู้จักกันในนามการข่มขืนนานกิง (Rape of Nanking) เป็นการสังหารหมู่และการข่มขืนยามสงคราม (war rape) ซึ่งเกิดขึ้นเป็นเวลาหกสัปดาห์หลังญี่ปุ่นยึดนครนานกิง อดีตเมืองหลวงของสาธารณรัฐจีน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 1937 ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ในช่วงนี้ พลเรือนและทหารจีนที่ถูกปลดอาวุธหลายแสนคนถูกทหารกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นฆ่าTotten, Samuel.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและการสังหารหมู่นานกิง

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและการเลิกล้มราชาธิปไตย

มาซาโกะ เซ็ง

มะซะโกะ เซ็ง หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงมะซะโกะแห่งมิกะซะ เป็นอดีตสมาชิกของราชวงศ์ญี่ปุ่น มะซะโกะเป็นพระธิดาในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ กับ เจ้าหญิงยุริโกะ พระวรชายามิกะซะ มะซะโกะ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับ ทะซะยุกิ เซ็ง มีบุตรชาย 2 คนและธิดา 1 คนคือ อะกิฟุมิ เซ็ง ทะกะฟุมิ เซ็ง และมะกิโกะ เซ็ง.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและมาซาโกะ เซ็ง

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศหรือ '''ทะกะมิกุระ''' ในท้องพระโรง '''ชิชินเด็น''' ที่พระราชวังหลวงเคียวโตะ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ (Chrysanthemum Throne) ราชบัลลังก์ที่ใช้ประกอบ พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ท้องพระโรง ชิชินเด็น ในพระราชวังหลวงเคียวโตะ โดยจักรพรรดิพระองค์ล่าสุดที่ได้ประทับบนราชบัลลังก์นี้คือจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ในคราวพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและราชวงศ์

รายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่น

ักรพรรดินีญี่ปุ่น คือพระอิสริยยศของอิสตรีผู้ครองราชย์เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่น และอาจหมายถึงจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยจักรพรรดินีอัครมเหสีในรัชกาลปัจจุบันคือจักรพรรดินีมิชิโกะในจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและรายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่น

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

มเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ (20 ตุลาคม พ.ศ. 2477) มีพระนามเดิมว่า มิชิโกะ โชดะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เข้าสู่พระราชวงศ์จากการเสกสมรสกับเจ้าชายอะกิฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น มิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารี ครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคต มกุฎราชกุมารอะกิฮิโตะจึงสืบราชสมบัติเป็นจักรพรรดิ และมกุฎราชกุมารีมิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินี ตามลำดั.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

สำนักพระราชวังญี่ปุ่น

ำนักพระราชวังหลวง (Imperial Household Agency) เป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐบาลญี่ปุ่น รับผิดชอบในกิจการของรัฐอันเกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และยังเป็นผู้เก็บรักษาตราพระราชลัญจกร และ รัฐลัญจกร ทั้งนี้ ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง หน่วยงานนี้ใช้ชื่อว่า กระทรวงพระราชสำนัก (宮内省) หน่วยงานนี้แตกต่างไปจากหน่วยงานอื่นของรัฐ ตรงที่กิจการของหน่วยงานนี้จะไม่รายงานโดยตรงต่อนายกรัฐมนตรีในระดับคณะรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผลมาจากการตรากฎหมายให้หน่วยงานนี้เป็นหน่วยบริหารอิสร.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและสำนักพระราชวังญี่ปุ่น

อากิตะ (เมือง)

นครอากิตะ เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดอากิตะ ประเทศญี่ปุ่น ได้รับการยกฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางตั้งแต่ 1 เมษายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและอากิตะ (เมือง)

อี พัง-จา

อี พัง-จา หรือ ริ มะซะโกะ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 30 เมษายน พ.ศ. 2532) มีพระนามเมื่อครั้งเป็นเจ้าในญี่ปุ่นว่า เจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมินแห่งเกาหลี เดิมทั้งสองพระองค์มีสิทธิ์ในการสืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี หากแต่เกิดการล้มล้างการปกครองสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี ในปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและอี พัง-จา

ฮิซะชิ โอะวะดะ

ซะชิ โอะวะดะ (เกิด 18 กันยายน ค.ศ. 1932) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวญี่ปุ่น และตุลาการศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นพระสสุระในมกุฎราชกุมารญี่ปุ่นองค์ปัจจุบัน.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและฮิซะชิ โอะวะดะ

จักรพรรดิชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิชิระกะวะ

จักรพรรดิบิดะสึ

ักรพรรดิบิดะสึ (敏達天皇) (พ.ศ. 1115 – พ.ศ. 1128) จักรพรรดิองค์ที่ 30 ของประเทศญี่ปุ่นImperial Household Agency (Kunaichō),; retrieved 2013-1-31.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิบิดะสึ

จักรพรรดิบุเระสึ

ักรพรรดิบุเระสึ (Emperor Buretsu) จักรพรรดิองค์ที่ 25 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 2 กันยายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิบุเระสึ

จักรพรรดิชูไอ

ักรพรรดิชูไอ (Emperor Chūai) จักรพรรดิองค์ที่ 14 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 11 กุมภาพัน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิชูไอ

จักรพรรดิมมมุ

ักรพรรดิมมมุ จักรพรรดิองค์ที่ 42 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิมมมุครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิมมมุ

จักรพรรดิมนโตะกุ

ักรพรรดิมนโตะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 55 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิมนโตะกุ

จักรพรรดิยูเรียะกุ

ักรพรรดิยูเรียะกุ (Emperor Yūryaku) จักรพรรดิองค์ที่ 21 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 24 กันยายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิยูเรียะกุ

จักรพรรดิสึจิมิกาโดะ

ักรพรรดิสึจิมิกาโดะ (Tsuchimikado 3 มกราคม ค.ศ. 1194 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1231) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 83 แห่งญี่ปุ่นครองราชย์ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิสึจิมิกาโดะ

จักรพรรดิอังกัง

ักรพรรดิอังกัง (Emperor Ankan) จักรพรรดิองค์ที่ 27 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 10 มีนาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิอังกัง

จักรพรรดิอังโก

ักรพรรดิอังโก (Emperor Ankō) จักรพรรดิองค์ที่ 20 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 8 กุมภาพัน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิอังโก

จักรพรรดิอันโตะกุ

ักรพรรดิอันโตะกุ มีพระนามเดิมว่า โทะโกะฮิโตะ ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นช่วงปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิอันโตะกุ

จักรพรรดิอิงเงียว

ักรพรรดิอิงเงียว (Emperor Ingyō) จักรพรรดิองค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 12 กุมภาพัน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิอิงเงียว

จักรพรรดิอิโตะกุ

ักรพรรดิอิโตะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอิโตะกุครองสิริราชสมบัติระหว่าง 510 ปีก่อนคริสตกาล - 477 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิอิโตะกุเป็นหนึ่งในเก้าจักรพรรดิที่นักประวัติศาสตร์กล่าวกันว่าเป็นจักรพรรดิในตำนาน.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิอิโตะกุ

จักรพรรดิอุดะ

ักรพรรดิอุดะ (Emperor Uda) จักรพรรดิองค์ที่ 59 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอุดะครองราชบัลลังก์ระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิอุดะ

จักรพรรดิฮะนะโซะโนะ

นหลวงของจักรพรรดิฮะนะโซะโนะ จักรพรรดิฮะนะโซะโนะ (Emperor Hanazono) จักรพรรดิองค์ที่ 95 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิฮะนะโซะโนะทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิฮะนะโซะโนะ

จักรพรรดิฮันเซ

ักรพรรดิฮันเซ (Emperor Hanzei) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิฮันเซ

จักรพรรดิฮิงะชิยะมะ

ักรพรรดิฮิงะชิยะมะ (Emperor Higashiyama) จักรพรรดิองค์ที่ 113 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิฮิงะชิยะมะ

จักรพรรดิจิมมุ

นหลวงของจักรพรรดิจิมมุ จักรพรรดิจิมมุ พระนาม คะมุยะมะโตะ อิวะเระบิโกะ ปฐมจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นสำนักพระราชวังญี่ปุ่น (Kunaichō): จักรพรรดิในตำนานของญี่ปุ่นเป็นที่รู้จักในพระนามอื่นๆ อีก อาทิ คะมุยะมะโตะ อิวะเระบิโกะ โนะ มิโกะโตะ (神日本磐余彦尊) หรือ วะกะมิเกะนุ โนะ มิโกะโตะ (若御毛沼命) หรือ ซะโนะ โนะ มิโกะโตะ (狹野尊) ตามตำนาน โคะจิกิ ได้กล่าวไว้ว่า จักรพรรดิจิมมุพระราชสมภพเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 711ปีก่อน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิจิมมุ

จักรพรรดิจุนนะ

ักรพรรดิจุนนะ เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 53 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นEmperor Junna, Ōharano no Nishi no Minenoe Imperial Mausoleum, Imperial Household Agency จักรพรรดิจุนนะหรือเจ้าชายโอะโตะโมะได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาทในรัชสมัย จักรพรรดิซะงะ จักรพรรดิองค์ที่ 52 ผู้เป็นพระเชษฐาเมื่อวันที่ 16 เดือน 9 ปี ไดโด ที่ 5 ตรงกับวันที่ 14 ตุลาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิจุนนะ

จักรพรรดิจุนนิง

แผนผังการสืบราชบัลลังก์ตั้งแต่รัชกาลที่ 38-50 จักรพรรดิจุนนิง (Emperor Junnin) จักรพรรดิองค์ที่ 47 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิจุนนิง

จักรพรรดิคัมมุ

ักรพรรดิคัมมุ (Emperor Kammu) จักรพรรดิองค์ที่ 50 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิคัมมุครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิคัมมุ

จักรพรรดิคิมเม

ักรพรรดิคิมเม เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ที่ 29 ของประเทศญี่ปุ่นImperial Household Agency (Kunaichō):; retrieved 2013-8-22.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิคิมเม

จักรพรรดิซะกุระมะชิ

ักรพรรดิซะกุระมะชิ (Emperor Sakuramachi) จักรพรรดิองค์ที่ 115 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยพระนามของพระองค์ต่อมาได้ถูกนำไปใช้เป็นพระนามของ จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ จักรพรรดินีองค์ที่ 117 ผู้เป็นพระราชธิดาของพระองค์ ซึ่งพระนามเดิมของจักรพรรดิซะกุระมะชิคือ เจ้าชายอะกิฮิโตะ (Imperial Prince Akihito) อันเป็นพระนามเดียวกับ สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ จักรพรรดิองค์ที่ 125 และองค์ปัจจุบันของญี่ปุ่นเพียงแต่พระนามของทั้งสองเขียนไม่เหมือนกัน ในเดือน 6 ปี เคียวโฮ ที่ 13 ตรงกับวันที่ 17 กรกฎาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซะกุระมะชิ

จักรพรรดิซะงะ

ักรพรรดิซะงะ จักรพรรดิองค์ที่ 52 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิซะงะครองราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซะงะ

จักรพรรดิซุชุง

ักรพรรดิซุชุง (Emperor Sushun) จักรพรรดิองค์ที่ 32 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิซุชุงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซุชุง

จักรพรรดิซุยนิง

นหลวงของจักรพรรดิซุยนิง จักรพรรดิซุยนิง จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 9 มกราคม 29 ปีก่อนคริสตกาล – 8 สิงหาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซุยนิง

จักรพรรดิซุยเซ

นหลวงของจักรพรรดิซุยเซ สมเด็จพระจักรพรรดิซุยเซ พระนาม คะมุ นุนะงะวะมิมิ โนะ มิโกะโตะ ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น องค์ที่ 2Imperial Household Agency (Kunaichō):; retrieved 2013-8-22.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซุยเซ

จักรพรรดิซุจิง

จักรพรรดิซุจิง (Emperor Sujin) จักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 23 พฤษภาคม 98 ปีก่อนคริสตกาล – 9 มกราคม 29 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิซุจิงนับเป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์แรกที่เรื่องราวของพระองค์ได้ถูกบันทึกไว้ในพงศาวดาร จักรพรรดิซุจิงเสด็จขึ้นสืบราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 98 ปีก่อนคริสตกาลภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของจักรพรรดิไคกะจนกระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 มกราคม 29 ปีก่อนคริสตกาลที่พระราชวังหลวงนะระหลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 67 ปี หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคยะโยะอิ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซุจิง

จักรพรรดิซุโก

ักรพรรดิซุโก (Emperor Sukō) (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1334 — 31 มกราคม ค.ศ. 1398) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 3 จาก ราชสำนักเหนือ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิซุโกครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซุโก

จักรพรรดิซุโตะกุ

นหลวงของจักรพรรดิซุโตะกุ จักรพรรดิซุโตะกุ (Emperor Sutoku,, 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1119 - 14 กันยายน ค.ศ. 1164) จักรพรรดิองค์ที่ 75 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิซุโตะกุ

จักรพรรดินะกะมิกะโดะ

ักรพรรดินะกะมิกะโดะ (Emperor Nakamikado) จักรพรรดิองค์ที่ 114 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินะกะมิกะโดะ

จักรพรรดินิมเมียว

ักรพรรดินิมเมียว จักรพรรดิองค์ที่ 54 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นEmperor Ninmyō, Fukakusa Imperial Mausoleum, Imperial Household Agency ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ในวันที่ 18 เดือน 4 ปี โคนิง ที่ 14 ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินิมเมียว

จักรพรรดินิงเก็ง

ักรพรรดินิงเก็ง (Emperor Ninken) จักรพรรดิองค์ที่ 24 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 2 มิถุนายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินิงเก็ง

จักรพรรดินินโก

ักรพรรดินินโก (Emperor Ninkō) จักรพรรดิองค์ที่ 120 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินินโก

จักรพรรดินินโตะกุ

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดินินโตะกุ จักรพรรดินินโตะกุุ จักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 31 มีนาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินินโตะกุ

จักรพรรดินิโจ

ักรพรรดินิโจ (Emperor Nijō) (31 กรกฎาคม ค.ศ. 1143 - 5 กันยายน ค.ศ. 1165) จักรพรรดิองค์ที่ 78 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินิโจ

จักรพรรดินีจิงงุ

มเด็จพระจักรพรรดินีนาถจิงงุ หรือ เป็นหนึ่งในจักรพรรดิในตำนานของญี่ปุ่น เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิชูไอ พระบรมราชสวามีของพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีจิงงุ

จักรพรรดินีจิโต

ักรพรรดินีจิโต(持統天皇 จิโต-เทนโน, พ.ศ. 1188 - 13 มกราคม พ.ศ. 1246) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 41Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณี จักรพรรดินีจิโตครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีจิโต

จักรพรรดินีโชชิ

จักรพรรดินีโชชิ (Empress Shōshi, 1431 - 1517) หรือท่าน โจโตมง-อิง จักรพรรดินีใน จักรพรรดิอิชิโจ และพระราชมารดาของจักรพรรดิถึง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ และ จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีโชชิ

จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2392 — 19 เมษายน พ.ศ. 2457) พระนามเดิม มะซะโกะ อิชิโจ และฮะรุโกะ อิชิโจ ตามลำดับ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิเม.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ

มเด็จพระจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ (後桜町天皇 โกะ-ซะกุระมะชิ-เท็นโน, 23 กันยายน พ.ศ. 2283 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2356) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 117Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณีPonsonby-Fane, Richard.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีโคจุง

จักรพรรดินีโคเก็ง

มเด็จพระจักรพรรดินีโคเก็ง (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 46 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิโชมุ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคเมียว พระนางเป็นหนึ่งในสองสมเด็จพระจักรพรรดินีที่ครองราชย์สองครั้ง อีกพระองค์หนึ่งคือจักรพรรดินีโคเงียวกุ พระนางครองราชย์ครั้งแรกเมื่อ..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีโคเก็ง

จักรพรรดินีโคเงียวกุ

มเด็จพระจักรพรรดินีโคเงียวกุ (594–661) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีไซเม เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 35 และที่ 37 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นหนึ่งในสมเด็จพระจักรพรรดินีเพียงสองพระองค์ของญี่ปุ่นที่ได้ครองราชย์ถึงสองครั้ง (อีกพระองค์หนึ่งคือจักรพรรดินีโคเก็ง) พระนางครองราชย์ครั้งแรกเมื่อค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีโคเงียวกุ

จักรพรรดินีเก็มเม

มเด็จพระจักรพรรดินีเก็มเม (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 43 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิเท็นจิ พระนางอภิเสกสมรสกับเจ้าชายคุซะกะเบะโนะมิโกะ พระนางครองราชย์เมื่อ 18 สิงหาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีเก็มเม

จักรพรรดินีเก็นโช

มเด็จพระจักรพรรดินีเก็นโช (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 44 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของจักรพรรดินีเก็มเม กับ เจ้าชายคุซะกะเบะโนะมิโกะ พระนางมิได้ทรงอภิเสกสมรส พระนางครองราชย์เมื่อ 3 ตุลาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีเก็นโช

จักรพรรดินีเมโช

มเด็จพระจักรพรรดินีเมโช (9 มกราคม 1624 – 4 ธันวาคม 1696) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 109 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางครองราชย์เมื่อ 22 ธันวาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีเมโช

จักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง (11 มกราคม พ.ศ. 2378 — 11 มกราคม พ.ศ. 2440) พระนามเดิม อะซะโกะ คุโจ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโคเม.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง

จักรพรรดินีเทเม

ักรพรรดินีเทเม (25 มิถุนายน พ.ศ. 2427 – 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) พระนามเดิม ซะดะโกะ คุโจ เป็นจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิไทโช และเป็นพระราชมารดาในจักรพรรดิโชวะ โดยจักรพรรดินีเทเมเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นองค์สุดท้ายที่มาจากตระกูลฟุจิวะระ (สายตระกูลคุโจ).

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดินีเทเม

จักรพรรดิโชมุ

ักรพรรดิโชมุ (Emperor Shōmu) จักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นองค์ที่ 45 ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโชมุทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโชมุ

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโชวะ

จักรพรรดิโชโก

ักรพรรดิโชโก (Emperor Shoko) จักรพรรดิพระองค์ที่ 101 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่าง 5 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโชโก

จักรพรรดิโชเก

ักรพรรดิโชเก (Emperor Chōkei) จักรพรรดิองค์ที่ 98 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโชเกทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโชเก

จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะพระอัยกาธิราชของจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ สมเด็จพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 77 ครองราชย์ในช่วงปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ

จักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิ

ักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิ (Emperor Go-Fushimi, 1831 - 1879, ครองราชย์ 1841 - 1844) จักรพรรดิองค์ที่ 93 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ จักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิ

จักรพรรดิโกะ-มิซุโน

ักรพรรดิโกะ-มิซุโน (Emperor Go-Mizunoo) จักรพรรดิองค์ที่ 108 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น และเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิและจักรพรรดินีถึง 4 พระองค์คือ จักรพรรดินีเมโช องค์ที่ 109, จักรพรรดิโกะ-โคเมียว องค์ที่ 110, จักรพรรดิโกะ-ไซ องค์ที่ 111 และ จักรพรรดิเรเง็ง องค์ที่ 112 พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซุโนนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิเซวะ (Emperor Seiwa) จักรพรรดิองค์ที่ 56 ที่ปกครองในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ที่มีอีกพระนามหนึ่งว่า จักรพรรดิมิซุโน เมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปทำให้พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซุโนมีความหมายว่า จักรพรรดิมิซุโนที่สอง หรือ จักรพรรดิมิซุโนยุคหลัง ใน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-มิซุโน

จักรพรรดิโกะ-สึชิมิกะโดะ

ักรพรรดิโกะ-สึชิมิกะโดะ (Emperor Go-Tsuchimikado) จักรพรรดิองค์ที่ 103 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-สึชิมิกะโดะทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-สึชิมิกะโดะ

จักรพรรดิโกะ-อุดะ

ักรพรรดิโกะ-อุดะ (Emperor Go-Uda; 17 ธันวาคม 1810 — 16 กรกฎาคม 1867) จักรพรรดิองค์ที่ 91 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี 1817-1830.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-อุดะ

จักรพรรดิโกะ-ฮะนะโซะโนะ

ักรพรรดิโกะ-ฮะนะโซะโนะ (Emperor Go-Hanazono) จักรพรรดิองค์ที่ 102 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ฮะนะโซะโนะ

จักรพรรดิโกะ-คะชิวะบะระ

ักรพรรดิโกะ-คะชิวะบะระ (Emperor Go-Kashiwabara) จักรพรรดิองค์ที่ 104 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-คะชิวะบะระทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-คะชิวะบะระ

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

ักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น องค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชสำนักใต้ ใน ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

จักรพรรดิโกะ-ซังโจ

ักรพรรดิโกะ-ซังโจ (Emperor Go-Sanjō, 3 กันยายน ค.ศ. 1034 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1073) จักรพรรดิองค์ที่ 71 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ซังโจทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ซังโจ

จักรพรรดิโกะ-นะระ

ักรพรรดิโกะ-นะระ (Emperor Go-Nara) จักรพรรดิองค์ที่ 105 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-นะระทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-นะระ

จักรพรรดิโกะ-นิโจ

นหลวงของจักรพรรดิโกะ-นิโจ จักรพรรดิโกะ-นิโจ (9 มีนาคม 1285 — 10 กันยายน 1308) จักรพรรดิองค์ที่ 94 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-นิโจครองราชย์ระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-นิโจ

จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ

ักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ (Emperor Go-Momozono, 2301 - 2322, ครองราชย์ 2314 - 2322) จักรพรรดิพระองค์ที่ 118 ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ

จักรพรรดิโกะ-โยเซ

ักรพรรดิโกะ-โยเซ เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 107 ของญี่ปุ่นครองราชย์ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โยเซ

จักรพรรดิโกะ-โทะบะ

มเด็จพระจักรพรรดิโกะ-โทะบะ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 82 ของญี่ปุ่น ทรงครองราชย์เมื่อพระชนมายุยังน้อยและยังอยู่ในยุคที่บ้านเมืองมีแต่ความวุ่นว.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โทะบะ

จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

ักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น และจักรพรรดิองค์แรกหลัง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

จักรพรรดิโกะ-โคงง

ักรพรรดิโกะ-โคงง (Emperor Go-Kōgon) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิพระองค์ที่ 4 จาก ราชสำนักเหนือ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-โคงงทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โคงง

จักรพรรดิโกะ-โคเมียว

ักรพรรดิโกะ-โคเมียว (Emperor Go-Kōmyō) จักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 110 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โคเมียว

จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

จักรพรรดิโกะ-ไซ

ักรพรรดิโกะ-ไซ (Emperor Go-Sai) จักรพรรดิองค์ที่ 111 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ไซ

จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู

ักรพรรดิโกะ-เอ็งยู (Emperor Go-En'yū) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิพระองค์ที่ 5 จาก ราชสำนักเหนือ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-เอ็งยูทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-เอ็งยู

จักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ

ักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ (Emperor Momozono) จักรพรรดิองค์ที่ 116 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ในเดือน 3 ปี เอ็งเคียว ที่ 4 ตรงกับวันที่ 25 เมษายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ

จักรพรรดิโระกุโจ

ักรพรรดิโระกุโจ (Emperor Rokujo) (28 ธันวาคม ค.ศ. 1164 - 31 สิงหาคม ค.ศ. 1176) จักรพรรดิองค์ที่ 79 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโระกุโจ

จักรพรรดิโอจิง

ักรพรรดิโอจิง (Emperor Ōjin) จักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 3 มิถุนายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโอจิง

จักรพรรดิโองิมะชิ

ักรพรรดิโองิมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 106 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น เมื่อจักรพรรดิโกะ-นะระจักรพรรดิองค์ที่ 105 ผู้เป็นพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในวันที่ 5 เดือน 9 ปี โคจิ ที่ 3 ตรงกับวันที่ 27 กันยายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโองิมะชิ

จักรพรรดิโฮะริกะวะ

ักรพรรดิโฮะริกะวะ (Emperor Horikawa) จักรพรรดิองค์ที่ 73 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโฮะริกะวะ

จักรพรรดิโจะเม

ักรพรรดิโจะเมะ (Emperor Jomei) จักรพรรดิองค์ที่ 34 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโจะเมครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโจะเม

จักรพรรดิโทะบะ

มเด็จพระจักรพรรดิโทะบะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 74Imperial Household Agency (Kunaichō): ครองราชย์ในช่วงปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโทะบะ

จักรพรรดิโคบุง

ักรพรรดิโคบุง จักรพรรดิโคบุง (Emperor Kōbun) จักรพรรดิองค์ที่ 39 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 7 มกราคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคบุง

จักรพรรดิโคกะกุ

ักรพรรดิโคกะกุ (Emperor Kōkaku) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 119 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคกะกุ

จักรพรรดิโคอัง

จักรพรรดิโคอัง จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 392 ปีก่อนคริสตกาล – 291 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคอังถูกจัดเป็นหนึ่งในเก้าจักรพรรดิในตำนานเนื่องจากเรื่องราวของพระองค์มีน้อยมากแทบจะไม่มีหลงเหลือ จักรพรรดิโคอังขึ้นสืบราชบัลลังก์เมื่อ 392 ปีก่อนคริสตกาลภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของ จักรพรรดิโคโช จักรพรรดิองค์ที่ 6 พระราชบิดาหลังจากนั้นไม่นานได้มีการประกอบพิธีราชาภิเษกที่พระราชวังหลวงเมืองนะระ จักรพรรดิโคอังเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 เมษายน 291 ปีก่อนคริสตกาลโดย จักรพรรดิโคเร ได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมา หมวดหมู่:พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคอัง

จักรพรรดิโคะโนะเอะ

ักรพรรดิโคโนะเอะ (Emperor Konoe,, 16 มิถุนายน 1682 - 22 สิงหาคม 1698, ครองราชย์ 1685 - 1698) จักรพรรดิลำดับที่ 76 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ที่ครองราชย์ตามระบบอินเซ จักรพรรดิโคะโนะเอะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคะโนะเอะ

จักรพรรดิโคนิง

ักรพรรดิโคนิง (Emperor Kōnin) จักรพรรดิองค์ที่ 49 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น พระองค์ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคนิง

จักรพรรดิโคโช

ักรพรรดิโคโช จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโคโชครองสิริราชสมบัติระหว่าง 477 ปีก่อนคริสตกาล - 393 ปีก่อนคริสตกาล.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคโช

จักรพรรดิโคโก

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิโคโก จักรพรรดิโคโก (Emperor Kōkō) จักรพรรดิองค์ที่ 58 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยจักรพรรดิโคโกมีอีกพระนามหนึ่งว่า โคะมะสึ ซึ่งในเวลาต่อมาพระนามนี้ได้ถูกนำไปเป็นพระนามของ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 ที่ปกครองญี่ปุ่นในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14 จักรพรรดิโคโกขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจาก จักรพรรดิโยเซ ที่ถูกปลดออกจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 4 มีนาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคโก

จักรพรรดิโคโตะกุ

มเด็จพระจักรพรรดิโคโตะกุ (ภาษาญี่ปุ่น: 孝徳天皇, Kōtoku-tennō?) (ค.ศ. 596 - 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 654) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิองค์ที่ 36 แห่งญี่ปุ่น ทรงปกครองญี่ปุ่นในฐานะพระจักรพรรดิเป็นเวลา 9 ปี ตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคโตะกุ

จักรพรรดิโคเม

ักรพรรดิโคเม เป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น องค์ที่ 121 ครองราชสมบัติตั้งแต่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1846 ถึง 30 มกราคม ค.ศ. 1867.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคเม

จักรพรรดิโคเมียว

ักรพรรดิโคเมียว (Emperor Kōmyō) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 2 จาก ราชสำนักเหนือ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคเมียว

จักรพรรดิโคเร

จักรพรรดิโคเร จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 15 เมษายน 291 ปีก่อนคริสตกาล – 27 มีนาคม 215 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคเรขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากจักรพรรดิโคอังเมื่อวันที่ 15 เมษายน 291 ปีก่อนคริสตกาลโดยได้มีพิธีราชาภิเษกที่พระราชวังหลวงนะระเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 290 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคเรเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 215 ปีก่อนคริสตกาลที่พระราชวังหลวงนะระ หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคยะโยะอิ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคเร

จักรพรรดิโคเง็ง

จักรพรรดิโคเง็ง จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 27 มีนาคม 215 ปีก่อนคริสตกาล – 14 ตุลาคม 158 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคเง็งเสด็จขึ้นสืบราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 215 ปีก่อนคริสตกาลภายหลังการเสด็จสวรรคตของ จักรพรรดิโคเร โดยได้มีการประกอบพิธีราชาภิเษกขึ้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 214 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคเง็งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 158 ปีก่อนคริสตกาลที่พระราชวังหลวงนะระหลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 57 ปี หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคยะโยะอิ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิโคเง็ง

จักรพรรดิไดโงะ

ักรพรรดิไดโงะ (Emperor Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 60 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิไดโงะทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิไดโงะ

จักรพรรดิไคกะ

สุสานหลวงของจักรพรรดิไคกะที่เมืองนะระ จักรพรรดิไคกะ (Emperor Kaika) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 14 ตุลาคม 158 ปีก่อนคริสตกาล – 23 พฤษภาคม 98 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิไคกะนับเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายในยุค เก้าจักรพรรดิในตำนาน (Nine Legendary Emperors) จักรพรรดิไคกะขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 9 เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 158 ปีก่อนคริสตกาลหลังจากการเสด็จสวรรคตของจักรพรรดิโคเง็งโดยได้มีการประกอบพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 156 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิไคกะเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 98 ปีก่อนคริสตกาลที่พระราชวังหลวงนะระ หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคยะโยะอิ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิไคกะ

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเมจิ

จักรพรรดิเรเง็ง

ักรพรรดิเรเง็ง (Emperor Reigen) จักรพรรดิองค์ที่ 112 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเรเง็ง

จักรพรรดิเรเซ

ักรพรรดิเรเซ (Emperor Reizei) จักรพรรดิองค์ที่ 63 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิเรเซทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเรเซ

จักรพรรดิเอ็งยู

ักรพรรดิเอ็งยู (Emperor En'yū) จักรพรรดิองค์ที่ 64 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิเอ็งยูทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเอ็งยู

จักรพรรดิเท็มมุ

ักรพรรดิเท็มมุ (Emperor Tenmu) จักรพรรดิองค์ที่ 40 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 21 สิงหาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเท็มมุ

จักรพรรดิเท็นจิ

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิเท็นจิจากหนังสือ '''Hyakunin isshu''' แผนผังการสืบราชบัลลังก์ตั้งแต่รัชกาลที่ 38-50 จักรพรรดิเท็นจิ (Emperor Tenji) จักรพรรดิองค์ที่ 38 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น พระองค์ครองสิริราชสมบัติระหว่าง 20 กุมภาพัน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเท็นจิ

จักรพรรดิเคโก

ักรพรรดิเคโก (Emperor Keikō) จักรพรรดิองค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 8 สิงหาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเคโก

จักรพรรดิเคไต

thumbnail จักรพรรดิเคไต (Emperor Keitai) จักรพรรดิองค์ที่ 26 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 7 มกราคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเคไต

จักรพรรดิเค็นโซ

ักรพรรดิเค็นโซ (Emperor Kenzō) จักรพรรดิองค์ที่ 23 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 27 กุมภาพัน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเค็นโซ

จักรพรรดิเซมุ

ักรพรรดิเซมุ (Emperor Seimu) จักรพรรดิองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 24 ธันวาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเซมุ

จักรพรรดิเซวะ

ักรพรรดิเซวะ (Emperor Seiwa) ซึ่งมีอีกพระนามหนึ่งว่า จักรพรรดิมิซุโน (Emperor Mizunoo) จักรพรรดิองค์ที่ 56 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเซวะ

จักรพรรดิเซ็งกะ

ักรพรรดิเซ็งกะ (Emperor Senka) จักรพรรดิองค์ที่ 28 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 26 มกราคม 536 — 15 มีนาคม..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเซ็งกะ

จักรพรรดิเซเน

ักรพรรดิเซเน (Emperor Seinei) จักรพรรดิองค์ที่ 22 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 8 กันยายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและจักรพรรดิเซเน

ทาจิบานะ โนะ คาจิโกะ

ทาจิบานะ โนะ คาจิโกะ หรือพระนามหลังสวรรคตว่า จักรพรรดินีดันริง (พ.ศ. 1329 — 17 มิถุนายน พ.ศ. 1393) เป็นอัครมเหสีในจักรพรรดิซางะPonsonby-Fane, Richard.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและทาจิบานะ โนะ คาจิโกะ

คุโจ มิชิตะกะ

้าชายคุโจ มิชิตะกะ (九条 道孝, Kujō Michitaka? 1839-1906), บุตรชายของนิโจ ฮิสะทาดะ และเป็นบุตรบุญธรรมของ นิโจ ยูกิโนะริ เป็นขุนนางของญี่ปุ่นในปลายสมัยเอโดะ และตอนต้นสมัยเมจิ ในเวลาต่อมา พระธิดาของพระองค์ได้สมรสกับสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช เป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม ซึ่งหลังจากนั้นก็คือเป็นสมเด็จพระอัยยิกาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ปัจจุบัน ดังนั้นเจ้าชายคุโจ มิชิตะกะผู้ซึ่งเป็นพระบิดาของสมเด็จพระจักรพรรดินีเทเมจึงทรงเป็นพระเปตามหัยกาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ปัจจุบันด้วย ต่อมาในปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและคุโจ มิชิตะกะ

ตระกูลมินะโมะโตะ

ตระกูลมินะโมะโตะ เป็นตระกูลซะมุไรที่ทรงอำนาจและอิทธิพลที่สุดตระกูลหนึ่งในญี่ปุ่นยุคเฮอัง เนื่องจากตระกูลนี้ได้ครองตำแหน่งโชกุน เป็นตระกูลแรกของญี่ปุ่น ตระกูลมินะโมะโตะสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิซะงะ ซึ่งครองราชย์ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและตระกูลมินะโมะโตะ

ตระกูลคุโจ

ตระกูลคุโจ เป็นตระกูลสาขาของตระกูลฟุจิวะระ โดยได้แยกออกมาจาก ฟุจิวะระ โนะ ทาดะมิชิ ตระกูลคุโจวมีอำนาจเช่นเดียวกับตระกูลฟุจิวาระ ในด้านราชสำนักมีบุตรสาวของตระกูลนี้มากมายแต่งงานกับจักรพรรดิ หนึ่งในนั้นคือ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม ในฐานะตระกูลขุนนาง ตระกูลคุโจได้แบ่งตำแหน่งเซ็สโซและคัมปะกุ และตำแหน่งต่างๆ กับ ตระกูลโคโนอิ, ตระกูลทาคาสุซากะ, ตระกูลนิโจ และตระกูลอิจิโจ ซึ่งเป็นเครือญาติเดียวกันจากศตวรรษที่ 12 จนถึงปี..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและตระกูลคุโจ

ตระกูลไทระ

ตราประจำตระกูลไทระ ตระกูลไทระ เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ยิ่งใหญ่ ทรงอำนาจอิทธิพลมากที่สุดตระกูลหนึ่งในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ตระกูลไทระสันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิพระองค์หนึ่ง พระนามว่า จักรพรรดิคันมู ในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและตระกูลไทระ

ตราแผ่นดินของญี่ปุ่น

ตราแผ่นดินญี่ปุ่น มีชื่อเรียกในภาษาญี่ปุ่นว่า คิกกะมนโช แปลว่า เบญจมาศ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์พระราชวงศ์ญี่ปุ่น ในรัฐธรรมนูญรัชสมัยเมจิได้กำหนดไว้ว่า ไม่มีพระราชวงศ์พระองค์ใดสามารถใช้พระราชลัญจกรนี้ได้นอกจากสมเด็จพระจักรพรรดิเท่านั้น ดังนั้น พระราชวงศ์ญี่ปุ่นจึงต้องใช้ตราประจำพระองค์ที่ดัดแปลงจากพระราชลัญจกรองค์นี้ไปบ้างแทน ส่วนศาลเจ้าชินโตที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์จะใช้ตราดังกล่าวนี้เป็นตราประจำศาลเจ้าด้วยเช่นกัน หากศาลเจ้าชินโตใดไม่ได้มีความสัมพันธ์กับพระราชวงศ์จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราก่อน จึงจะนำตราดอกเบญจมาศนี้ประกอบเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตราศาลเจ้าได้ ลักษณะของพระราชลัญจกรนี้เป็นรูปดอกเบญจมาศสีเหลืองหรือสีแสดอยู่บนพื้นหลังสีแดงหรือสีดำ หากเป็นตราที่มีลายเส้นในภาพจะใช้สีแดงหรือสีดำตัดเส้นแทนเช่นกัน พระราชลัญจกรนี้หากดอกเบญจมาศมี 14 กลีบ เป็นตราใช้สำหรับพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ส่วนพระราชลัญจกรแบบ 16 กลีบนั้นจะใช้สำหรับเข็มเครื่องหมายสมาชิกรัฐสภา ตราหัวกระดาษหนังสือราชการ ตราบนปกหนังสือเดินทาง และอื่นๆ อนึ่ง ประเทศญี่ปุ่นไม่ได้มีกฎหมายระบุลักษณะตราแผ่นดิน พระราชลัญจกรดอกเบญจมาศนี้จึงใช้เป็นตราประจำประเทศโดยธรรมเนียมปฏิบัติ เหมือนกับบางประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและไม่มีการกำหนดตราประจำประเทศอย่างเป็นทางการ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและตราแผ่นดินของญี่ปุ่น

ซนโนโจอิ

มพ์ญี่ปุ่นในปี ค.ศ. 1861 แสดงออกถึงการต่อต้านคนต่างชาติ ("โจอิ" - 攘夷, "ขับคนป่าเถื่อน") ซนโนโจอิ เป็นชื่อของปรัชญาการเมืองและขบวนการทางสังคมของญี่ปุ่นที่มีรากฐานมาจากลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) ซึ่งได้กลายเป็นคำขวัญทางการเมืองในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1850 - 1860 ในความพยายามล้มล้างรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะในช่วงยุคบะคุมะสึ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและซนโนโจอิ

ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1959

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1959

โทะกุงะวะ มะซะโกะ

โทะกุงะวะ มะซะโกะ (Tokugawa Masako) จักรพรรดินีญี่ปุ่นใน จักรพรรดิโกะ-มิซุโนะ และทรงเป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดินีเมโช ทรงเป็นธิดาของ โชกุน โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ โชกุนคนที่ 2 แห่ง รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ ที่เกิดกับนาง โอะเอะโยะ พระนางจึงทรงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ของ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ปฐมโชกุนแห่งเอะโดะบะคุฟุและหลานตาของ โอะดะ โนะบุนะงะ ซะมุไรผู้รวบรวมแผ่นดิน พระนางทรงได้เข้าถวายตัวเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและโทะกุงะวะ มะซะโกะ

โคไตชิ

ตชิ พระอิสริยยศสำหรับองค์รัชทายาทหรือมกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่นซึ่งมีมาแต่โบราณกาลโดยในบางครั้งองค์จักรพรรดิก็สถาปนาพระราชโอรสขึ้นเป็นรัชทายาทบางครั้งก็สถาปนาพระราชอนุชาเป็นรัชทายาท ในยุคสมัยใหม่ จักรพรรดิเมจิ ได้สถาปนาเจ้าชายโยะชิฮิโตะพระราชโอรสองค์ใหญ่ซึ่งในเวลาต่อมาคือ จักรพรรดิไทโช ขึ้นเป็นรัชทายาทเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและโคไตชิ

เจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะ

้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะ (30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ และเป็นรัชทายาทลำดับที่ 2 ในการสืบราชสันติวงศ์ญี่ปุ่น (Kunaicho): หลังการเสกสมรสเมื่อเดือนมิถุนายน..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะ

เจ้าชายมะซะฮิโตะ

้าชายมะซะฮิโตะ อดีตรัชทายาทในรัชสมัย จักรพรรดิโองิมะชิ และเป็นพระราชบิดาของ จักรพรรดิโกะ-โยเซPonsonby-Fane, Richard.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายมะซะฮิโตะ

เจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ

้าชายมะซะฮิโตะ เจ้าฮิตะชิ (ประสูติ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478) หรืออดีต เจ้าโยะชิ เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระอนุชาใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เจ้าชายฮิทาชิ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองใน สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน เจ้าชายฮิทาชิเป็นทายาทในราชบัลลังก์อันดับที่ 4 และทรงเป็นที่รู้จักในเรื่องการกุศลและการค้นพบสาเหตุโรคมะเร็ง.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ

เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ (秩父宮 雍仁, Chichibu no miya Yasuhito Shinnō?, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2444 - 4 มกราคม พ.ศ. 2496) หรือ เจ้าชายยะสุฮิโตะ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้อุปถัมป์ ด้านกีฬา, การแพทย์ โดยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงสามารถตรัสภาษาอังกฤษได้ จึงได้ทรงดูแลความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์ได้ทรงเข้าประจำการในกองทัพญี่ปุ่น พระองค์นั้นก็เหมือนกับเจ้าชายพระองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ญี่ปุ่นที่ได้รับการอภัยโทษไม่ต้องเป็นอาชญากรสงคราม หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ

้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ (ประสูติ 6 กันยายน พ.ศ. 2549) พระบุตรองค์ที่สามและพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ ทรงเป็นรัชทายาทลำดับที่สามในการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น โดยพระองค์ถือว่าเป็นพระราชนัดดาชายเพียงพระองค์เดียวใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ

เจ้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะ

้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะ (พ.ศ. 2458 - ปัจจุบัน) เป็นนักประวัติศาสตร์ เป็นโอรสในเจ้าชายโคโนเอะ ฟุมิมาโระ และเจ้าหญิงโคโนเอะ ชิโยโกะ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโตเกียว สาขาประวัติศาสตร์ ปัจจุบันเป็นอาจาร์ยอยู่ที่ มหาวิทยาลัยโตเกียว สาขาประวัติศาสตร์ และเป็นประธานบริษัทโคดะมะ และเป็นคนที่เปิดเผยข้อความสุดท้ายที่ เจ้าชายฟุมิมะโระ พระบิดาทิ้งเอาไว้ก่อนจะดื่มยาพิษว.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะ

เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ

้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2458 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงคิกุโกะแห่งทะกะมะสึ เจ้ามิกะซะถือเป็นเชื้อพระวงศ์ที่พระชนมายุยืนยาวที่สุดในราชวงศ์ญี่ปุ่น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ

เจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น

้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมาร หรืออดีต เจ้าฮิโระ ประสูติ ณ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 ทรงจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกะคุชูอิน และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ทรงสนพระทัยในเรื่องของประวัติศาสตร์และดนตรี และยังโปรดปรานการสีวิโอลาอีกด้วย พระองค์ทรงอภิเษกกับมะซะโกะ โอะวะดะ ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในสาขาเศรษฐศาสตร์ และทางด้านการทูตที่กระทรวงการต่างประเท.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น

เจ้าชายโมะชิฮิโตะ

เจ้าชายโมะชิฮิโตะ (Imperial Prince Mochihito) (สิ้นพระชนม์ มิถุนายน 1180) เป็นที่รู้จักกันในพระนามของ เจ้าชายทะกะกุระ และ มินะโมะโตะ โมะชิมิสึ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ของ จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ พระองค์ทรงเป็นบุคคลสำคัญที่ก่อให้เกิด สงครามเก็มเป ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อโค่นล้ม ตระกูลไทระ ตระกูลซะมุไรที่กุมอำนาจในราชสำนัก พระองค์สิ้นพระชนม์ด้วยการสำเร็จโทษโดย ตระกูลไทระ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโมะชิฮิโตะ

เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ

้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ (ประสูติ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2557) เป็นสมาชิกในพระราชวงศ์แห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นโอรสองค์ที่สองในเจ้ามิกะซะกับเจ้าหญิงพระวรชายามิกะซะ พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ

เจ้าชายโทะชิฮิโตะ คุโจ

้าชายคุโจ โทะชิฮิโตะ หรือ พระมาตุลาโทชิฮิโตะ (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2423 - 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกของตระกูลฟุจิวะระ ของญี่ปุ่น เป็นพระโอรสในเจ้าชายคุโจ มิจิทะกะ และ นางโนะมะ อิกุโกะ ประสูติที่ ปราสาทคุโจ กรุงโตเกียว พระองค์ได้เษกสมรสกับ คุณหญิง อิจิโจะ มิซูโกะ เป็นพระเชษฐาใน สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม พระอัครมเหสีใน จักรพรรดิไทโช โทชิฮิโตะเป็นพระมาตุลาในจักรพรรดิโชวะ เจ้าชายโทชิฮิโตะ เป็นต้นราชสกุลคาซาม่า หรือ ตระกูลคาซาม่า มีโอรส-ธิดาทั้งสิ้น 2 พระอง.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโทะชิฮิโตะ คุโจ

เจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ

ป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระโอรสของเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะกับเจ้าหญิงยุริโกะ เจ้าหญิงมิกะซะ เจ้าชายโทะโมะฮิโตะ ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ มีพระโอรส-พระธิดา 2 พระองค์ คือ เจ้าหญิงอะกิโกะแห่งมิกะซะและเจ้าหญิงโยโกะแห่งมิกะซะ พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ

เจ้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอิน

้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอิน เป็นพระอนุวงศ์ญี่ปุ่นและเสนาธิการกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่าง..

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอิน

เจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ

้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ (3 มกราคม ค.ศ. 1905 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และสมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง ทะคะมัตสึ โนะ มิยะ (เดิมเรียกว่า "อะริสึงะวะ โนะ มิยะ") 1 ใน 4 พระอิสริยยศของสมาชิกพระราชวงศ์ที่มีสิทธิในราชบัลลังก์โดยตรง ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1920 พระองค์ได้ทรงเข้ารับราชการอยู่ในกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นตราบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยดำรงพระยศสูดสุดในระดับนายนาวาเอก หลังสิ้นสงคราม พระองค์ได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานกิตติมศักดิ์หรือผู้อุปถัมภ์ขององค์กรหลายแห่ง ซึ่งทำงานเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ศิลปะ การกีฬา และการแพท.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ

เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ

้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2497 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามใน เจ้าชายทาคาฮิโตะ มิกะซะ เจ้าหญิงยูริโกะ มิกะซะ โดยขณะมีพระชนม์ชีพทรงอยู่ในลำดับที่ 7 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ญี่ปุ่น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ

เจ้าหญิงชิกะโกะ เจ้าคะซุ

้าหญิงชิกะโกะ เจ้าคะซุ หรือ เจ้าเซกันอิง ทรงเป็นภริยาของโชกุน โทะกุงะวะ อิเอะโมะจิ โชกุนลำดับที่ 14 แห่ง รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ เจ้าคะซุประสูติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงชิกะโกะ เจ้าคะซุ

เจ้าหญิงชิกิชิ

้าหญิงชิกิชิ (พ.ศ. 1692 — 1 มีนาคม พ.ศ. 1744) เป็นกวีหญิงชาวญี่ปุ่นช่วงยุคเฮอังจนถึงยุคคะมะกุระตอนต้น พระราชธิดาในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะว.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงชิกิชิ

เจ้าหญิงชิโยะโกะ โคะโนะเอะ

้าหญิงชิโยโกะ โคโนเอะ เป็นพระชายาใน เจ้าชายโคโนอิ ฟุมิมาโระ นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นสมัยที่ 34,38 และ 39 ชิโยโกะ เป็นบุตรสาวของ โมริ ทาคาชิ ขุนนางแห่งจังหวัดบังโก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงชิโยะโกะ โคะโนะเอะ

เจ้าหญิงมาซาโกะ พระชายาในเจ้าชายสึเนฮิซะ

้าหญิงมะซะโกะ พระชายาในเจ้าชายสึเนะฮิซะ (30 กันยายน พ.ศ. 2431 — 8 มีนาคม พ.ศ. 2483) หรือพระนามเดิมว่า เจ้าหญิงมะซะโกะ เจ้าหญิงสึเนะ เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิเมจิ ที่ประสูติแต่พระสนมซะชิโก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงมาซาโกะ พระชายาในเจ้าชายสึเนฮิซะ

เจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระชายาในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ โดยสมาชิกราชวงศ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นหลังจากการอภิเษกสมร.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

เจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ

้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2534) เป็นพระธิดาพระองค์โตในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ ปัจจุบันทรงงานเป็นนักวิจัยในพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยโตเกียว.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ

เจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ

้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ (4 มิถุนายน พ.ศ. 2466) พระนามเดิม ยูริโกะ ทากางิ เป็นพระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ เจ้าชายมิกาซะ พระราชโอรสพระองค์เล็กในจักรพรรดิไทโช กับจักรพรรดินีเทเม พระองค์เป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและเป็นพระกุลเชษฐ์แห่งราชวงศ์เพียงพระองค์เดียวที่ประสูติในรัชกาลจักรพรรดิไทโชที่ยังทรงพระชนม.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ

เจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะ

้าหญิงสึงุโกะแห่งทะกะมะโดะ (8 มีนาคม พ.ศ. 2529) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะโดะกับเจ้าหญิงฮิซะโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะ

เจ้าหญิงอากิโกะแห่งมิกาซะ

้าหญิงอะกิโกะแห่งมิกะซะ (20 ธันวาคม พ.ศ. 2524) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ กับเจ้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงอากิโกะแห่งมิกาซะ

เจ้าหญิงอายาโกะแห่งทากามาโดะ

้าหญิงอะยะโกะแห่งทะกะมะโดะ (15 กันยายน พ.ศ. 2533) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะโดะกับเจ้าหญิงฮิซะโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงอายาโกะแห่งทากามาโดะ

เจ้าหญิงฮานาโกะ พระชายาในเจ้าชายมาซาฮิโตะ

้าหญิงฮานาโกะ พระชายาในเจ้าชายมาซาฮิโตะ (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) พระนามเดิม ฮานาโกะ สึงารุ เป็นพระชายาในเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าชายฮิตาจิ พระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงฮานาโกะ พระชายาในเจ้าชายมาซาฮิโตะ

เจ้าหญิงฮิซาโกะ พระชายาในเจ้าชายโนริฮิโตะ

้าหญิงฮิซะโกะ พระชายาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) หรือพระนามเดิม ฮิซะโกะ ทตโตะริ เป็นพระชายาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะโดะ และเป็นพระสุณิสาในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงฮิซาโกะ พระชายาในเจ้าชายโนริฮิโตะ

เจ้าหญิงจุนชิ

เจ้าหญิงจุนชิ (Imperial Princess Junshi) จักรพรรดินีลำดับที่ 2 หรือ ชูงู ใน จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ จักรพรรดิองค์ที่ 96 และจักรพรรดิองค์แรกของ ราชสำนักใต้ จาก ราชสกุลไดกะกุจิ เป็นพระราชธิดาใน จักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิ จักรพรรดิองค์ที่ 94 และเป็นพระเชษฐภคินี (พี่สาว) ของ จักรพรรดิโคงง จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิ์องค์ที่ 1 และ จักรพรรดิโคเมียว จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิ์องค์ที่ 2 จาก ราชสกุลจิเมียวอิง หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงจุนชิ

เจ้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ

้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2537) เป็นพระธิดาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ

เจ้าหญิงคิชิ

้าหญิงคิชิ (พ.ศ. 1472 — พ.ศ. 1528) เป็นกวีหญิงชาวญี่ปุ่นช่วงกลางยุคเฮอัง และเป็นพระมเหสีในจักรพรรดิมุระกะม.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงคิชิ

เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ

้าหญิงคิกุโกะ พระชายาในเจ้าชายโนะบุฮิโตะ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) มีพระนามเดิมว่า คิกุโกะ โทะกุงะวะ เป็นพระชายาในเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะสึ เป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ

เจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ

้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ (11 กันยายน พ.ศ. 2509) พระนามเดิม คิโกะ คะวะชิมะ เป็นพระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอะกิชิโนะ และเป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ

เจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ

้าหญิงซะชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ (10 กันยายน พ.ศ. 2470 – 8 มีนาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิโชวะ กับจักรพรรดินีโคจุง และเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ

เจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)

วาดมงกุฎของจักรพรรดินีญี่ปุ่น เจ้าหญิงโยะชิโกะ จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโคกะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 119 และพระราชมารดาบุญธรรมใน จักรพรรดินินโก จักรพรรดิองค์ที่ 120.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)

เจ้าหญิงโยโกะแห่งมิกาซะ

้าหญิงโยโกะแห่งมิกะซะ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ กับเจ้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงโยโกะแห่งมิกาซะ

เจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายยาซูฮิโกะ

้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโกะ (7 สิงหาคม พ.ศ. 2434 — 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงโนะบุโกะ เจ้าหญิงฟุมิ เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิเมจิ ที่ประสูติแต่พระสนมซะชิโกะ และเป็นพระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโกะ เจ้าชายอะซะก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายยาซูฮิโกะ

เจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะ

้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาในเจ้าชายโทะโมะฮิโตะ มีพระนามเดิมว่า โนะบุโกะ อะโซ เป็นพระชายาหม้ายของเจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ เป็นหลานสาวของชิเงะรุ โยะชิดะและเป็นน้องสาวของทะโร อะโซอดีตนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะ

เจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิ

้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทะชิ (1 ธันวาคม พ.ศ. 2544) เป็นพระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น กับเจ้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิ

เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ

้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ (9 กันยายน พ.ศ. 2452 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2538) พระนามเดิม เซะสึโกะ มะสึไดระ เป็นพระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชายชิชิบุ พระราชโอรสในจักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีเทเม ทั้งนี้พระองค์เป็นพระประยูรญาติของเจ้านายหลายพระองค์ อาทิ เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ (ต่อมาคือจักรพรรดินีโคจุง) และเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ (ต่อมาคือเจ้าหญิงพังจา พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมิน) และยังเป็นหนึ่งในพระบรมวงศานุวงศ์ญี่ปุ่นที่พระราชวงศ์อังกฤษโปรดปราน โดยเฉพาะเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ออกพระโอษฐ์อยู่เสมอว่าเจ้าหญิงเซะสึโกะเป็น "พระอัยยิกาชาวญี่ปุ่น".

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและ15 พฤษภาคม

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและ17 ธันวาคม

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์ญี่ปุ่นและ23 สิงหาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Chrysanthemum ThroneImperial House of Japanมิชิโยะ ฟุจิวะระราชวงศ์โคชิสึราชสำนักญี่ปุ่นริวซุเกะ ฟุจิวะระวัง เสี่ยว หลวงชินโนฟุจิวะระ มิชิโยะฟุจิวะระ โนะ มาสะฮิโตะฟุจิวะระ โนะ ริวซากิฟุจิวะระ โนะ ริวซุเกะฟุจิวะระ โนะ ไทอิจิฟุจิวะระ ไทอิจิพระราชวงศ์ญี่ปุ่นคุณผู้ชาย ฟุจิวาระ โนะ ไทอิจิคุโจ มิชิโยะคุโจ ริวซุเกะคุโจ ไทอิจิคุโจว มาสะฮิโตะคุโจว มิชิโยะคุโจว ริวซุเกะคุโจว ไทอิจิโคชิสึไทอิจิ ฟุจิวะระไนชินโนเจ้าหญิงคุมิโกะ โคโนเอะเจ้าหญิงโคโนอิ คุมิโกะเจ้าชายมาสะฮิโตะ คุโจเจ้าชายคุโจ มาสะฮิโตะเจ้าชายคุโจว มาสะฮิโตะ

จักรพรรดิซุยนิงจักรพรรดิซุยเซจักรพรรดิซุจิงจักรพรรดิซุโกจักรพรรดิซุโตะกุจักรพรรดินะกะมิกะโดะจักรพรรดินิมเมียวจักรพรรดินิงเก็งจักรพรรดินินโกจักรพรรดินินโตะกุจักรพรรดินิโจจักรพรรดินีจิงงุจักรพรรดินีจิโตจักรพรรดินีโชชิจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดินีโคเก็งจักรพรรดินีโคเงียวกุจักรพรรดินีเก็มเมจักรพรรดินีเก็นโชจักรพรรดินีเมโชจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวงจักรพรรดินีเทเมจักรพรรดิโชมุจักรพรรดิโชวะจักรพรรดิโชโกจักรพรรดิโชเกจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะจักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิจักรพรรดิโกะ-มิซุโนจักรพรรดิโกะ-สึชิมิกะโดะจักรพรรดิโกะ-อุดะจักรพรรดิโกะ-ฮะนะโซะโนะจักรพรรดิโกะ-คะชิวะบะระจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะจักรพรรดิโกะ-ซังโจจักรพรรดิโกะ-นะระจักรพรรดิโกะ-นิโจจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะจักรพรรดิโกะ-โยเซจักรพรรดิโกะ-โทะบะจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึจักรพรรดิโกะ-โคงงจักรพรรดิโกะ-โคเมียวจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรพรรดิโกะ-ไซจักรพรรดิโกะ-เอ็งยูจักรพรรดิโมะโมะโซะโนะจักรพรรดิโระกุโจจักรพรรดิโอจิงจักรพรรดิโองิมะชิจักรพรรดิโฮะริกะวะจักรพรรดิโจะเมจักรพรรดิโทะบะจักรพรรดิโคบุงจักรพรรดิโคกะกุจักรพรรดิโคอังจักรพรรดิโคะโนะเอะจักรพรรดิโคนิงจักรพรรดิโคโชจักรพรรดิโคโกจักรพรรดิโคโตะกุจักรพรรดิโคเมจักรพรรดิโคเมียวจักรพรรดิโคเรจักรพรรดิโคเง็งจักรพรรดิไดโงะจักรพรรดิไคกะจักรพรรดิเมจิจักรพรรดิเรเง็งจักรพรรดิเรเซจักรพรรดิเอ็งยูจักรพรรดิเท็มมุจักรพรรดิเท็นจิจักรพรรดิเคโกจักรพรรดิเคไตจักรพรรดิเค็นโซจักรพรรดิเซมุจักรพรรดิเซวะจักรพรรดิเซ็งกะจักรพรรดิเซเนทาจิบานะ โนะ คาจิโกะคุโจ มิชิตะกะตระกูลมินะโมะโตะตระกูลคุโจตระกูลไทระตราแผ่นดินของญี่ปุ่นซนโนโจอิประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1959โทะกุงะวะ มะซะโกะโคไตชิเจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะเจ้าชายมะซะฮิโตะเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุเจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะเจ้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะเจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่นเจ้าชายโมะชิฮิโตะเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระเจ้าชายโทะชิฮิโตะ คุโจเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะเจ้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอินเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะเจ้าหญิงชิกะโกะ เจ้าคะซุเจ้าหญิงชิกิชิเจ้าหญิงชิโยะโกะ โคะโนะเอะเจ้าหญิงมาซาโกะ พระชายาในเจ้าชายสึเนฮิซะเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นเจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะเจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะเจ้าหญิงอากิโกะแห่งมิกาซะเจ้าหญิงอายาโกะแห่งทากามาโดะเจ้าหญิงฮานาโกะ พระชายาในเจ้าชายมาซาฮิโตะเจ้าหญิงฮิซาโกะ พระชายาในเจ้าชายโนริฮิโตะเจ้าหญิงจุนชิเจ้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะเจ้าหญิงคิชิเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะเจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)เจ้าหญิงโยโกะแห่งมิกาซะเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายยาซูฮิโกะเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะเจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ15 พฤษภาคม17 ธันวาคม23 สิงหาคม