โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ซ่ง

ดัชนี ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

204 ความสัมพันธ์: ชาจีนชาขาวชางลั่งถิงชิงสุ่ยโจวซือบุปผาในกุณฑีทองพ.ศ. 1698พ.ศ. 1821พระพันปีตู้พระเจ้าอินจงแห่งโครยอพระเจ้าฮโยจงพระเจ้าจั่นซิตาพระเจ้าซองจงแห่งโครยอพระเจ้าซอนจงพระเจ้าเยจงแห่งโครยอพระเทวันเฉาพัน เหม่ย์พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรพิพิธภัณฑ์เมืองซูโจวกวนอูกอล์ฟการบุกครองทวีปยุโรปของมองโกลการรัดเท้าการรุกรานญี่ปุ่นของมองโกลการสอบขุนนางการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนการเชิดมังกรการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์กิมย้งกุบไล ข่านกู่กงไฉ่ฐานันดรศักดิ์จีนฝูหวาภาวะเงินเฟ้อภาษาหมิ่นผูเซียนภาษาจีนกวางตุ้งภูเขาเอ๋อเหมย์และพระพุทธรูปเล่อชานมังกรหยกมังกรหยก ศึกสองจ้าวยุทธจักรมณฑลฝูเจี้ยนมนุษยศาสตร์ยอดขุนศึกวีรบุรุษตระกูลหยางยุทธนาวีบักดั่ง (ค.ศ. 1288)ยุคมุโระมะชิยุคคะมะกุระราชวงศ์ราชวงศ์หยวนราชวงศ์จินราชวงศ์ซ่งราชวงศ์ซ่ง (แก้ความกำกวม)...ราชวงศ์โจวยุคหลังราชวงศ์โครยอราชวงศ์เหลียวรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราชรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่งรายพระนามจักรพรรดินีจีนลหฺวี่ ต้งปินวัดขงจื๊อ สุสานขงจื๊อ และจวนตระกูลขงในชฺวีฟู่วีลาร์ เดอ ออนกูร์สวนจัวเจิ้งสวนจี้ชั่งสวนป่าสิงโตสามก๊กสามสำนักหกกรมสำนักฉวนเจินสิงอี้เฉวียนสือดิบผู้จ่องสุภาพบุรุษตระกูลหยางสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทยสนมหลี่ (ซ่งเจินจง)หมู่เกาะแพราเซลหยวนหยาง เย่หลินชงหวัง ฉงหยางหวังอันฉือหางโจวหฺวันซิ่วชันจฺวังห้าราชวงศ์อาหารฟิลิปปินส์อาณาจักรฮั่นเหนืออาณาจักรตามพรลิงค์อู๋ซีผัง จี๋ (ราชวงศ์ซ่ง)ผีถ้วยแก้วจรวดจอหงวนจักรพรรดิกงจักรพรรดิอิงจงจักรพรรดิจินไท่จงจักรพรรดิจีนจักรพรรดิคังซีจักรพรรดิซ่งชินจงจักรพรรดิซ่งกวงจงจักรพรรดิซ่งกงจักรพรรดิซ่งกงจงจักรพรรดิซ่งลี่จงจักรพรรดิซ่งหนิงจงจักรพรรดิซ่งอิงจงจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งตู้จงจักรพรรดิซ่งตี้ปิงจักรพรรดิซ่งต้วนจงจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดิซ่งไท่จงจักรพรรดิซ่งเกาจงจักรพรรดิซ่งเสินจงจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจงจักรพรรดิซ่งเหรินจงจักรพรรดิซ่งเจินจงจักรพรรดิซ่งเจ๋อจงจักรพรรดินีกั้ว (ซ่งเหรินจง)จักรพรรดินีหลิว (ซ่งเจินจง)จักรพรรดินีหลี่ (จักรพรรดิซ่งไท่จง)จักรพรรดินีจางมู่จักรพรรดินีจางหฺวายจักรพรรดินีซ่ง (ราชวงศ์ซ่ง)จักรพรรดินีเกา (ซ่งอิงจง)จักรพรรดินีเมิ่งจักรพรรดินีเสี่ยนซู่จักรพรรดินีเหรินหฺวายจักรพรรดินีเฉา (ซ่งเหรินจง)จักรพรรดินีเซี่ยงจักรพรรดิไท่จู่จักรพรรดิไท่จงจักรพรรดิเกาจงจักรพรรดิเสินจงจักรพรรดิเหรินจงจักรพรรดิเหลียวซิ่งจงจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจงจักรวรรดิจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิจีนจังหวัดปราจีนบุรีจาง ซันเฟิงจิตรกรรมสีน้ำจู ซีจี้กงจง ขุยจ้วงจ้าว หงอินถัง ฟู่ทิวเขาอู่ตังขุนศึกตระกูลหยางคันจิฆ่าก่อน รายงานทีหลังงักฮุยงักฮุย แม่ทัพพิทักษ์แผ่นดินงิ้วตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีนตำนานจักรพรรดิ อภินิหารฝ่ามือยูไลตี๋ ชิงต้นสมัยกลางฉาปี้ซัวเถาซาลาเปาซือ ซื่อหลุนซูโจวซีอานซ่งเจียงซ้องกั๋งประวัติศาสตร์บรูไนประวัติศาสตร์ทิเบตประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมประวัติศาสตร์โลกประวัติศาสนาพุทธประเทศจีนใน ค.ศ. 1127ประเทศจีนใน ค.ศ. 1279ปาท่องโก๋แม่ทัพอยู่บน ข้าอยู่ล่างแทนแกรมแคะโว่หลงกังไช่ หลุนไตฮงโจวซือไฉ หรงไฉ จงซฺวิ่นเกาะลูซอนเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเสี่ยวหลงเปาเหวิน เทียนเสียงเหตุการณ์จิ้งคังเจ็ดพิชัยสงครามคลาสสิกของจีนเจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรมเจ้า ยฺเหวียนหยั่นเทพบุตรนักสู้ พลิกลิขิตสวรรค์เทศกาลกินเจเทศกาลโคมไฟเติ้ง ลี่จวินเฉอ ไซ่ฮัวเซี่ยตะวันตกเปาบุ้นจิ้นเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)เปาบุ้นจิ้น (แก้ความกำกวม)เปาบุ้นจิ้น ขุนศึกตระกูลหยาง108 ผู้ยิ่งใหญ่เขาเหลียงซาน19 มีนาคม8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2525)8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2540)8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546)8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556) ขยายดัชนี (154 มากกว่า) »

ชาจีน

ใบชาเขียวตามที่ราบสูงในไก หวัน ชาจีน เป็น เครื่องดื่มที่ทำมาจากใบชาจากแหล่งปลูกชา (คาเมลเลีย ไซเนนซิส) และผ่านน้ำร้อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและชาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชาขาว

อดชาขาว ชาขาว เป็นชาชนิดหนึ่ง ผลิตจากตูมและยอดอ่อนของต้นชา แหล่งเพาะปลูกชาขาวที่มีชื่อเสียงอยู่ที่มณฑลฝูเจี้ยน ทางตอนใต้ของประเทศจีน กรรมวิธีผลิตชาขาวเริ่มจากการเลือกเก็บยอดอ่อนชาในช่วงฤดูใบไม้ผลิ จากนั้นนำยอดชาที่เก็บได้มาผ่านกระบวนการทำแห้งในระยะเวลาที่รวดเร็ว ด้วยวิธีธรรมชาติโดยอาศัย ลม แสงแดด หรือความร้อนซึ่งจะแตกต่างจากกรรมวิธีผลิตชาประเภทอื่น ๆ (ชาเขียว ชาดำ ชาแดง ชาอู่หลง) ที่ผ่านกระบวนการทำแห้งด้วยความร้อนหรือไอน้ำและผ่านกระบวนการหมักสำหรับชาบางประเภท ทำให้ปริมาณสารต่อต้านอนุมูลอิสระและคุณค่าทางโภชนาการของชาขาวยังคงไว้ได้มาก รวมทั้งกลิ่นและรสชาติของชาขาวที่ยังคงความสดชื่นและนุ่มนวล ชาขาวจึงเป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพสูง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและชาขาว · ดูเพิ่มเติม »

ชางลั่งถิง

งลั่งถิงหรือพลับพลาเกลียวคลื่น (อังกฤษ: Canglang Pavilion) มีชื่อที่แปลเป็นภาษาอังกฤษหลากหลายว่า the Great Wave Pavilion หรือ Surging Wave Pavilion หรือ Blue Wave Pavilion เป็นหนึ่งในสวนโบราณ เมืองซูโจวที่ได้รับการยกย่องโดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ให้เป็นมรดกโลกอีกแห่งหนึ่ง ชางลั่งถิงตั้งอยู่ที่เลขที่ 3 ถนนชางลั่งถิงในเมืองซูโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน สวนแห่งนี้เป็นหนึ่งในสี่สวนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในเมืองซูโจวและยังเป็นสวนที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุดแห่งหนึ่ง เนื่องจากสามารถสืบค้นประวัติของสวนย้อนหลังได้ถึงสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ (Northern Song Dynasty) ในราวปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและชางลั่งถิง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงสุ่ยโจวซือ

งสุ่ยโจวซือ (清水祖師) เป็นเทพเจ้าจีนที่สำคัญองค์หนึ่งของชาวจีนฮกเกี้ยน แม้ว่าจะเป็นบรรพชิตในศาสนาพุทธนิกายฌาน แต่โดยมากคนทั่วไปจะนับถือท่านในฐานะเทพเจ้าสายศาสนาเต๋ามากกว่า ท่านมีชีวิตอยู่จริงในสมัยราชวงศ์ซ่งช่วงรัชกาลจักรพรรดิซ่งเหรินจง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและชิงสุ่ยโจวซือ · ดูเพิ่มเติม »

บุปผาในกุณฑีทอง

ปผาในกุณฑีทอง (จินผิงเหมย์; The Plum in the Golden Vase) เป็นวรรณกรรมจีนที่ประพันธ์ขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง อ้างตามฉบับพิมพ์สมัยราชวงศ์หมิงในรัชสมัยของจักรพรรดิเสินจง ศักราชว่านลี่ ปีติงซื่อ (ปีที่ 45 ของรัชกาล) ผู้แต่งนิยายเรื่องนี้ใช้นามปากกาว่า "บัณฑิตแห่งสุสานกล้วยไม้ผู้ยิ้มเยาะ" (Lán Líng Xiào Xiào Shēng; The Scoffing Scholar of Lanling) เดิมนับเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับนวนิยายอีกสามเรื่อง คือ สามก๊ก ซ้องกั๋ง และไซอิ๋ว เรียกรวมกันว่า "สี่วรรณกรรมอันยิ่งใหญ่" (四大奇書,四大奇书) แต่ต่อมาเรื่อง จินผิงเหมย์ ถูกต่อต้าน เพราะพรรณนาบทสังวาสจำนวนมากจนถูกเรียกว่าเป็นหนังสือโลกีย์ศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ, 2551: 163 จึงมีการจัดให้ ความฝันในหอแดง นิยายอีกเรื่องหนึ่ง ขึ้นมาเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนแทน อย่างไรก็ตาม แม้ บุปผาในกุณฑีทอง เกี่ยวข้องกับเรื่องโลกียะ และบางยุคก็ถือเป็นหนังสือต้องห้าม แต่ก็แต่งด้วยสำนวนภาษาที่งดงามละเมียดละไมศานติ-นวรัตน์ ภักดีคำ, 2551: 162 นิยายเรื่องนี้ได้ทำลายขนบในการเขียนนิยายอิงพงศาวดารและนิยายเกี่ยวกับผีสางเทวดาลง โดยใช้ลีลาการเขียนด้วยสำนวนง่าย ๆ กะทัดรัด และมีชีวิตชีวา บรรยายชีวิตตัวละครและตัวประกอบโดยใช้ชีวิตประจำวันของซีเหมิน ชิ่ง (Xīmén Qìng) และคนในครอบครัวเป็นศูนย์กลาง กล่าวถึงชีวิตของซีเหมิน ชิ่ง ที่รุ่งเรืองและตกอับ ทำอย่างไรให้ร่ำรวยขึ้นมา และทำอย่างไรให้ตัวตกอับ ถือเป็นการบรรยายถึงสภาพสังคมในช่วงราชวงศ์หมิง ซึ่งแสดงถึงทัศนคติและมุมมองของประชาชนทั่วไปในคริสต์ศตวรรษที่ 16 อีกด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและบุปผาในกุณฑีทอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1698

ทธศักราช 1698 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพ.ศ. 1698 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1821

ทธศักราช 1821 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพ.ศ. 1821 · ดูเพิ่มเติม »

พระพันปีตู้

ระพันปีตู้ (ชื่อตัวไม่ทราบ; เกิดประมาณ ค.ศ. 902; เสียชีวิต 17 กรกฎาคม ค.ศ. 961) เป็นราชนารีจีนสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นภริยาของขุนพลจ้าว หงอิน (趙弘殷) ทั้งเป็นมารดาของจ้าว ควงอิ้น (趙匡胤) ซึ่งต่อมาเป็นจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (宋太祖) และจ้าว ควงอี้ (趙匡義) ซึ่งต่อมาเป็นจักรพรรดิซ่งไท่จง (宋太宗) เมื่อนางเสียชีวิตแล้ว จ้าว ควงอี้ อ้างสิทธิสืบบัลลังก์ต่อจากพี่ชาย คือ จ้าว ควงอิ้น โดยอ้างว่า เป็นพินัยกรรมของนาง แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนมากเชื่อว่า พินัยกรรมดังกล่าวจ้าว ควงอี้ ปลอมขึ้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระพันปีตู้ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอินจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1109-ค.ศ. 1146) จักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1122-ค.ศ. 1146) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเยจงและพระมเหสีซุนด็อก รัชสมัยของพระองค์เต็มไปด้วยกบฏของขุนนางที่แย่งชิงอำนาจกัน ตลอดรัชกาลของพระองค์ทรงตกอยู่ภายใต้อำนาจและอิทธิพลของ ลีจากยอม (이자겸, 李資謙) พระบิดาของพระมเหสีซุนด๊อกและพระอัยกีของพระเจ้าอินจง รวมทั้งสมาชิกของตระกูลลีแห่งอินชอน ลีจากยอมนั้นมีอำนาจมากเสียจนเป็นที่เกรงขามของสมาชิกพระราชวงศ์ ตระกูลลีเข้าครอบงำราชสำนักเข้ามาเป็นขุนนางต่างๆ ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเจ้าอินจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮโยจง

ระเจ้าฮโยจง (효종; พ.ศ. 2162 ถึง พ.ศ. 2202) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 17 (พ.ศ. 2192 ถึง พ.ศ. 2202) แห่งราชวงศ์โชซอน ในรัชสมัยของพระองค์โชซอนต้องทำสงครามกับรัสเซียตามคำขอของราชวงศ์ชิง และทรงมีแผนการที่จะบุกจีนแก้แค้นสงครามกับแมนจูแต่สิ้นพระชนม์เสียก่อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเจ้าฮโยจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจั่นซิตา

ั่นซิตา (Kyanzittha, ကျန်စစ်သား; พ.ศ. 1627 - 1656) เป็นพระเจ้ากรุงพุกาม และถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์พม่าไม่แพ้พระเจ้าอโนรธามังช่อ เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นธรรมกษัตริย์ที่ทำนุบำรุงศาสนาพุทธจนเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด จนเป็นที่ยอมรับทั้งจากชาวพม่าและชาวมอญ พระเจ้าจั่นซิตาเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในรัชสมัยพระเจ้าอโนรธา เมื่อพระเจ้าซอลูพระราชโอรสของพระเจ้าอโนรธาขึ้นครองราชย์ พระองค์มิได้ประกอบภารกิจอันใดด้วยความสามารถพระองค์เอง แต่จะทรงใช้และปรึกษาเหล่าเสนาอำมาตย์อยู่บ่อย ๆ ในปลายรัชสมัยพระเจ้าซอลู งะรมัน เจ้าเมืองพะโค ซึ่งเป็นชาวมอญได้ก่อกบฏขึ้นจับตัวพระเจ้าซอลูเป็นตัวประกัน จั่นซิตาซึ่งครองเมืองถิเลงอยู่ ไม่สามารถยกทัพกลับมาช่วยพระองค์ได้ทัน งะรมันได้สังหารพระเจ้าซอลูที่เมืองพวาสอ และพยายามเข้ายึดครองอาณาจักรพุกามแต่จั่นซิตาได้เข้าขัดขวาง เหล่าเสนาอำมาตย์ และพระธัมมทัสสีมหาเถระที่ปรึกษาองค์สำคัญของพระเจ้าอโนรธา จึงได้อัญเชิญจั่นซิตาขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ เมื่อขึ้นครองราชย์ จั่นซิตามีพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตยธัมมมราชาTaw, Blagden 1911: 216 ในภาษาสันสกฤต ในจารึกพม่าเรียกพระองค์ว่า "ถิลุงมัง" (T’iluin Man) แปลว่า "กษัตริย์แห่งถิเลง" แต่เนื่องจากจั่นซิตามิได้มีเชื้อสายของกษัตริย์ พระองค์จึงอ้างสิทธิธรรมในการครองราชสมบัติว่าพระองค์ทรงเป็นภาคหนึ่งของพระโพธิสัตว์ และเป็นองค์อวตารของพระวิษณุของชาวปยูอีกด้วย สมัยนี้จึงถือเป็นรัชสมัยที่ศิลปศาสตร์แบบมอญเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในพุกาม ในรัชสมัยของพระเจ้าจั่นซิตา ทรงติดต่อกับต่างประเทศเป็นอย่างมาก ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเจ้าจั่นซิตา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซองจงแห่งโครยอ

ระเจ้าซองจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 960 - ค.ศ. 997) พระราชาองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 981 - ค.ศ. 997) เป็นกษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์โดยการก่อกบฏยึดอำนาจ จากพระเจ้าคยองจงแห่งโครยอกษัตริย์พระองค์ก่อน โดยร่วมมือกับขุนนางกลุ่มซิลลาที่ยังมีอำนาจหวังจะกอบกู้อาณาจักรซิลลาขึ้นมาใหม่ โดยการใช้กำลังทหารยึดวังหลวงและวางยาพิษพระเจ้าคยองจง ให้เนรเทศสมเด็จพระราชินีฮอนแอและสมเด็จพระราชินีฮอนจองพระมเหสีของพระเจ้าคยองจง โดยที่พระมเหสีทั้งสองพระองค์เป็นน้องสาวของพระองค์ และพระเจ้าซองจงเป็นผู้ทำให้พระนางซินจองผู้เป็นพระอัยยิกาและพระนางฮอนจองผู้เป็นพระขนิษฐาสิ้นพระชนม์ด้วย ในรัชสมัยของพระองค์มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่เพื่อกำจัดอำนาจขุนนางท้องถิ่น และมีสงครามกับพวกคิตันราชวงศ์เหลียว องค์ชายวัง ชี (왕치, 王治) เป็นพระโอรสของสมเด็จพระชายาซอนอึยกับองค์ชายวัง อุก (왕욱, 王旭) หรือพระเจ้าแทจง พระราชโอรสของพระเจ้าแทโจกับสมเด็จพระจักรรพรดินีซินจอง (신정왕후, 神靜王后) ตระกูล ฮวางจู ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเจ้าซองจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซอนจง

ระเจ้าซอนจง ครองราชย์ปี(ค.ศ.1083-1094) เทียบเป็น..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเจ้าซอนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเยจงแห่งโครยอ

ระเจ้าเยจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1079 - ค.ศ. 1122) จักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1105 - 1122) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซุกจง กับพระมเหสีมยองอึย ตระกูล ลี เมื่อพระเจ้าเยจงทรงขึ้นครองราชสมบัติ สงครามกับเผ่านูร์เชน (Jurchen) ยังค้างคาอยู่ ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเจ้าเยจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวันเฉา

ระเทวันเฉา (Royal Brother-in-law Cao) เป็นเทพองค์หนึ่งในกลุ่มแปดเทพของลัทธิเต๋าเกิดในสมัยราชวงศ์ซ่ง มีศักดิ์เป็นน้องชายของพระนางเฉา มเหสีพระเจ้าซ่งเหรินจง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพระเทวันเฉา · ดูเพิ่มเติม »

พัน เหม่ย์

พัน เหม่ย์ (Pan Mei) เป็นอัครมหาเสนาบดีในช่วงต้น ราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นคนที่หยิ่งในศักดิ์ศรีหลงในอำนาจจึงทำให้เขาเป็นศัตรูกับหยาง เย่แม่ทัพใหญ่ ผู้จงรักภักดีและซื่อสัตย์ พัน เหม่ย์เป็นบุคคลสำคัญในความเชื่อเรื่องขุนศึกตระกูลหยาง หมวดหมู่:ขุนศึกตระกูลหยาง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพัน เหม่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร

ัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร หรือ อุทยานมังกรสวรรค์ สร้างขึ้นตามความต้องการของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เริ่มออกแบบและจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรขึ้นภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อนำเสนอเรื่องราวความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย ตลอดจนประวัติศาสตร์และอารยธรรมจีน เพื่อเป็นอนุสรณ์สัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน ครบ 20 ปีใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์เมืองซูโจว

Logo of Suzhou Museum Suzhou Museum (2010) พิพิธภัณฑ์เมืองซูโจว (อังกฤษ: Suzhou Museum) เป็นพิพิธภัณฑสถานซึ่งจัดแสดงศิลปะจีนโบราณ (Chinese art) ภาพวาดจีนโบราณ (Chinese paintings) อักษรจีนวิจิตร (Chinese calligraphy) และงานฝีมือประดิษฐ์ต่าง ๆ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 204 ถนนตงเป่ย เมืองซูโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน เปิดให้เข้าชมฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพิพิธภัณฑ์เมืองซูโจว · ดูเพิ่มเติม »

กวนอู

กวนอู เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เกิดเมื่อวันที่ 24 เดือนมิถุนายน จีนศักราชเอี่ยงฮี ปี พ.ศ. 704 ในรัชกาลฮั่นฮวนเต้ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เดือนกรกฎาคม จีนศักราชเคี่ยงเซ้ง ปี 763 ในรัชกาลฮั่นเหี้ยนเต้ มีชื่อรองว่า "หุนเตี๋ยง" (Yunchang) เป็นชาวอำเภอไก่เหลียง ลักษณะตามคำบรรยายในวรรณกรรมสามก๊ก กวนอูเป็นผู้มีรูปร่างสูงใหญ่ 9 ฟุตจีนหรือประมาณ 6 ศอก ใบหน้าแดงเหมือนผลพุทราสุก นัยน์ตายาวรี คิ้วดั่งหนอนไหม หนวดเครางามถึงอก มีง้าวรูปจันทร์เสี้ยว ยาว 11 ศอก หนัก 82 ชั่ง เป็นอาวุธประจำกายเรียกว่า ง้าวมังกรเขียว หรือง้าวมังกรจันทร์ฉงาย ในจินตนาการของศิลปินมักวาดภาพหรือปั้นภาพให้กวนอูแต่งกายด้วยชุดสีเขียวและมีผ้าโพกศีรษะ กวนอูมีความเชี่ยวชาญและเก่งกาจวิทยายุทธ จงรักภักดี กตัญญูรู้คุณ มีคุณธรรมและซื่อสัตย์เป็นเลิศ ในวัยหนุ่มฉกรรจ์กวนอูได้พลั้งมือฆ่าปลัดอำเภอและน้าชายตายจนต้องหลบหนีการจับกุมกวนอู ตัวละครสำคัญในสามก๊ก, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกวนอู · ดูเพิ่มเติม »

กอล์ฟ

ลูกกอล์ฟและหลุมกอล์ฟ กอล์ฟ คือกีฬาหรือเกมประเภทบอลชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นใช้ไม้หลายชนิดตีลูกบอลให้ลงหลุม จากกฎของกอล์ฟ ระบุว่า "กีฬากอล์ฟประกอบด้วยการเล่นลูกใดลูกหนึ่งด้วยไม้กอล์ฟจากแท่นตั้งทีไปลงหลุมโดยการสโตรคหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งต่อเนื่องกันตามกฎข้อบังคับ" กอล์ฟเป็นหนึ่งในกีฬาประเภทบอลเพียงไม่กี่ชนิดที่ไม่มีอาณาเขตการเล่นที่แน่นอน (สนามกอล์ฟแต่ละแห่งสามารถมีรูปร่างและขนาดต่างกัน) ต้นกำเนิดของกอล์ฟนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ระหว่างเนเธอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และจีน โดยมีการเล่นกอล์ฟมาแล้วอย่างน้อยห้าศตวรรษในหมู่เกาะบริเตน กอล์ฟในรูปแบบปัจจุบันได้มีการเล่นในสกอตแลนด์ตั้งแต่พ.ศ. 2215.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกอล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองทวีปยุโรปของมองโกล

ทธการโมฮี การรุกรานของมองโกลในยุโรป (Mongol invasion of Europe) จุดมุ่งหมายของการรุกรานของมองโกลภายใต้การนำของซูบูไท (Subutai) คือการทำลายราชนครรัฐต่างๆ ของสลาฟตะวันออกเช่นจักรวรรดิเคียฟรุส และ จักรวรรดิวลาดิเมียร์-ซุสดา (Vladimir-Suzda) หลังจากนั้นมองโกลก็รุกรานราชอาณาจักรฮังการี (ในยุทธการโมฮี) และบริเวณต่างๆ ในโปแลนด์ การโจมตีฮังการีนำโดยบาตู ข่าน (Batu Khan) หลานของเจงกีส ข่าน และโปแลนด์นำโดยคาดาน หลานของเจงกีส ข่านเช่นกัน แต่แผนการรุกรานทั้งสองมาจากซูบูไท ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 นักประวัติศาสตร์ยังคงโต้แย้งกันว่าการรุกรานของมองโกลในยุโรปตะวันออกมีความสำคัญพอที่จะการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มทางประวัติศาสตร์หรือไม่ นักประวัติศาสตร์การทหารส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นการกระทำที่ต้องการที่จะสร้างความตระหนกให้แก่มหาอำนาจของโลกตะวันตกเพื่อไม่ให้เข้ามายุ่งเกี่ยวกับกิจการของมองโกลในยุโรปตะวันออกโดยเฉพาะในรัสเซีย หลักฐานมิได้สนับสนุนความคิดที่ว่าบาตู ข่านต้องการที่จะรักษาความมั่นคงในบริเวณพรมแดนทางด้านตะวันตกของชัยชนะที่ได้รับต่อรัสเซีย และเมื่อหลังจากการเข้าทำลายฮังการีและโปแลนด์อย่างรวดเร็วแล้วเท่านั้นที่บาตู ข่านเริ่มจะคิดถึงการรุกรานยุโรปตะวันตก สำหรับมองโกลการรุกรานยุโรปเป็นเพียงหนึ่งในสงครามสามด้านของการรณรงค์ที่รวมทั้งตะวันออกกลางและดินแดนของราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการบุกครองทวีปยุโรปของมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

การรัดเท้า

การรัดเท้า (foot binding) เป็นจารีตที่ให้รัดเท้าของหญิงสาวให้คับแน่น เพื่อมิให้นิ้วเท้างอกขึ้นได้อีก เท้าที่ถูกบีบรัดนั้นจะได้มีสัณฐานเรียวเล็กคล้ายดอกบัว เรียกว่า "บัวทองสามนิ้ว" ("three-inch golden lotus") การประพฤติเช่นนี้เชื่อว่าเริ่มในหมู่ชนชั้นสูงที่เป็นนางระบำรำฟ้อนในราชสำนักจีนช่วงห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร (คริสต์ศตวรรษที่ 10 หรือ 11) แล้วจึงเป็นที่นิยมขึ้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ก่อนจะแพร่หลายทั่วไปในชาวจีนทุกชนชั้น ในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงชั้นวรรณะ (เพราะสตรีที่ครอบครัวมีอันจะกินและไม่จำต้องใช้เท้าทำงานเท่านั้นจึงจะรัดเท้าได้) และเป็นเครื่องหมายแห่งความงามในวัฒนธรรมจีนโบราณ ทว่า ความนิยมและวิธีปฏิบัตินั้นผิดแผกกันไปในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศจีน ในปี 1664 พระเจ้าคังซีทรงพยายามจะห้ามมีการรัดเท้าอีกต่อไป แต่ไม่เป็นผล ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ชาวจีนนักปฏิรูปหลายคนท้าทายจารีตนี้แต่ก็ไร้ผล แม้ซูสีไทเฮามีพระเสาวนีย์ห้ามการรัดเท้าเป็นเด็ดขาด ก็ล้มเหลวเช่นกัน อย่างไรก็ดี กิจกรรมต่อต้านการรัดเท้าที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องสืบ ๆ มาช่วยให้การรัดเท้าสิ้นสูญไปเมื่อต้นศตวรรษที่ 20 การรัดเท้าทำให้ผู้ถูกรัดต้องพิการชั่วชีวิต หญิงชราชาวจีนบางคนซึ่งเคยถูกรัดเท้าและมีชีวิตอยู่ในเวลานี้ต้องเผชิญความลำบากหลายประการเพราะความพิกลพิการอันเนื่องมาจากถูกรัดเท้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการรัดเท้า · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล

การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพของจักรวรรดิมองโกล เข้ารุกรานญี่ปุ่นสองครั้ง ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

การสอบขุนนาง

การสอบขุนนาง (imperial examination) เป็นระบบการสอบคัดเลือกข้าราชการพลเรือนในประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อสอบบรรจุข้าราชการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับระบบราชการของรัฐ ในการสอบใช้ข้อสอบแบบวัตถุวิสัย (objective) เพื่อประเมินการได้รับความรู้และคุณธรรมของผู้เข้าสอบ ผู้สอบได้จะได้รับวุฒิ จิ้นชื่อ แปลว่า "บัณฑิตชั้นสูง" (advanced scholar) (ซึ่งอาจเทียบได้กับปริญญา ดุษฎีบัณฑิต หรือปริญญาเอกในระบบการศึกษาสมัยใหม่ ซึ่งถือเป็นชั้นสูงสุด) รวมถึงปริญญาชั้นอื่น ๆ แล้วจะได้รับการประเมินเพื่อบรรจุเข้าดำรงตำแหน่งต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วผู้ที่ได้รับวุฒิจิ้นซี่อในการสอบขุนนางนั้นจะได้รับการแต่งตั้งเป็นข้าราชการระดับสูงแห่งราชสำนัก ตำแหน่งที่ได้รับจะเรียงตามลำดับผลคะแนนที่สอบได้ ผู้ที่สอบได้คะแนนสูงกว่าจะได้รับตำแหน่งที่ดีกว่า นอกจากนั้นองค์จักรพรรดิหรือจักรพรรดินีจะทรงให้ความสนใจเป็นพิเศษกับผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ด้วยพื้นฐานจากปรัชญาลัทธิขงจื้อ การสอบขุนนางนี้โดยทฤษฎีแล้วมุ่งทดสอบและคัดเลือกบุคคลด้วยคุณธรรม จึงมีอิทธิพลต่อประเทศจีนทั้งในด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ทั้งยังมีส่วนให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในการคานอำนาจในช่วงราชวงศ์ถัง ราชวงศ์โจวของพระนางบูเช็กเทียน (Wu Zetian) และราชวงศ์ซ่ง ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังส่งผลเป็นการหลอมรวมโครงสร้างทางสังคมไว้เป็นเวลานาน อนึ่ง มีหลายครั้งที่การสอบทำให้อภิชนบางกลุ่มถูกแทนที่ด้วยบุคคลจากชั้นรากหญ้า หลายดินแดนในทวีปเอเชีย เช่น ประเทศเวียดนาม ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น และรีวกีว (Ryūkyū) รับระบบการสอบนี้มาใช้เพื่อคัดเลือกบุคคลระดับหัวกะทิ เพื่อรักษาเป้าหมายทางอุดมคติและทรัพยากร กับทั้งเพื่อส่งเสริมวรรณกรรมและการเล่าเรียน เนื่องจากการจัดการสอบเป็นส่วนหนึ่งของระบบทะเบียนหลวง วันที่ได้รับการประสาทวุฒิจิ้นชื่อ จึงมักเป็นข้อมูลที่ชัดเจนส่วนหนึ่งที่ระบุไว้ในชีวประวัติบุคคลสำคัญสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ต่อ ๆ มา ในประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการสอบขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน

การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน (privatization) เป็นกรณีหรือกระบวนการโอนความเป็นเจ้าของธุรกิจ วิสาหกิจ หน่วยงาน บริการสาธารณะหรือทรัพย์สินจากภาครัฐ (รัฐหรือรัฐบาล) มาเป็นภาคเอกชน (ธุรกิจซึ่งดำเนินการเพื่อกำไรส่วนตน) หรือองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน คำดังกล่าวยังใช้ในความหมายที่แตกต่างออกไปด้วย โดยหมายถึง การที่รัฐบาลจ้างบริษัทเอกชนทำงานแทน เช่น การเก็บรายได้และภาษีอากร การบังคับใช้กฎหมาย การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการเรือนจำหรือสถานคุมขังกักกัน การแปรรูปกิจการของรัฐโดยทั่วไปเชื่อกันว่าจะเพิ่มผลผลิต กำไรและประสิทธิภาพขององค์การที่ถูกแปรรูป.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน · ดูเพิ่มเติม »

การเชิดมังกร

การเชิดมังกร (หวู่หลง) เป็นรูปแบบการเต้นรำที่สืบทอดมาและถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของวัฒนธรรมจีน เหมือนกับการเชิดสิงโต มักจะพบเห็นในการฉลองเทศกาลต่าง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการเชิดมังกร · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กิมย้ง

thumb กิมย้ง หรือชื่อจริง จา เลี้ยงย้ง (Louis Cha Leung-yung) เป็นนักเขียนนิยายกำลังภายในที่ได้รับความนิยมมาก มักเขียนนิยายโดยแฝงเนื้อหาทางการเมืองบางอย่างไว้ โดยเฉพาะการวิจารณ์ระบบกษัตริย์ พรรคคอมมิวนิสต์ และลัทธิเชื้อชาติฮั่นเป็นใหญ่ กิมย้งมีหนังสือพิมพ์เป็นของตัวเอง ชื่อ หมิงเป้า (明報) ปัจจุบัน กิมย้ง ยังมีชีวิตอยู่ และดูแลกิจการหนังสือพิม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกิมย้ง · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

กู่

กู่ หรือ จินฉาน ("หนอนไหมทอง") เป็นพิษซึ่งได้มาจากสัตว์พิษตามความเชื่อทางภาคใต้ของประเทศจีนโดยเฉพาะแถบหนานเยฺว่ ทำขึ้นโดยนำสัตว์พิษชนิดต่าง ๆ (เช่น ตะขาบ งู แมลงป่อง) ใส่ลงในภาชนะ แล้วปิดผนึก ปล่อยให้สัตว์เหล่านั้นบริโภคกันเอง ตัวสุดท้ายที่รอดมาเพียงหนึ่งเดียวเชื่อว่า มีพิษร้ายแรงที่สุด มักนำมาใช้ในกิจกรรมทางไสยศาสตร์ เช่น ฆ่าคน ทำร้ายคน หรือก่อโรคภัยไข้เจ็บ คติชนจีนยังเชื่อว่า วิญญาณของกู่สามารถกลายร่างเป็นสัตว์หลายชนิด เช่น หนอน บุ้ง ตะขาบ งู กบ สุนัข หรือสุกร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกู่ · ดูเพิ่มเติม »

กงไฉ่

กงไฉ่ (Gong cai; 貢菜) เป็นผักดองแบบจีนที่เป็นที่นิยมตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซ้อง นำใจผักของผักโสภณมาหั่นเป็นชิ้น ตากแดดให้สลด นำไปเคล้าเกลือ ทับด้วยของหนักจนแห้ง จากนั้นนำมานวดกับน้ำตาล เกลือ เหล้าจีน ข่าป่น เต้าซี่ อัดใส่ขวดไว้ 1 เดือน จึงรับประทานได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกงไฉ่ · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรศักดิ์จีน

นชั้นฐานันดรจีน ประกอบด้วย กษัตริย์และขุนนางของจักรวรรดิจีน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญขององค์การทางการเมืองและสังคมตามประเพณีจีน แม้ว่าแนวคิดเรื่องฐานันดรศักดิ์แบบสืบตระกูลจะปรากฏมาแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นอย่างน้อย แต่ระบบฐานันดรศักดิ์ที่แน่นอนนั้นมีขึ้นครั้งแรกในช่วงราชวงศ์โจว หลายพันปีให้หลัง ระบบดังกล่าวเปลี่ยนแปลงรูปแบบค่อนข้างน้อย แต่เนื้อหาสาระมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง รูปแบบฐานันดรศักดิ์ชุดท้ายสุดมีอยู่ในสมัยราชวงศ์ชิง จนถูกล้มเลิกไปเมื่อเกิดการปฏิวัติซินไฮ่ของกลุ่มนิยมสาธารณรัฐเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและฐานันดรศักดิ์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ฝูหวา

ตุ๊กตาสัตว์นำโชคประจำโอลิมปิก 2008 ทั้ง 5 ได้แก่ปลา แพนด้า หนูน้อยลูกไฟ ละมั่งทิเบต และนกนางแอ่น ฝูหวา คือมาสคอตประจำมหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี 2008 ประกอบด้วยตัวหมีแพนด้าที่แต่งตัวเป็นปลาชื่อเป้ยเป่ยมีสีฟ้า แพนด้าชื่อจิงจิงมีสีดำ หนูน้อยลูกไฟชื่อฮวานฮวานมีสีแดง ละมั่งทิเบตชื่ออิ่งอิ๋งมีสีส้ม และนกนางแอ่นชื่อหนีหนี่มีสีเขียว มาสคอตในโอลิมปิกครั้งนี้ถือว่ามีมากที่สุดเท่าที่เคยมีมา ซึ่งมีมากถึง 5 ตัว มาสคอตทั้ง 5 ตัวเป็นพี่น้องกัน มีชื่อเรียงกันจากพี่คนโตถึงน้องคนเล็กว่า เป้ยเป่ย จิงจิง ฮวานฮวาน อิ๋งอิ๋ง หนีหนี่ เมื่อนำชื่อพยางค์ของแต่ละตัวมารวมกัน ก็จะเป็นคำว่า “เป่ยจิงฮวนอิ๋งหนี่” (北京欢迎你, Běijīng huānyíng nǐ) แปลว่า “ปักกิ่งขอต้อนรับท่าน” หลังจากที่ฝูหวาถูกนำออกวางจำหน่ายในท้องตลาด ก็ได้รับความนิยมจากชาวจีนเป็นอย่างมาก ภายในเวลาไม่ถึงครึ่งเดือน สินค้าชนิดนี้ก็ขาดตลาด แต่ก็เป็นนิมิตหมายที่ดีของสัญลักษณ์โอลิมปิกในปักกิ่งเกมส์ว่าจะนำรายได้จำนวนมหาศาลมาสู่จีน อย่างไรก็ดี ความนิยมชมชอบของชาวจีนจำนวนมาก ก็เป็นเหตุผลให้มีผู้ดัดแปลงฝูหวาเป็นรูปลักษณ์อื่นๆที่แตกต่างไปจากรูปที่เป็นทางการ โดยส่วนหนึ่งทำขึ้นเพื่อล้อเลียนประเทศจีน หรือการแข่งขันโอลิมปิกในครั้งนี้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและฝูหวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเงินเฟ้อ

อัตราเงินเฟ้อทั่วโลกในปี 2550 ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าหรือบริการในระยะเวลาหนึ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ภาวะเงินเฟ้อมีผลต่อเศรษฐกิจทั้งบวกและลบ ผลเสียที่เกี่ยวข้องกับภาวะเงินเฟ้อรวมถึงการเพิ่มของต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไม่ใช้เงินและการทำให้ผู้บริโภคกักตุนสินค้าเนื่องจากประเมินว่าราคาจะเพิ่มขึ้นในอนาคต (หากอัตราเงินเฟ้อเพิ่มอย่างรวดเร็ว) ผลเชิงบวกของอัตราเงินเฟ้อมีดังนี้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและภาวะเงินเฟ้อ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นผูเซียน

ษาหมิ่นผูเซียน (Puxian Min; อักษรจีนตัวย่อ: 莆仙话; อักษรจีนตัวเต็ม: 莆仙話; พินอิน: Púxiān huà) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาจีนหมิ่น คำว่าผูเซียนเป็นการรวมกันของชื่อเมืองสองเมืองคือเมืองผูเทียน (莆田市) และเมืองเซียนโยว (仙游县) ส่วนใหญ่ใช้พูดในมณฑลฝูเจี้ยน และมีประชาชนมากกว่า 2000 คนพูดภาษานี้ในชาเฉิง เมืองฟูติง (福鼎) ทางเหนือของฝูเจี้ยน มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษาในเมืองผูเทียนและเซียนโยว มีชาวจีนโพ้นทะเลที่พูดภาษาจีนหมิ่นสำเนียงนี้ในมาเลเซียและสิงคโปร์ ซึ่งเรียกว่าซิงฮว่า (อักษรจีนตัวย่อ: 兴化; อักษรจีนตัวเต็ม: 興化; พินอิน: Xīnghuà).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและภาษาหมิ่นผูเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาเอ๋อเหมย์และพระพุทธรูปเล่อชาน

ูเขาเอ๋อเหมย์และพระพุทธรูปเล่อชาน คือแหล่งมรดกโลกแบบผสม ตั้งอยู่ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ภูเขาเอ๋อเหมย์เป็นพุทธสถานที่สำคัญที่มีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น และเจริญสูงสุดในสมัยราชวงศ์ซ่ง ส่วนพระพุทธรูปเล่อชานนั้นเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่มากสลักอยู่บนผาที่เริ่มสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและภูเขาเอ๋อเหมย์และพระพุทธรูปเล่อชาน · ดูเพิ่มเติม »

มังกรหยก

มังกรหยก (อักษรจีนตัวเต็ม: 射鵰英雄傳; อักษรจีนตัวย่อ: 射雕英雄传; พินอิน: shè diāo yīng xióng zhuàn) เป็นนิยายกำลังภายใน แต่งโดยกิมย้ง มีภาคต่อในชุดเดียวกันอีกสองภาค คือ มังกรหยก ภาค 2 และดาบมังกรหยก แต่ชื่อเรื่องภาษาจีนและภาษาอังกฤษนั้นแยกกันเป็นคนละเรื่อง (ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ คือ The Legend of the Condor Heroes หรือ The Eagle-Shooting Heroes) ฉบับแปลภาษาไทยมีหลายสำนวน ยึดตามฉบับที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องแปลโดย น.นพรัตน์ ใช้ชื่อว่า ก๊วยเจ๋งยอดวีรบุรุษ จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ความยาว 4 เล่มจบ และได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายครั้ง รวมถึงวิดีโอเกม ด้วย ประกอบด้วยกัน 3 ภาค ได้แก่ ก๊วยเจ๋ง เอี๊ยก้วย และเตียบ่อกี้ ก๊วยเจ๋งและเอี๊ยก้วยเป็นภาคต่อกัน แต่ภาคเตียบ่อกี้ เป็นอีกหลายๆปีข้างหน้าต่อจากเอี๊ยก้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

มังกรหยก ศึกสองจ้าวยุทธจักร

มังกรหยก ศึกสองจ้าวยุทธจักร (The Condor Heroes Return) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1993 ออกอากาศในปี ค.ศ. 1994 อิงเรื่องราวมาจากวรรณกรรมชิ้นเอกของจีนเรื่อง มังกรหยก และ ของกิมย้งนำแสดงโดย เจิ้ง อี้เจี้ยน, มาร์โก หงาย ออกอากาศทางช่อง 3 แฟมิลี่ เป็นตอนแรกในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและมังกรหยก ศึกสองจ้าวยุทธจักร · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลฝูเจี้ยน

มณฑลฝูเจี้ยน หรือ มณฑลฮกเกี้ยน (จีน: 福建省 Fujian) เป็นมณฑลชายฝั่งทะเลที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน อาณาเขตทางภาคเหนือติดกับมณฑลเจ้อเจียง ภาคใต้ติดกับมณฑลกวางตุ้ง ภาคตะวันออกติดกับช่องแคบไต้หวัน ชื่อฝูเจี้ยนมาจากอักษรนำหน้าชื่อเมืองสองเมืองรวมกันคือฝูโจวและเจี้ยนโอว ชื่อนี้ได้รับการตั้งในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและมณฑลฝูเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดขุนศึกวีรบุรุษตระกูลหยาง

อดขุนศึกวีรบุรุษตระกูลหยาง หรือ วีรบุรุษตระกูลหยาง (Warriors of The Yang Clan) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2547 ผลิตโดย ซีทีวี ของจีน ร่วมมือกับผู้ผลิตจากสามชาติ โดยใช้ทั้งแสดงทั้งชาวจีน ไต้หวัน ฮ่องกง และเกาหลี โดยมีโครงเรื่องจากขุนศึกตระกูลหยาง ในประเทศไทยออกอากาศทางช่อง 3 ในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 02.30-04.00น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและยอดขุนศึกวีรบุรุษตระกูลหยาง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีบักดั่ง (ค.ศ. 1288)

ทธนาวีบักดั่ง ยุทธนาวีบักดั่ง (Battle of Bạch Đằng) เป็นสงครามเรือระหว่างมองโกลและไดเวียดหรือเวียดนามในปัจจุบัน ที่แสดงแสนยานุภาพของกองเรือเล็ก ๆ อย่างไดเวียด ว่าทำลายกองเรือที่ทรงอานุภาพของมองโกลลงได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและยุทธนาวีบักดั่ง (ค.ศ. 1288) · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมุโระมะชิ

มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและยุคมุโระมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิน

ราชวงศ์จิน เป็นราชวงศ์ที่ถูกก่อตั้งโดยชนเผ่าหนี่เจิน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพวกแมนจู ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง (แก้ความกำกวม)

ราชวงศ์ซ่งเป็นราชวงศ์โบราณที่เคยปกครองจีนมีอยู่ 2 ราชวงศ์ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์ซ่ง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วโจว (ค.ศ. 951 - 960) ราชวงศ์ที่ 5 และราชวงศ์สุดท้ายในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร จักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์นี้คือจักรพรรดิโจวไท่จู่ ราชวงศ์นี้ปกครองจีนอยู่เพียง 9 ปีก่อนที่ เจ้ากวงยิ่น (จักรพรรดิซ่งไท่จู่) จะโค่นล้มราชวงศ์โฮ่วโจว และสถาปนาราชวงศ์ซ่งเหนือ ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์โจวยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียว

ราชวงศ์เหลียว (Liao Dynasty; ชี่ตัน: Mos Jælud; มองโกล: Ляо Улс/Lyao Uls) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิชี่ตัน (Khitan Empire; ชี่ตัน: Mos diau-d kitai huldʒi gur; มองโกล: Хятан (Khyatan) Гүрэн, Кидан (Kidan) Гүрэн) เป็นชื่อจักรวรรดิหนึ่งในเอเชียตะวันออก มีอำนาจในมองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลบางส่วนของรัสเซีย เกาหลีเหนือ และภาคเหนือของจีนส่วนในตั้งแต่ปี 907 ถึง 1125 พระเจ้าไท่จู่ (Taizu) ข่านแห่งชาวชี่ตัน สถาปนาจักรวรรดินี้ขึ้นหลังจากราชวงศ์ถังของประเทศจีนล่มสลาย และไม่ช้าไม่นานหลังก่อตั้งขึ้น ราชวงศ์เหลียวก็เริ่มขยายดินแดน โดยพระเจ้าไท่จู่ทรงเอาชัยเหนือพวกพัลแฮ (Balhae) เป็นผลสำเร็จ พระเจ้าแผ่นดินองค์ถัด ๆ มายังทรงได้สิบหกมณฑลของจีนไว้โดยใช้วิธียุแยงให้รัฐที่สามส่งการก่อกวนเข้ามา แล้วราชวงศ์เหลียวจึงคอยตีกิน ทำให้ราชวงศ์ถังอวสานลง และราชวงศ์โครยอ (Goryeo) แห่งเกาหลี กับราชวงศ์ซ่ง (Song) แห่งจีน ตกเป็นเมืองออกของราชวงศ์เหลียวในที่สุด คำว่า "เหลียว" นี้ในภาษาจีนหมายความว่า ห่าง หรือไกล จุดเด่นของราชวงศ์เหลียว คือ ความตึงเครียดระหว่างจารีตประเพณีทางสังคมและการเมืองแบบชี่ตันกับแบบจีนซึ่งนำไปสู่วิกฤติการณ์ทางการสืบสันตติวงศ์ เพราะพระเจ้าแผ่นดินเหลียวฝักใฝ่คติบุตรหัวปีเป็นใหญ่ตามแบบจีน แต่ผู้ลากมากดีชาวชี่ตันส่วนใหญ่นิยมประเพณีที่ให้ผู้แข็งแกร่งที่สุดสืบเชื้อสาย ความแตกต่างกันระหว่างจารีตประเพณีชี่ตันและจีนนี้ยังเป็นเหตุให้พระเจ้าไท่จู่แห่งราชวงศ์เหลียวทรงตั้งการปกครองสองแบบขนานกัน ภาคเหนือซึ่งเป็นอาณาเขตชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีชี่ตัน ภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ไม่ใช่ชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีจีน ความแตกต่างทางสังคมแบบชี่ตันกับแบบจีนยังได้แก่ บทบาทของบุคคลแต่ละเพศและยุทธวิธี ชาวชี่ตันเห็นว่า บุคคลเสมอภาคกันไม่ว่าเพศใด ขณะที่ประเพณีทางวัฒนธรรมจีนถือว่า สตรีต้องอยู่ในโอวาทบุรุษ ฉะนั้น หญิงชี่ตันจึงเล่าเรียนการรบ ทั้งยังจัดการทรัพย์สินครัวเรือน และดำรงตำแหน่งทางทหาร ทั้งยังไม่มีการคลุมถุงชน ตลอดจนสตรีไม่จำต้องครองความบริสุทธิ์ทางเพศไว้จนถึงการสมรสครั้งแรก กับมีสิทธิที่จะหย่าและสมรสใหม่ด้วย ในปี 1125 ชาวนฺหวี่เจิน (Jurchen) จากราชวงศ์จิน (Jin) ของพวกแมนจู จับกุมพระเจ้าเทียนจั้ว (Tianzuo) แห่งเหลียวไว้ได้ และทำลายราชวงศ์เหลียวลงสิ้น แต่ชาวชี่ตันที่ยังเหลืออยู่มีเยลฺวี่ ต้าฉือ (Yelü Dashi) เป็นผู้นำ พากันก่อตั้งราชวงศ์ใหม่เรียกว่า "เหลียวตะวันตก" (Western Liao) ปกครองกันอยู่ในเอเชียกลางบางส่วนเป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งศตวรรษ ก่อนจะถูกทัพพระเจ้าไท่จู่ (Taizu) แห่งราชวงศ์หยวนของพวกมองโกล เข้ายึดครอง แม้ความสำเร็จทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์เหลียวจะสลักสำคัญ กับทั้งเครื่องปั้นและศิลปวัตถุอื่น ๆ ก็มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์และสถานสะสมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก แต่สภาพที่แท้จริงและขอบข่ายของอิทธิพลที่วัฒนธรรมเหลียวมีต่อพัฒนาการในระยะหลัง ๆ เช่น ด้านศิลปะการแสดงและการสังคีตนั้น ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์เหลียว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543

นี้คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราช

มหาราช (The Great) เป็นชื่อต่อท้ายพระนามของกษัตริย์หรือผู้ปกครองที่ได้ทำภารกิจอย่างมากมายช่วยเหลือผู้คนทั้งด้านการรบ การแก้ไขปัญหาภายในประเทศ การรักษาเอกราชของประเทศ คงไว้ด้วยความยุติธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ดี ในกลุ่มคนที่พูดภาษานั้น ๆ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น "มหาราช" เขียนไว้ที่ท้ายพระนาม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ปกครองจีนอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดินีจีน

ในจักรวรรดิจีน จักรพรรดินี เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในจักรพรรดิจีน และ จักรพรรดินีพันปีหลวง เป็นพระอิสริยยศของพระราชชนนีในจักรพรรดิจีนพระองค์ปัจจุบันหรือพระองค์ก่อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายพระนามจักรพรรดินีจีน · ดูเพิ่มเติม »

ลหฺวี่ ต้งปิน

right ลหฺวี่ ต้งปิน เป็นสมาชิกแปดเทพในลัทธิเต๋า และเป็นนักรสายนเวทซึ่งมีชีวิตอยู่จริงในสมัยราชวงศ์ซ่งตามความใน พงศาวดารซ่ง (Book of Song) ส่วนในศิลปกรรมนั้น ลหฺวี่มักได้รับการแสดงภาพเป็นบัณฑิตชายเหน็บกระบี่กายสิทธิ์ไว้ที่หลัง กระบี่นี้มีอำนาจขับไล่ภูตผีปิศาจ หมวดหมู่:แปดเทพ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและลหฺวี่ ต้งปิน · ดูเพิ่มเติม »

วัดขงจื๊อ สุสานขงจื๊อ และจวนตระกูลขงในชฺวีฟู่

วัดขงจื๊อ สุสานขงจื๊อ และจวนตระกูลขงในชฺวีฟู่ (Temple and Cemetery of Confucius and the Kong Family Mansion in Qufu) คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในเมืองชฺวีฟู่ มณฑลชานตง ประเทศจีน สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและวัดขงจื๊อ สุสานขงจื๊อ และจวนตระกูลขงในชฺวีฟู่ · ดูเพิ่มเติม »

วีลาร์ เดอ ออนกูร์

คาดว่าเป็นภาพของวีลาร์ เดอ ออนกูร์ จาก The Portfolio of Villard de Honnecourt (ราวปี 1230) วีลาร์ เดอ ออนกูร์ (Villard de Honnecourt) เป็นสถาปนิกและนักประดิษฐ์ ที่มีชีวิตอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ณ เมือง Picardy ทางเหนือของฝรั่งเศส ออนกูร์ได้รับการยกย่องจากผลงานที่หลงเหลือไว้เพียงแต่ในกระดาษของเขา โดยมีทั้งหมด 33 แผ่น ซึ่งประกอบไปด้วยแบบก่อสร้าง 250 ชิ้น ซึ่งเขียนขึ้นในช่วงทศวรรษ 1230 (ปัจจุบันถูกเก็บบันทึกไว้ที่หอสมุดแห่งชาติฝรั่งเศส (Bibliothèque Nationale, Paris) แบบที่พบนั้น เป็นแบบของทั้งสถาปัตยกรรม แบบรูปด้าน เครื่องกล งานศิลปะ รวมทั้งรูปของคนและสัตว์ด้วย สิ่งที่น่าสนใจที่สุดที่พบคือ แบบของเครื่องเลื่อยไม้ที่ใช้พลังงานต่อจากกังหันลม เครื่องยกที่คล้าย ๆ กับลิฟต์ เครื่องกลที่ใช้ระบบฟันเฟืองต่าง ๆ (แบบเดียวกับที่ค้นพบในจีน สมัยราชวงศ์ซ่ง) โดยบันทึกของออนกูร์นี้ เป็นบันทึกที่เก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับระบบเครื่องกลฟันเฟืองที่พบได้ในโลกตะวันตก ออนกูร์ได้ทำการท่องเที่ยวไปมากมายหลาย ๆ ที่เพื่อศึกษาสถาปัตยกรรม โดยมีการบันทึกการเดินทางโดยละเอียดทั้งในลักษณะของตัวอักษรและภาพ หนึ่งในข้อมูลที่น่าสนใจคือ ภาพร่าง (Sketch) ของหอระฆังโบสถ์แห่งเมือง Laon และโถงกลาง (nave) ของโบสถ์แห่งเมืองแรงส์ ในขณะที่กำลังได้รับการก่อสร้าง ซึ่งได้กลายมาเป็นข้อมูลสำคัญในการทำการศึกษาสถาปัตยกรรมรูปแบบไฮกอทิก (High Gothic Architecture) ออนกูร์ ออนกูร์.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและวีลาร์ เดอ ออนกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนจัวเจิ้ง

วนจัวเจิ้ง (Humble Administrator’s Garden) เป็นสวนที่มีชื่อเสียงมากแห่งหนึ่งในเมืองซูโจว และด้วยพื้นที่ขนาด 51,950 ตารางเมตร สวนจัวเจิ้งจึงเป็นสวนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในซูโจว ตั้งอยู่เลขที่ 178 ถนนตงเป่ย (东北街178号) ทางตะวันออกของเมือง และยังเป็น 1 ใน 4 ของสวนที่สำคัญที่สุดของประเทศจีน คำว่า "จัวเจิ้ง" หมายถึง สวนของขุนนางผู้ถ่อมตน สร้างขึ้นตามแบบสวนจีนที่ได้รับการยกย่องให้เป็นสวนที่มีความประณีตงดงามมากที่สุดในทางตอนใต้ของประเทศจีน และได้รับการบันทึกเป็นมรดกโลกโดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสวนจัวเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สวนจี้ชั่ง

วนจี้ชั่ง (Jichang Garden) ตั้งอยู่ถนนเขาฮุ่ย (Huishan Street) ในสวนซีฮุ่ย (锡惠公园) ทางตะวันออกของเขาฮุ่ย (惠山) ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกในแถบชานเมืองอู๋ซี มณฑลเจียงซู ประเทศจีน และยังตั้งอยู่ใกล้กับวัดการุญบรรพต (惠山寺) สวนจี้ชั่งมีชื่อเสียงว่าเป็นสวนจีนโบราณในภาคใต้ของประเทศจีน และได้รับการบันทึกให้เป็นมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชาติเมื่อวันที่ 13 มกราคม 1988 มีสวนหลายแห่งที่ใช้สวนจี้ชั่งเป็นต้นแบบ เช่น สวนสราญรมย์ (谐趣园) ในพระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน (颐和园) และสวนกั้วหรันต้ากง (廓然大公) หรือหอกระเรียนคู่ (双鹤斋) ในพระราชวังฤดูร้อนหยวนหมิงหยวน (圆明园) เมืองปักกิ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสวนจี้ชั่ง · ดูเพิ่มเติม »

สวนป่าสิงโต

วนป่าสิงโต (อังกฤษ: Lion Grove Garden) หรือสวนซือจึ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 23 ถนนหยวนหลิน เขตผิงเจียง (Pingjiang District; 平江区) ในเมืองซูโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน เป็นสวนที่มีความโดดเด่นที่อาณาบริเวณขนาดกว้างใหญ่และมีหินประดับจากไท่หู (หรือทะเลสาบหู) อันสวยงามซับซ้อนที่จัดแต่งอยู่กลางสวน ชื่อของสวนได้มาจากลักษณะของหินประดับนี้ที่มีรูปร่างคล้ายสิงโต นอกจากนั้นสวนป่าสิงโตยังได้รับการบันทึกให้เป็นหนึ่งในสวนโบราณเมืองซูโจวที่เป็นมรดกโลกโดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) เช่นกัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสวนป่าสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สามสำนักหกกรม

มสำนักหกกรม เป็นระบบบริหารราชการส่วนกลางของจักรวรรดิจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสามสำนักหกกรม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักฉวนเจิน

ำนักฉวนเจิน (全真教) หรือฉวนเจินเต้า (全真道) เป็นลัทธิเต๋าสำนักหนึ่งที่นักพรตหวัง ฉงหยาง ก่อตั้งขึ้นทางตอนเหนือของจีนราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในสมัยราชวงศ์จิน เมื่อจักรวรรดิมองโกลรุกรานจีนสมัยราชวงศ์ซ่งในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสำนักฉวนเจิน · ดูเพิ่มเติม »

สิงอี้เฉวียน

งอี้เฉวียน เป็นหนึ่งในศิลปะต่อสู้ป้องกันตัวของบู๊ตึ๊ง คำว่า สิง (形) แปลว่า รูปลักษณ์ ส่วนคำว่า อี้ (意) หมายถึง จิต เมื่อรวมกันจึงเข้าใจได้ว่า มวยสิงอี้ให้ความสำคัญแก่การฝึกจิตสำนึกและรูปลักษณ์ ลักษณะของมวยสิงอี้คือการโจมตีเป็นเส้นตรงอย่างรุนแรงและทรงพลังในระยะสั้น ผู้ฝึกฝนมวยสิงอี้ใช้การเคลื่อนไหวประสานเพื่อสร้างพลังงานที่ใช้ในการเอาชนะคู่ต่อสู้ในขณะนั้นก็ป้องกันตัวพร้อมกับที่โจมตี รูปแบบวัธีจะแตกต่างกันไปตามสำนักแต่ทุกสำนักจะฝึกต่อสู้มือเปล่าโดยมีทั้งแบบเคลื่อนไหวเดียวและหลายรูปแบบ รวมถึงการฝึกฝนการใช้อาวุธที่มีระบบกระบวนท่าเดียวกับการฝึกต่อสู้มือเปล่า ความเข้าใจพื้นฐานในการเคลื่อนไหวร่างกายได้ถูกกำหนดจากการใช้ทวนหรือไม้พลอง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสิงอี้เฉวียน · ดูเพิ่มเติม »

สือดิบผู้จ่อง

ือดิบผู้จ่อง(古壮字 gǔ Zhuàngzì หรือ 方块壮字 fāngkuài Zhuàngzì)เป็นตัวอักษรพื้นเมืองของชาวจ้วงซึ่งเรียกตนเองว่าผู้จ่อง วิวัฒนาการมาจากอักษรจีนแบบเดียวกับอักษรจื๋อโนมที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยสือดิบหนึ่งตัวจะประกอบด้วยอักษรจีนสองตัว ตัวหนึ่งแทนเสียง อีกตัวหนึ่งแทนความหมาย เช่นคำว่า "นา" จะใช้อักษรจีนที่อ่านว่า "หน่า" ผสมกับตัวที่อ่านว่า "หลาย"ซึ่งหมายถึงนาในภาษาจีน มาสร้างเป็นตัวสือดิบอ่านเป็นภาษาจ้วงว่า "นา" เป็นต้น ต้นกำเนิดของอักษรสือดิบนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน นักวิชาการบางส่วนกล่าวว่ามีกำเนิดสมัยราชวงศ์ถัง บางส่วนกล่าวว่าเริ่มใช้ในสมัยราชวงศ์ซ้อง อย่างไรก็ตาม สือดิบไม่ได้มีสถานะเป็นอักษรราชการ เพราะชาวจ้วงอยู่ภายใต้การปกครองของจีน จึงใช้ภาษาจีนและอักษรจีนเป็นภาษาและอักษรราชการ ส่วนมากชาวจ้วงใช้สือดิบบันทึกเพลงและวรรณกรรมพื้นบ้าน เขียนจดหมายหรือใช้ในทางไสยศาสตร์ในแวดวงของหมอผีโดยใช้ปนกับอักษรจีน สือดิบจัดว่าเป็นอักษรที่ไม่ได้พัฒนามากนัก ปัจจุบันมีสือดิบเพียง 2,000 ตัวซึ่งถือว่าไม่เพียงพอต่อการใช้งานในฐานะอักษรภาพ นอกจากนั้น ภาษาจ้วงยังมีแตกต่างไปหลายสำเนียง แต่ละท้องถิ่น กำหนดสือดิบของตนขึ้นใช้โดยไม่มีสือดิบมาตรฐานสำหรับคนที่อยู่ต่างท้องที่กัน นอกจากนี้ การนำอักษรจีนมาใช้ปนกับสือดิบก็มีวิธีใช้ต่างกันไป บางครั้งนำมาใช้แทนเสียงโดยไม่คำนึงถึงความหมาย บางครั้งนำมาใช้โดยยึดความหมายแต่อ่านเป็นภาษาจ้วง ตัวอย่างเช่น อักษรจีนที่แปลว่า "ข้าพเจ้า" เมื่อนำมาใช้ในสือดิบจะใช้แต่ความหมาย โดยอ่านออกเสียงว่าเป็นภาษาจ้วงว่า "กู" เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสือดิบผู้จ่อง · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพบุรุษตระกูลหยาง

รุษตระกูลหยาง (Saving General Yang; จีนตัวเต็ม: 忠烈楊家將; จีนตัวย่อ: 忠烈杨家将; พินอิน: Zhōng Liè Yáng Jiā Jiàng) ภาพยนตร์ฮ่องกงออกฉายในกลางปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสุภาพบุรุษตระกูลหยาง · ดูเพิ่มเติม »

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย

นเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย (中华人民共和国驻泰王国大使馆) ตั้งอยู่เลขที่ 57 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สนมหลี่ (ซ่งเจินจง)

นมหลี่ (Consort Li; ค.ศ. 987–ค.ศ. 1032) เป็นสนมในพระเจ้าเจินจงแห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ และเป็นพระมารดาพระเจ้าเหรินจงผู้เสวยราชย์เป็นรัชกาลต่อมา แต่พระเจ้าเหรินจงทรงเข้าพระทัยว่า สนมหลิวเป็นพระราชมารดาของพระองค์มาตลอด ครั้นเมื่อสนมหลี่ถึงแก่พระชนม์แล้ว จึงทรงทราบความจริง และสถาปนาสนมหลี่เป็น พระพันปีจางอี้ (章懿皇太后 Zhāngyì Huángtàihòu; Empress Dowager Zhangyi).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและสนมหลี่ (ซ่งเจินจง) · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแพราเซล

thumb หมู่เกาะแพราเซล (Paracel Islands) หรือในภาษาจีนเรียกว่า หมู่เกาะซีซา (西沙群岛, Xisha Islands) หรือในภาษาเวียดนามเรียกว่า หมู่เกาะฮหว่างซา (Quần đảo Hoàng Sa) เป็นกลุ่มเกาะอยู่ในเขตมณฑลไห่หนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นดินแดนพิพาทที่ถูกอ้างสิทธิโดยประเทศเวียดนามและไต้หวัน พื้นที่หมู่เกาะถูกครอบครองบางส่วนโดยจีนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ในสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ซ่ง และบางส่วนโดยเวียดนามมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 Tập San Sử Địa,, Geographical Digest, Vol 29., Saigon, 1974.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหมู่เกาะแพราเซล · ดูเพิ่มเติม »

หยวน

หยวน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหยวน · ดูเพิ่มเติม »

หยาง เย่

หยาง เย่ (จีน: 楊業; Pinyin: Yáng Yè) หรือ หยาง จีเย่ (จีน: 楊繼業; Pinyin: Yáng Jìyè) (?-ค.ศ.986) เป็นแม่ทัพคนสำคัญของราชวงศ์โฮ่วฮั่นและภายหลังถูกใส่ร้าย จึงพาครอบครัวมาพึ่งบุญของ ราชวงศ์ซ่ง จนได้เป็นแม่ทัพใหญ่ฝ่ายขวา หยาง เย่เป็นบุคคลสำคัญของแผ่นดินเป็นสามีของเซอไซ่ฮัวเป็นพ่อของหยางซื่อหลาง หยางลิ่วหลาง ภายหลังตายลงพร้อมกับหยางต้า เอ่อร์ ซันหลาง ในศึกที่จินซาทาน หมวดหมู่:ขุนศึกตระกูลหยาง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหยาง เย่ · ดูเพิ่มเติม »

หลินชง

หลินชง หรือ ลิมชอง เป็นตัวละครในวรรณกรรมปลอมพงศาวดารจีนเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน เป็นพี่น้องลำดับที่ 6 ในกลุ่ม 36ดาวฟ้าจากพี่น้องผู้กล้าทั้ง 108 คน มีฉายาว่าเศียรเสือดาว ในวรรณกรรมบันทึกเอาไว้ว่าเขาเป็นศิษย์ของโจวทง (อาจารย์ของแม่ทัพเยว่เฟย).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหลินชง · ดูเพิ่มเติม »

หวัง ฉงหยาง

้งเตงเอี้ยง เฮ้งเตงเอี้ยง เกิดในช่วง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหวัง ฉงหยาง · ดูเพิ่มเติม »

หวังอันฉือ

หวังอันฉือ (เกิด: พ.ศ. 1564; ตาย: วันที่ 6 เดือน 4 ปีหยวนโหยวที่ 1 ตรงกับวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 1629 ตามปฏิทินสุริยคติ) เป็นข้าราชการชาวจีนในประวัติศาสตร์ มีบทบาทเป็นนักเศรษฐศาสตร์ นักปฏิรูป อัครมหาเสนาบดีซึ่งตรงกับตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" ในปัจจุบัน และกวีสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ หวังอันฉือมีผลงานโดดเด่นในด้านการปฏิรูปเศรษฐกิจ เขาเล็งเห็นความล้าหลังของสังคมและเป็นผู้นำการปฏิรูปทางเศรษฐกิจสังคม ส่งผลให้การใช้จ่ายของประชาชนคล่องตัว ทำลายการผูกขาดทางการค้า และสร้างระเบียบทางการปกครองและสวัสดิการสังคมรูปแบบใหม่ หวังอันฉือยังปรับปรุงระบบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ โดยขัดขวางคติเห็นแก่ญาติและระบบอุปถัมภ์อันฝังรากลึกในมาแต่เดิม การปฏิรูปของหวังอันฉือไม่เป็นที่พึงใจของกลุ่มอนุรักษนิยมอันนำโดยรัฐมนตรีซือหม่ากวงอย่างยิ่ง นอกจากนี้ สมเด็จพระจักรพรรดิเหรินจงซึ่งมีพระราชอัธยาศัยใฝ่พระราชหฤทัยไปทางซือหม่ากวงก็ไม่โปรดด้วย ทำให้การปฏิรูปดำเนินการและประสบความสำเร็จในช่วงสั้น ๆ เท่านั้น อัครมหาเสนาบดีหวังมีชีวิตอยู่ในช่วงก่อนกรุงสุโขทัยเมื่อเทียบกันแล้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหวังอันฉือ · ดูเพิ่มเติม »

หางโจว

หางโจว ทิวทัศน์ในปัจจุบันของทะเลสาบซีหู เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งในอดีตคือเมืองหลินอันราชธานีของซ่งใต้ หางโจว (จีน: 杭州; Hangzhou) เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองหางโจว ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่ 1 ใน 6 ของประเทศจีน ปัจจุบันหางโจว ถือเป็นเมืองที่อยู่ในเขตภาคตะวันออกที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดแล้ว ดังนั้นหางโจวจึงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่า เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมที่ยาวนาน และเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพที่สวยสดงดงามเมืองหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งมั่งคั่งไปด้วยเภสัชอุตสาหกรรม และสถาบันศิลปะมากมาย เมืองหางโจวถือว่าเมืองดิจิตอลไร้สายได้ครอบคลุมถึงทางหลวงและตรอกเล็กซอยน้อยต่างๆในเมือง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหางโจว · ดูเพิ่มเติม »

หฺวันซิ่วชันจฺวัง

หฺวันซิ่วชันจฺวัง แปลว่า บ้านพักเชิงเขาโอบล้อมด้วยความงาม (Mountain Villa with Embracing Beauty) เป็นสวนซึ่งตั้งอยู่ที่เลขที่ 272 ถนนจิ่งเต๋อ (景德路 272号) ภายในบริเวณของพิพิธภัณฑ์งานเย็บปักถักร้อย (Embroidery Museum) ใกล้กับศูนย์กลางเมืองซูโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน หฺวันซิ่วชันจฺวังได้รับการบัณทึกให้เป็นมรดกโลกในปี 1997 โดย องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ร่วมกับสวนโบราณเมืองซูโจวแห่งอื่น ๆ อีกสามแห่งที่ได้รับการบันทึกในปีเดียวกัน สวนแห่งนี้อาจนับได้ว่ามีอายุเก่าแก่ที่สุดในบรรดาสวนโบราณแห่งเมืองซูโจว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหฺวันซิ่วชันจฺวัง · ดูเพิ่มเติม »

ห้าราชวงศ์

ห้าราชวงศ์ (Five Dynasty) (ค.ศ.907-960) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองต่อจากราชวงศ์ถังมีทั้งหมด 5ราชวงศ์ได้แก่ราชวงศ์โฮ่วเหลียง(Later Liang Dynasty)(ค.ศ.907-926)ราชวงศ์โฮ่วถัง(ค.ศ.926-936) ราชวงศ์โฮ่วจิ้น(ค.ศ.936-947)ราชวงศ์โฮ่วฮั่น(ค.ศ.947-950)ราชวงศ์โฮ่วโจว(ค.ศ.951-960)ก่อนที่ซ่งไท่จู่ ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ซ่งจะรวบรวมแผ่นดินจนเป็นปึกแผ่นได้สำเร็จ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและห้าราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารฟิลิปปินส์

อาหารฟิลิปปินส์ อาหารฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยอาหาร วิธีการเตรียมและประเพณีการรับประทานอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของประเทศฟิลิปปินส์ รูปแบบของการทำอาหารและอาหารที่เกี่ยวข้องมีการพัฒนาตลอดระยะหลายศตวรรษจากวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่มชนที่พูดภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนผสมกับอาหารสเปนและโปรตุเกส จีน อเมริกัน และอาหารอื่น ๆ ในเอเชียที่ปรับให้เข้ากับส่วนผสมพื้นเมืองและความนิยมในท้องถิ่น อาหารมีตั้งแต่ง่ายมากเช่นปลาทอดเค็มและข้าวและอาหารที่มีความประณีต อาหารยอดนิยมฟิลิปปินส์ยอดนิยมได้แก่ เลชอน (lechón หมูย่างทั้งตัว), ลองกานิซา (longganisa ไส้กรอกฟิลิปปินส์), ตาปา (tapa ทำจากเนื้อวัว), ตอร์ตา (torta ไข่เจียว), อาโดโบ (adobo ไก่และ/หรือหมูต้มในกระเทียม น้ำส้มสายชู น้ำมัน และซอสถั่วเหลืองเคี่ยวจนแห้ง), กัลเดเรตา (kaldereta สตูเนื้อในซอสมะเขือเทศ), เมชาโด (mechado เนื้อปรุงกับถั่วเหลืองและซอสมะเขือเทศ), โปเชโร (pochero กล้วยและเนื้อในซอสมะเขือเทศ), อาฟริตาดา (afritada ไก่หรือหมูในซอสมะเขือเทศกับผัก), การี-กาเร (kari-kare หางวัว และผักสุกในซอสถั่วลิสง), ปาตากรอบ (ขาหมูทอด), ฮาโมนาโด (hamonado หมูหวานในซอสสับปะรด), อาหารทะเลในน้ำซุปรสเปรี้ยว, ปันสิต (pancit ก๋วยเตี๋ยว) และลุมเปีย (lumpia ปอเปี๊ยะสดหรือทอด).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและอาหารฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรฮั่นเหนือ

อาณาจักรฮั่นเหนือ อาณาจักรหนึ่งในช่วง ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร สถาปนาโดย หลิวมิน เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและอาณาจักรฮั่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรตามพรลิงค์

อาณาจักรตามพรลิงค์ (สันสกฤต: ตามฺพฺรลิงฺค; ताम्ब्रलिङ्ग) ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น อาณาจักรนครศรีธรรมราช นั้น เป็นอาณาจักรโบราณที่มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยพุทธศตวรรษที่ 7 มีศูนย์กลางอยู่ที่นครศรีธรรมราชในปัจจุบัน (อาจจะเป็นบริเวณบ้านท่าเรือ หรือบ้านพระเวียง) อยู่ทางด้านเหนือของอาณาจักรลังกาสุกะ (บริเวณปัตตานี) มีอาณาเขตทางตะวันออก และตะวันตกจรดทะเลอันดามันถึงบริเวณที่เรียกว่าทะเลนอก ซึ่งเป็นบริเวณจังหวัดกระบี่ในปัจจุบัน คำว่า "ตามพ" เป็นภาษาบาลี แปลว่า ทองแดง ส่วน "ลิงค์" เป็นเครื่องหมายบอกเพศ เขียนเป็นอักษรภาษาอังกฤษว่า Tambalinga หรือ Tanmaling หรือ Tamballinggam จีนเรียก ตันเหมยหลิง หรือโพ-ลิง หรือโฮลิง (แปลว่าหัวแดง) บางทีเรียกว่า เชียะโท้ว (แปลว่าดินแดง) อาณาจักรตามพรลิงค์ มีกษัตริย์สำคัญคือ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช และ พระเจ้าจันทรภาณุ อาณาจักรตามพรลิงค์นี้เป็นเส้นทางการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ไปยังอาณาจักรสุโขทัยและดินแดนทั่วแหลมมลายู เนื่องจากอาณาจักรตามพรลิงค์กับศรีลังกามีความสัมพันธ์แบบบ้านพี่เมืองน้องมาแต่สมัยโบราณ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและอาณาจักรตามพรลิงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ซี

อู๋ซี (อังกฤษ: Wuxi) เป็นเมืองอุตสาหกรรมเก่าในมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณที่ลุ่มปากแม่น้ำแยงซี มีทะเลสาบไท่หูพาดผ่านแบ่งเมืองออกเป็นสองส่วน ทางทิศจะวันตกมีอาณาเขตติดกับฉางโจว และทางทิศตะวันออกติดกับซูโจว เนื่องจากเป็นเมืองที่ได้รับการพัฒนาเมื่อไม่นานมานี้ จึงถูกขนานนามว่า "เซี่ยงไฮ้น้อย" มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นหนึ่งในเมืองต้นกำเนิดอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสมัยใหม่ของจีน และยังเป็นบ้านเกิดของนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงหลายคนในสมัยศตวรรษที่ 20 ที่มีส่วนสร้างเมืองเซี่ยงไฮ้ให้เป็นเมืองเศรษฐกิจสมัยใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและอู๋ซี · ดูเพิ่มเติม »

ผัง จี๋ (ราชวงศ์ซ่ง)

ผัง จี๋ (เกิด ค.ศ. 988 เฉิงอู่; ตาย ค.ศ. 1063 ไคเฟิง) เป็นข้าราชการชาวจีนในราชวงศ์ซ่งเหนือ ดำรงตำแหน่งอัครมหาเสนาบดี ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและผัง จี๋ (ราชวงศ์ซ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

ผีถ้วยแก้ว

การเล่นผีถ้วยแก้ว ผีถ้วยแก้ว (Ouija board, Spirit board, Talking board) เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งที่มีอยู่ทั่วโลก โดยเชื่อว่าเป็นเพราะผีหรือวิญญาณทำนายเรื่องราวในอนาคตได้ ในประเทศแถบตะวันตก ผีถ้วยแก้ว จะเรียกว่า "วีจาบอร์ด" (Ouija board) หรือ "กระดานวิญญาณ" (Spirit board) หรือ "กระดานพูดได้" (Talking board) โดยเป็นของเล่นสำเร็จรูปที่ผลิตและวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและผีถ้วยแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C. to 17th Century)" ในทางทหาร, วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมได้ใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20, เมื่อวิทยาการที่เกี่ยวกับจรวดได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นการเปิดประตูสู่ยุคอวกาศ,กับการที่มนุษย์กำลังจะไปเหยียบดวงจันทร์ จรวดได้ถูกใช้สำหรับทำดอกไม้ไฟและอาวุธ, เก้าอี้ดีดตัวสำหรับนักบินและพาหนะสำหรับนำส่งดาวเทียม, นักบินอวกาศ และการสำรวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในขณะที่จรวดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนั้นจะใช้สำหรับการขับเคลื่อนด้วยอัตราเร็วที่ต่ำ ๆ, นักวิทยาศาสตร์จะเปรียบเทียบหาจรวดที่มีแรงขับเคลื่อนในระบบอื่น ๆ, ที่มีน้ำหนักเบากว่าและมีประสิทธิภาพสูงกว่า, ทำให้สามารถสร้างความเร่งในการเคลื่อนที่ของจรวดได้มากขึ้น และสามารถทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่สูงอย่างยิ่งด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสม จรวดเคมีเป็นชนิดของจรวดที่พบมากที่สุดและพวกมันมักจะสร้างไอเสียโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด จรวดเคมีต้องการที่เก็บพลังงานเชื้อเพลิงที่มีขนาดใหญ่โตมากในรูปแบบที่พร้อมจะปลดปล่อยตัวเองออกมาได้อย่างง่ายดาย และมีอันตรายมาก อย่างไรก็ตาม, จะต้องทำด้วยการออกแบบอย่างรอบคอบ, การทดสอบ, การก่อสร้าง, และใช้ความเสี่ยงอันตรายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจรวด · ดูเพิ่มเติม »

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกง

ักรพรรดิกงตี้ (Gong Di) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอิงจง

ักรพรรดิอิงจง (Yingzong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจินไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิจินไท่จง (ค.ศ.1075 - 1135) จักรพรรดิองค์ที่2แห่งราชวงศ์จิน ประสูติเมื่อปี..1075 (พ.ศ. 1618) มีพระนามเดิมว่า หว่านเอี๋ยน อู่ฉีไม (Wanyan Wuqimai) (金太宗完颜晟,名 吴乞买)เป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิจินไท่จู่เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิจินไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคังซี

ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา จักรพรรดิคังซีมีพระปรีชาสามารถตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงฉายแววความเป็นผู้นำมาตั้งแต่เด็ก โดยโปรดการเรียนรู้ศิลปะ วิทยาการต่าง ๆ ทั้งของในประเทศ และนอกประเทศ โดยพระองค์อยู่ภายใต้การอุปการะดูแลของไท่หวงไทเฮา ผู้เป็นพระอัยยิกาของพระองค์ ในรัชสมัยซุ่นจื่อปีที่ 18 เกิดโรคฝีดาษระบาดที่กรุงปักกิ่ง ได้ระบาดมาในนครต้องห้าม ช่วงนั้นองค์ซุนจื่อ ติดโรคร้ายนี้สวรรคต ก่อนสวรรคตได้ตั้งพระราชโอรสองค์ที่3 เสฺวียนเย เป็นองค์รัชทายาทและได้ตั้งองคมนตรี สี่คนซึ่งเป็นขุนนางที่ไว้ใจที่สุด สี่องคมนตรีได้แก่ เอ๋าไป้ สั่วหนี ซัวเค่อซ่าฮ่า เอ่อปี๋หลง เมื่อพระองค์ทรงออกว่าราชการเองเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา เมื่อพระชนมายุได้ 19 พรรษา สั่วหนี ประธานองคมนตรีได้ถึงแก่กรรม เอ๋าไป้ (鳌拜) ซึ่งเป็นขุนนางที่รับราชการมาแต่ครั้งจักรพรรดิไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ชิง เอ๋าไป้ เป็นขุนนางที่สำคัญตนว่าเป็นผู้นำองคมนตรีในตอนนั้นมีผู้ให้การยอมรับนับถือจำนานมาก จึงได้กระทำการอย่างไม่เหมาะสมทั้งต่อหน้าและลับหลังพระองค์หลายครั้ง จนในที่สุดก็ก่อการกบฏขึ้น แต่แผนการทั้งหมดได้ถูกทำลายลงโดย อู๋หลิวยิ สั่วเอ๋อถู และกลุ่มขุนนางภักดี รัชสมัยของจักรพรรดิคังซีนับเป็นระยะเวลาวิกฤตของราชวงศ์ชิง เพราะมีการต่อสู้ระหว่างชาวฮั่นที่ต้องการกู้ราชวงศ์หมิง รวมถึงชนเผ่าอื่น ๆ ที่ต้องการก่อกบฏ จักรพรรดิคังซีทำสงครามภายในประเทศยาวนานถึง 8 ปี จึงพิชิตแคว้นต่าง ๆ ได้ราบคาบ ก่อนที่พระองค์จะมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทั้งขยายอาณาเขตถึงมองโกเลียและทิเบต หนึ่งในนโยบายสร้างความมั่นคงก็คือ สร้างสัมพันธ์กับชาวแมนจูที่อาศัยทางเหนือแต่เดิมให้แข็งแกร่ง ส่งอาวุธและกำลังพลไปรักษาชายแดนแถบนี้บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าอื่น อีกทั้งยังทรงออกทัพเอง และได้ทำสงครามกับรัสเซียในยุคสมัยของพระเจ้าปีเตอร์มหาราช และได้รับชัยชนะด้วย ซึ่งสงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุกพม่า ทำให้จีนในยุคนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนบางส่วนของจักรพรรดิคังซีเสด็จนิวัติกรุงปักกิ่ง หลังจากเสด็จประพาสแดนใต้ ขณะเดียวกันเสด็จประพาสดินแดนทางใต้ถึง 6 ครั้ง เพื่อทอดพระเนตรความเจริญ รุ่งเรืองด้านศิลปะและวิชาการของแดนใต้ และสำรวจปัญหาน้ำท่วมไร่นาของชาวนา ซึ่งต่อมาทรงส่งเสริม การสร้างเขื่อนและให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรกับชาวนา จักรพรรดิคังซีฉลองพระองค์เครื่องแบบทหาร จักรพรรดิคังซีนับเป็นอัจฉริยบุคคล ทรงศึกษาความผิดพลาดของพวกมองโกล ช่วงที่ปกครองชาวฮั่น จึงเปลี่ยนจากวิธีการใช้ไม้แข็งเป็นไม้อ่อน เกลี้ยกล่อมให้เหล่าปราชญ์ราชบัณฑิตที่หนีภัยยุคต้นราชวงศ์สิ้นอำนาจกลับมารับราชการใหม่ ทรงสถาปนากรมจิตรกรรมที่รู้จักในนาม สถาบันจิตรกรรมหัวหยวน คล้ายที่เคยมีในสมัยราชวงศ์ซ่ง นอกจากนี้ทรงดูแลเหล่าปราชญ์และศิลปินอย่างเกษมสำราญ มอบหมายงานให้ทำอย่างเต็มที่ ไม่ว่าด้านสถาปัตยกรรมหรือประวัติศาสตร์ โดยชิ้นที่สำคัญที่สุด คือการจัดทำ พจนานุกรมรวบรวมภาษาจีน ที่เรียกกันว่า พจนานุกรมคังซี ชีวิตส่วนพระองค์ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นจักรพรรดินักรักพระองค์หนึ่ง มีพระสนมราว 35 คน พระโอรสและพระธิดาราว 55 องค์ จนปลายรัชสมัยเกิดการชิงบัลลังก์เป็นที่วุ่นวาย ผลสุดท้ายองค์ชาย 4 ได้ขึ้นครองบัลลังก์เป็นจักรพรรดิหย่งเจิ้งในเวลาต่อมา รัชสมัยของจักพรรดิคังซีตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและราชวงศ์บ้านพลูหลวงของอาณาจักรอยุธยา จักรพรรดิคังซีสวรรคตในปี พ.ศ. 2265 (ค.ศ. 1722) รวมระยะเวลาครองราชย์ยาวนานถึง 61 ปี นับเป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาตร์จีน ในยุคสมัยของพระองค์มีเรื่องการเกิดขึ้นต่าง ๆ มากมายเช่น ในนวนิยายต่างๆ ระบุว่าพระองค์นั้นสวรรคตจากการปลงพระชนม์ขององค์ชายสี่ หรือหย่งเจิ้น แต่ปัจจุบันมีการสันนิษฐานว่าพระองค์สวรรคตจากชราภาพเอง เป็นที่เลื่องลือจนถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยนี้ ไม่ว่าจะเป็น นิยาย ละครโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์ ที่มีการจัดสร้างหลายต่อหลายครั้งแม้ในปัจจุบัน เรื่องที่มีชื่อเสียงมากคือ นิยายกำลังภายในอิงประวัติศาสตร์ของ กิมย้ง เรื่อง อุ้ยเสี่ยวป้อ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิคังซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งชินจง

thumb จักรพรรดิซ่งชินจง (ค.ศ.1100 - 1161, พ.ศ. 1643 - 1704) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่ง ราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิ ซ่งฮุ่ยจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งชินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกวงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกวงจง (พ.ศ. 1732 - 1737)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งกวงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกง

200px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง พระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งกงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งลี่จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งลี่จง เป็นจักรพรรดิองค์ที่14แห่งราชวงศ์ซ่งและองค์ที่5แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ทรงขึ้นครองราชย์แทนซ่งหนิงจงพระราชบิดา ที่สวรรคตลงในปี..1224(พ.ศ. 1767)ทรงครองราชย์ 40ปี โดยสิริพระชนมายุ 59 ปี ซ่งลี่จงพระนามเดิม จ้าว หยูอิง เดิมทีพระองค์ทรงมิใช่ราชทายาท แต่เป็นพระญาติของซ่งหนิงจง โดยพระองค์ทรงเป็นลูกหลานรุ่นที่ 10 ของจ้าว ควงอิ้นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซ่งและสืบเชื้อสายมาจากจ้าว เต๋อเจ้า(เหยียนหวาง 燕王) จ้าว หยูอิงเป็นบุตรของจ้าว ซีหลู่(赵希瓐) จ้าว ซีหลู่เป็นเพียงขุนนางเล็กๆ ไม่มียศฐาบรรดาศักดิ์ใดๆใช้ชีวิตไม่ต่างจากประชาชนธรรมดาโดยทั่วไป จ้าว หยูอิงอายุได้ 7 ขวบจ้าว ซีหลู่ก็ตายจากไปแม่ของจ้าว หยูอิงจึงได้พาเขากับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับไปอยู่บ้านทางฝ่ายแม่ที่เซาซิง จนอายุได้ 16 ปี โดยซ่งหนิงจงมีราชโองการให้อำมาตย์สือ หมี่หยวนไปเสาะหาเชื้อสายของราชวงศ์ สือ หมี่หยวนได้สั่งให้หยู เทียนซีไปดำเนินการ ในระหว่างทางทีหยู เทียนซีกลับไปบ้านเกิดก็ได้พบกับพี่น้องจ้าว หยูอิงจึงได้สอบถามพบว่าจ้าว หยูอิงมีเชื้อสายของราชวงศ์แท้จริง จึงได้นำพาจ้าว หยูอิงกับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับมารายงานต่ออำมาตย์สือ หมี่หยวนที่เมืองหลินอัน ในปี..1221 จ้าว หยูอิงถูกเรียกตัวเข้าวังและได้รับพระราชทานนามใหม่ กุ่ยเฉิง(贵诚)และขึ้นครองราชย์ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งลี่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งหนิงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งหนิงจง(1711-1767)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งหนิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งอิงจง

thumb จักรพรรดิซ่งอิงจง เป็นเชื้อพระวงศ์ที่ ซ่งเหยินจง ทรงนำมาเป็นพระราชบุตรบุญธรรม ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง

thumb ซ่งฮุ่ยจง (ค.ศ. 1100 - ค.ศ. 1126, พ.ศ. 1643- พ.ศ. 1669)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตู้จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตู้จง ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งตู้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตี้ปิง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตี้ปิง (ค.ศ. 1271-ค.ศ. 1279) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์ซ่งเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 9 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติใน ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งตี้ปิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งต้วนจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งต้วนจง (พ.ศ. 1811 -พ.ศ. 1821) จักรพรรดิองค์ที่17แห่งราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิองค์ที่8แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ประสูติในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งต้วนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ. 927 – เสด็จสวรรคต 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 976) หรือมักเรียกด้วยนามพระอารามประจำรัชกาลว่า ไท่จู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ไทโจ๊ว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Tàizǔ) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งในจักรวรรดิจีนโบราณ เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จง

220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเกาจง (12 มิถุนายน ค.ศ. 1107 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1187) พระนามเดิม "เจ้าโก้ว" ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ซ่งของประเทศจีน และเป็นจักรพรรดิองค์แรกของแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสินจง

ักรพรรดิซ่งเสินจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเสินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเสี้ยวจง (พ.ศ. 1705-1732) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเหรินจง

หรินจง เป็นจักรพรรดิรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือของจีน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจินจง

มเด็จพระจักรพรรดิเจินจง (23/12/968年-23/3/1022年) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซ่งไท่จง (เจ้า ควงอี้) และเป็นพระราชภาติยะในจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตลง ทรงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 997 (พ.ศ. 1540) ขณะพระชนม์ 29 พรรษา พระองค์เสด็จสวรรคต ค.ศ. 1022 (พ.ศ. 1565) สิริพระชนมายุได้ 54 พรรษา ทรงครองราชย์ได้ 25 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเจินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจ๋อจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง (ค.ศ. 1075 - ค.ศ. 1100, ทรงครองราชย์ ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1100) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิซ่งเสินจง กับพระสนมซู ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1075 (พ.ศ. 1618) และเมื่อจักรพรรดิซ่งเสินจงพระราชบิดาเสด็จสวรรคตลงขณะพระชันษา 10 พรรษา พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 1085 (พ.ศ. 1628) แต่เนื่องจากพระองค์ยังทรงพระเยาว์พระพันปีหลวง เกาจึงทรงเป็นผู้สำเร็จราชการและที่ปรึกษาราชกิจ และเมื่อทรงบรรลุนิติภาวะทรงสนับสนุนแนวทางอนุรักษ์แบบเก่าที่นำโดยซือหม่ากวงและทำให้แนวทางปฏิรูปของหวังอันสือยุติลง ส่วนเกาไทเฮาสิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 1093 (พ.ศ. 1636) อันเป็นปีที่ 8 ในรัชกาล องค์จักรพรรดิซ่งเจ๋อจงครองราชย์ได้ 15 ปี สวรรคตลงเมื่อปี ค.ศ. 1100 (พ.ศ. 1643) ขณะพระชนม์เพียง 25 พรรษาจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงพระราชอนุชาจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีกั้ว (ซ่งเหรินจง)

ักรพรรดินีกั้ว (Empress Guo; 1012 — 1035) จักรพรรดินีจีนแห่ง ราชวงศ์ซ่ง อภิเษกเข้ามาเป็นจักรพรรดินีองค์แรกของ จักรพรรดิซ่งเหรินจง พระนางเป็นหลานสาวของ กั้วชง ได้ถูกคัดเลือกให้เข้ามาเป็นจักรพรรดินีของจักรพรรดิหนุ่มเหรินจงโดย จักรพรรดินีหลิว พระราชมารดาของจักรพรรดิเหรินจงใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีกั้ว (ซ่งเหรินจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลิว (ซ่งเจินจง)

หลิวเอ๋อ (ค.ศ. 968–ค.ศ. 1033) หรือพระนามอย่างเป็นทางการว่า จางเสี้ยนหมิงสู้ เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าเจินจงแห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระเจ้าเหรินจงเสวยราชย์ต่อมา พระนางหลิวก็ได้เป็นผู้สำเร็จราชการและทรงปฏิบัติพระราชกิจอย่างมีประสิทธิภาพเป็นเวลาเก้าปีตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีหลิว (ซ่งเจินจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลี่ (จักรพรรดิซ่งไท่จง)

ักรพรรดินีหลี่ (Empress Li; 960 — 1004) จักรพรรดินีแห่งราชวงศ์ซ่งของจีนโดยพระนางอภิเษกกับ จักรพรรดิซ่งไท่จง เมื่อพระสวามีสวรรคตพระนางได้เป็น ฮองไทเฮา หรือพระพันปีหลวงให้กับพระโอรสบุญธรรมของพระนาง จักรพรรดิซ่งเจินจง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีหลี่ (จักรพรรดิซ่งไท่จง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจางมู่

จักรพรรดินีจางมู่ (ค.ศ. 975-ค.ศ. 1007) เป็นฮองเฮาองค์แรกของซ่งเจินจง และเป็นธิดาของกัว โช่วเหวิน (郭守文) หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีจางมู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจางหฺวาย

ักรพรรดินีจางหฺวาย หรือ พันฮูหยิน (潘夫人) (ค.ศ. 968-ค.ศ. 989) เป็นธิดาของพัน เหม่ย์ (潘美) ขุนศึกราชวงศ์ซ่ง และสมรสกับองค์ชายเจ้า เหิง (趙恆) ได้รับพระนามว่า "จู่กั๋วฮูหยิน" (莒国夫人) แต่สิ้นพระชนม์ไปก่อนที่พระสวามีจะครองราชย์เป็นจักรพรรดิซ่งเจินจงในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีจางหฺวาย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีซ่ง (ราชวงศ์ซ่ง)

ักรพรรดินีซ่ง (Empress Song; 952 — 995) ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีเซี่ยวจาง จักรพรรดินีแห่ง ราชวงศ์ซ่ง โดยอภิเษกเป็นจักรพรรดินีองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิซ่งไท่จู่ พระนางมาจากการเป็นเชื้อพระวงศ์โดยพระอัยกาฝ่ายพระมารดา (ตา) คือ ปฐมจักรพรรดิ ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระบิดา (ปู่) คือ ปฐมจักรพรรดิ ราชวงศ์ถังยุคหลัง หลี่ ฉุนซฺวี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีซ่ง (ราชวงศ์ซ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเกา (ซ่งอิงจง)

จักรพรรดินีเกา (ค.ศ. 1032–ค.ศ. 1093) หรือ จักรพรรดินีซวนเหริน เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิซ่งอิงจงแห่งราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1575 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีเกา (ซ่งอิงจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเมิ่ง

จักรพรรดินีเมิ่ง (孟皇后; 1073–1131) หรือ จักรพรรดินีหยันโย่ว (元祐皇后) เป็นจักรพรรดินีจีนช่วงราชวงศ์ซ่ง สมรสกับพระเจ้าเจ๋อจง (哲宗) ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแห่งจักรวรรดิจีนสองช่วง คือ ในปี 1127 และตั้งแต่ปี 1129–1131 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีเมิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเสี่ยนซู่

พระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดินีเสี่ยนซู่ จักรพรรดินีเสี่ยนซู่ เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงแห่งราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีเสี่ยนซู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเหรินหฺวาย

ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดินีเหรินหฺวาย สมเด็จพระจักรพรรดินีเหรินหฺวาย (仁怀皇后; Empress Renhuai) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีในสมเด็จพระจักรพรรดิซ่งชินจง สมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ซ่งในประวัติศาสตร์จีน ทรงเป็น ฮองเฮา ที่น่าเห็นใจที่สุดในราชวงศ์ซ่ง แม้นกระทั่งในประวัติศาสตร์จีน น้อยครั้งที่พระนางทรงได้รับความสุขสมบูรณ์ในฐานะ ฮองเฮา เมื่อจักรวรรดิล่มสลาย พระนางก็ต้องรับเคราะห์ทรงทนทุกข์ยากติดตาม ฮ่องเต้ ในฐานะพระราชสวามี ไปในฐานะเชลยตัวประกัน ทรงติดตามพระราชสวามี เริ่มต้นใช้ชีวิตที่ถูกกดขี่เยี่ยงข้าทาสในจักรวรรดิจิน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีเหรินหฺวาย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเฉา (ซ่งเหรินจง)

ักรพรรดินีเฉา (ค.ศ. 1032–ค.ศ. 1093) หรือ จักรพรรดินีฉือเชิ่ง เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่สองของซ่งเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่ง และเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีเฉา (ซ่งเหรินจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยง

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดินีเสียง จักรพรรดินีเซี่ยง (ค.ศ.1047–ค.ศ. 1102) หรือ จักรพรรดินีชินเชิ่ง เป็นพระอัครมเหสีของซ่งเสินจง และเป็นพระพันปีในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดินีเซี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไท่จู่

ักรพรรดิไท่จู่ มีความหมายว่า "great ancestor" หมายถึง จักรพรรดิที่เป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์จีน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไท่จง

ักรพรรดิไท่จง (Taizong) มีความหมายว่า "บรรพบุรุษผู้ยิ่งใหญ่" (Grand Clan Forefather) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเกาจง

ักรพรรดิเกาจง (Gaozong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเสินจง

ักรพรรดิเสินจง (Shenzong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิเสินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหรินจง

หรินจง หรือ เหยินจง เป็นพระนามของจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวซิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง (ค.ศ. 1015 - 1054) จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์เหลียว โดยเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง (เย่ว์ลี่หลงซีว์) (ค.ศ. 971 - 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน

ักรวรรดิจีนก่อตั้งโดยราชวงศ์ฉินนำโดยฉินซื่อหวงตี้ซึ่งได้รวบรวมรัฐของจีนที่แตกออกเป็น 7 รัฐให้เป็นหนึ่งเดียวได้ ฉินซื่อหวงตี้บริหารประเทศโดยใช้ระบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางซึ่งจักรวรรดิจีนมีอายุยืนยาวมากประมาณ 2113ปี โดยเริ่มตั้งแต่ ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ ราชวงศ์ชิง     เขตแดน'''ราชวงศ์ฉิน''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ฮั่น''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ถัง''' เขตแดน'''ราชวงศ์ซ่ง''' เขตแดน'''ราชวงศ์หยวน''' เขตแดนราชวงศ์หมิง เขตแดนราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรวรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จาง ซันเฟิง

รูปปั้นทองแดงของจาง ซันเฟิง บนเขาบู๊ตึ๊งในปัจจุบัน จาง ซันเฟิง (สำเนียงจีนกลาง) หรือ เตียซำฮง (สำเนียงแต้จิ๋ว) เป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์จีน มักกล่าวถึงในภาพยนตร์หรือนิยายกำลังภายใน ที่มีชื่อเสียง เช่น เรื่อง ดาบมังกรหยก ซึ่งเขียนโดยกิมย้ง หรือจินหยง ยอดนักเขียนนวนิยายกำลังภายในชาวจีนนั่นเอง เชื่อกันว่าจาง ซันเฟิง เกิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1247 ในสมัยปลายราชวงศ์ซ้อง (ค.ศ. 960-ค.ศ. 1279) ที่มณฑลเหลียวหนิง มีชื่อเดิมว่า จาง เฉวียนอี หรือ จาง จวินอี้ว์ โดยที่ชื่อ ซันเฟิง นั้นเป็นฉายาที่เป็นนักบวชในลัทธิเต๋าแล้ว มีชื่อเสียงสมัยราชวงศ์หยวน (ค.ศ. 1279-ค.ศ. 1368) เริ่มเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวบ้านสามัญชน จากการใช้กำลังภายใน การช่วยเหลือคนเจ็บไข้ แล้วมีอายุยืนยาวมาจนถึงราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-ค.ศ. 1654)และค่อย ๆ หายหน้าไปจากหน้าประวัติศาสตร์จีนหลังปี ค.ศ. 1459 ท่านใช้ชีวิตมากว่า 200 ปี และไม่มีประวัติการเสียชีวิต หลายคนเชื่อกันว่าหลังจากนั้นเชื่อว่าสำเร็จเป็นเซียนอมตะ มีประวัติของจาง ซันเฟิงในหน้าประวัติศาสตร์มากมาย แต่ที่มีชื่อเสียงคือ การก่อตั้งสำนักอู่ตัง หรือบู๊ตึ๊ง ในสำเนียงแต้จิ๋ว และการค้นคิดวิชามวย ไท่เก๊ก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจาง ซันเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำ

ตรกรวาดภาพสีน้ำโดยใช้พู่กัน จิตรกรรมสีน้ำ (ภาษาอังกฤษ: Watercolor painting หรือ Watercolour painting; ภาษาฝรั่งเศส: Aquarelle) เป็นวิธีการเขียนภาพวิธีหนึ่งที่ใช้สีน้ำเป็นอุปกรณ์การเขียนหรือมีผลเหมือนภาพที่เขียนด้วยสีน้ำที่เขียนด้วยสีที่ทำด้วย สารสี (pigments) ที่ละลายในของเหลวในภาชนะ สิ่งที่ใช้เขียนส่วนใหญ่จะเป็นกระดาษ แต่ก็อาจจะเป็นวัสดุอื่นเช่นกระดาษพาไพรัส, กระดาษที่ทำจากเปลือกไม้, พลาสติก, กระดาษหนังสัตว์ (Vellum) หรือ หนังสัตว์, ผ้า, ไม้ และผ้าใบ ในเอเชียตะวันออกจิตรกรรมสีน้ำเขียนด้วยหมึกที่เรียกว่าจิตรกรรมแปรง (Brush painting) หรือ จิตรกรรมม้วน (scroll painting) จิตรกรรมสีน้ำเป็นวิธีการเขียนจิตรกรรมที่นิยมกันมากที่สุดในจิตรกรรมจีน, จิตรกรรมเกาหลี หรือจิตรกรรมญี่ปุ่น ที่มักจะเป็นสีเดียวที่เป็นสีดำหรือน้ำตาล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจิตรกรรมสีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

จู ซี

ู สี จู ซี (18 ตุลาคม 1130 – 23 เมษายน 1200) เป็นนักปรัชญาลัทธิขงจื๊อในสมัยราชวงศ์ซ่ง เขาเป็นนักวิชาการที่สอนอย่างมีหลักการและสมเหตุสมผลที่สุด เขาได้เขียนตำราอธิบายคำสอนของขงจื๊อไว้ ซึ่งต่อมาเป็นพื้นฐานของระบบราชการจีนและรัฐบาลมานานกว่า 700 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจู ซี · ดูเพิ่มเติม »

จี้กง

รูปปั้นของพระจี้กง เต้าจี้ฉานซือ (1130–1207) หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ จี้กง (อาจารย์จี้) หรือ จี้กงหัวฝอ ("จี้กงพุทธะผู้ยังมีชีวิต") เป็นพระภิกษุชาวจีน นิกายฉาน (เซน) สมัยราชวงศ์ซ่งใต้ มีนามเดิมว่า หลี่ ซิวหยวน (李修元 บางแห่งเขียนเป็น 李修缘).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจี้กง · ดูเพิ่มเติม »

จง ขุย

ภาพจง ขุย ก่อน ค.ศ. 1304 โดย กง ไข่ จง ขุย เป็นเทพกึ่งปีศาจในตำนานเทพของจีน เชื่อกันว่าจงเขว่ยเป็นผู้กำราบปิศาจร้าย และมักจะวาดภาพจงเขว่ยไว้ที่หน้าประตู เพื่อเป็นผู้ปกปักษ์คุ้มครองบ้าน ตามตำนานของจีน เล่าว่าจง ขุยเป็นชายหนุ่ม มีความรู้ดี แต่หน้าตาอัปลักษณ์ เขาเดินทางไปกับตู้ผิง (杜平) เพื่อนคนหนึ่งซึ่งเป็นคนบ้านเดียวกัน เพื่อเข้าสอบรับราชการเป็นบัณฑิต ที่เรียกว่า จอหงวน ในเมืองหลวง แม้ว่าจงจะสอบได้คะแนนสูงสุด แต่ฮ่องเต้ก็มิได้ประทานตำแหน่งจอหงวน ให้เพราะจง ขุยมีรูปร่างหน้าตาที่น่าเกลียดนั่นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ จงเขว่ยจึงโกรธและน้อยใจอย่างยิ่ง และฆ่าตัวตายที่บันไดพระราชวังนั่นเอง ส่วนตู้ผิงก็ช่วยทำศพเพื่อน ครั้นเมื่อตายไปแล้ว จง ขุยได้เป็นราชาแห่งปิศาจในนรก และจะกลับบ้านเกิดในช่วงปีใหม่ (นั่นคือ ตรุษจีน) นอกจากนี้ ยังได้ตอบแทนความมีน้ำใจของตู้ผิง โดยการมอบน้องสาวให้แต่งงาน เรื่องราวของจง ขุยนั้นเป็นที่รู้จักกันดีในนิทานพื้นบ้านของจีน ตั้งแต่สมัยจักรพรรดิถังเสฺวียนจง (唐玄宗) ในราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 712 ถึง ค.ศ. 756) จากเอกสารในสมัยราชวงศ์ซ่ง ระบุว่า เมื่อจักรพรรดิเสวียนจงทรงพระประชวรหนัก ทรงพระสุบินเห็นปิศาจสองตน ตนเล็กขโมยถุงเงินไปจากพระสนม นามว่าหยางกุ้ยเฟย และขลุ่ยขององค์จักรพรรดิ ส่วนปิศาจคนใหญ่นั้น สวมหมวกขุนนาง มาจับปิศาจตนเล็ก และดึงลูกตาออกมากินเสีย จากนั้นปิศาจตนใหญ่ก็แนะนำตนว่าชื่อจงเขว่ย และบอกว่าตนได้สาบานที่จะกำจัดอาณาจักรแห่งความชั่วร้าย เมื่อจักรพรรดิตื่นบรรทม ก็ทรงหายจากอาการประชวร จากนั้นได้มีบัญชาให้นายช่างหลวง ชื่อ อู่ เต้าจื่อ (吴道子) วาดภาพจง ขุยให้เหล่าขุนนางดู และภาพดังกล่าวมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาพวาดจง ขุยในสมัยต่อ ๆ มา “อู๋เต้าจื่อ” วาดภาพของจงขุยตามที่เห็นในพระสุบิน และทรงแจกจ่ายรูปของจงขุยให้แก่ประชาราษฏร์ติดที่หน้าประตูบ้าน เพื่อป้องกันสิ่งอัปมงคลและสิ่งชั่วร้ายนานาประการ ในตำนานยังกล่าวด้วยว่า จงขุยได้รับมอบหมายจากสวรรค์ให้มีทหารในสังกัดถึง 3 พันนาย เพื่อช่วยในการปราบปีศาจ ดังนั้น สำหรับชาวจีนแล้ว จงขุยคือเทพผู้สำคัญที่สุดในยามที่ชาวบ้านเกรงกลัวภูตผี และกลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเทพเจ้าผู้พิทักษ์มนุษย์ให้พ้นจากภัยรังควานของภูตผีปีศาจสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน เชื่อกันว่า ใครที่กลัวจะถูกทำของใส่ หรือถูกคุณไสยเล่นเอา ต้องมีจงขุยคุ้มครองอยู่ในบ้าน หรือกรณีที่ต้องเข้าโรงพยาบาล หรือคนป่วยไปพักฟื้นที่ไหน สถานที่เหล่านั้นถือว่า มันสกปรก คือมีคนตายมาก ต้องมีผีอยู่ ให้เอาเทพปราบมารองค์นี้ไปด้วย แล้วจะปลอดภัยหายเป็นปกติกลับบ้านได้ หมวดหมู่:เทพเจ้าแห่งนรก หมวดหมู่:เทพเจ้าจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจง ขุย · ดูเพิ่มเติม »

จ้วง

้วง หรือ ปู้จ้วง (จ้วง: Bouчcueŋь/Bouxcuengh) เป็นกลุ่มชนในกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได มีประชากรมากที่สุด ราว 18 ล้านคน แต่พวกเขาเพิ่งยอมรับคำว่า จ้วง เป็นชื่อชนชาติ เมื่อทางการจีนใช้คำเขียนใหม่ที่มีความหมายในทางที่ดีขึ้น เพราะในสมัยราชวงศ์ซ้อง คำว่า จ้วง (僮) ใช้เรียกทหารที่เป็นจ้วง สมัยราชวงศ์หยวน ใช้ตัวอักษรจีน ที่แปลว่า ปะทะ สมัยราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชิง จนถึงสมัยก๊กมินตั๋ง เปลี่ยนอักษรตัวแรกเป็นความหมายว่า "สัตว์" (獞) จนถึง พ.ศ. 2508 จึงเปลี่ยนเป็นตัวที่มีความหมายว่า เติบโต และแข็งแรง (壯/壮).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

จ้าว หงอิน

้าว หงอิน (สิ้นพระชนม์ 3 กันยายน ค.ศ. 956) เป็นพระราชบิดาในจักรพรรดิซ่งไท่จู่และจักรพรรดิซ่งไท่จงแห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ จ้าว หงอิน ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 3 กันยายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจ้าว หงอิน · ดูเพิ่มเติม »

ถัง ฟู่

ัง ฟู่ (Tang Fu) เป็นนักประดิษฐ์, วิศวกร และ กัปตันเรือชาวจีนที่อาศัยอยู่ระหว่างราชวงศ์ซ่ง แม้ว่าเขาจะไม่ได้คิดค้นธนูไฟ, อันเป็นรูปแบบแรกของจรวดดินปืน, แต่เขาก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้คิดค้น "จรวดรูปแบบใหม่ที่มีหัวเหล็ก" อ้างอิงจาก วิลเลียม อเล็กซานเดอร์ พาร์สันส์ มาร์ติน (William Alexander Parsons Martin) ที่ได้แสดงให้เห็นว่าสิ่งประดิษฐ์นี้หมายถึง "การเปลี่ยนแปลงจากจรวดสัญญาณไปเป็นอาวุธปืน, ตามสมควรดังที่เรียกกัน" เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและถัง ฟู่ · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาอู่ตัง

ทิวเขาอู่ตัง หรือ บู๊ตึ๊ง ในภาษาจีนฮกเกี้ยน เป็นทิวเขาที่ตั้งอยู่ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน มีความสำคัญของลัทธิเต๋า ที่เล่าสืบมาว่า ปรมาจารย์เจินอู่ หรือเทพเจ้าเสวียนอู่ (玄武) ได้บำเพ็ญตบะบนยอดเขาแห่งนี้ สถานที่ที่เสมือนเป็นแดนสุขาวดี ได้ใช้วิชาทั้งบุ๋นและบู๊ต่อกรกับภิกษุหลายรูปของฝ่ายพุทธจนได้รับชัยชนะ สามารถยึดเขาแห่งนี้เป็นที่พำนักสืบมา ทิวเขาอู่ตังเป็นสถานที่ที่รวมสิ่งก่อสร้างตามแบบสถาปัตยกรรมจีนหลายยุคหลายสมัยเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน เรื่อยมากระทั่งราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ชิง รวมกันนับได้กว่าพันปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและทิวเขาอู่ตัง · ดูเพิ่มเติม »

ขุนศึกตระกูลหยาง

นศึกตระกูลหยาง เป็นเรื่องเล่าที่เป็นเสมือนตำนานในประวัติศาสตร์จีน ในยุคของราชวงศ์ซ่งเหนือ เรื่องราวขุนศึกตระกูลหยางเขียนขึ้น โดย ถัวถัว นักเขียนชาวมองโกล ในยุคราชวงศ์หยวน โดยอ้างอิงมาจากหนังสือบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์ซ่งที่ชื่อ History of Song เป็นเรื่องราวของครอบครัวแซ่หยาง (楊) ที่รับราชการทหารมาตลอดทั้งตระกูลถึง 3 ชั่วอายุคน มีความจงรักภักดีและพร้อมตายในสนามรบได้อย่างสมศักดิ์ศรี อีกทั้งเมื่อเหล่าผู้ชายตายหมดแล้ว ผู้หญิงซึ่งเป็นภรรยาม่ายหรือลูกหลานในตระกูลก็รับหน้าที่ต่อแทน เรื่องราวเริ่มต้นขึ้นที่ ในรัชสมัย ซ่งไท่จงฮ่องเต้ อันเป็นฮ่องเต้รัชกาลที่ 2 ของราชวงศ์ซ่งเหนือ เสด็จยกทัพไปปราบปราม เล่ากึน แห่งราชวงศ์โฮ่วฮั่น หยางเย่ หรือ เอียเลงก๋ง (楊業) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองซัวอ๋าวยกกองทัพมาช่วยเล่ากึน สงครามจึงสงบกันไปคราวหนึ่ง เมื่อฮ่องเต้ซ่งไท่จู่สวรรคต เจ้ากวงอี้ พระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์แทน เถลิงพระนามว่า ซ่งไท่จงฮ่องเต้ ต่อมา ซ่งไท่จูเสด็จยกกองทัพหลวงไปตีเมืองปักหั้นอีก คราวนี้เกลี้ยกล่อม หยางเย่ กับบุตรชายทั้ง 7 คนมาเข้ากับตนไว้ได้ หลังจากนั้นได้ยกทัพไปปราบเมืองไซเหลียวต่อไป เมื่อซ่งไท่จูฮ่องเต้ถูกล้อมอยู่ในระหว่างศึก หยางเย่กับบุตรก็ช่วยกันแก้ไขเอาออกมาได้ แต่ต้องสู้กับข้าศึกจน หยางต้าหลาง, หยางเอ้อหลาง, หยางซันหลาง ซึ่งเป็นบุตรชายคนโต, คนที่ 2 และ 3 ต้องตายกลางสนามรบ ส่วน หยางอู่หลาง บุตรชายคนที่ 5 ได้หนีไปบวชจึงรอด ส่วน หยางซื่อหลาง บุตรชายคนที่ 4 ถูกชาวฮวนจับเอาไป เหลือแต่ตัวของหยางเย่ยและหยางลิ่วหลาง เท่านั้นที่รอดกลับมาได้ ฮ่องเต้ซ่งไท่จูจึงโปรดให้สร้างบ้านและมอบเครื่องแสดงเกียรติยศต่าง ๆ ให้ ภายหลังหยางเย่กับหยางซื่อหลางถูก พานเหรินเหม่ย ซึ่งเป็นขุนนางที่เป็นเสมือนคู่ปรับของตระกูลหยางกำจัด คงเหลือแต่หยางลิ่วหลาง บุตรชายคนที่ 6 เพียงคนเดียว ฮ่องเต้ซ่งไท่จู อยู่ในราชสมบัติได้ 22 ปีก็เสด็จสวรรคต ต่อมาในรัชกาล ซ่งไท่จงฮ่องเต้ โปรดให้หยางลิ่วหลางเป็นแม่ทัพไปปราบปรามเมืองไซเหลียวและเมืองไซฮวนได้มาเป็นเมืองขึ้น เมื่อหยางลิ่วหลางตาย เมืองไซฮวนกลับกำเริบขึ้นอีก ครั้งนี้เป็น หยางจงเป่า ซึ่งเป็นบุตรชายของหยางลิ่วหลางพร้อมกับพวกหญิงม่าย ผู้ซึ่งเคยเป็นภรรยาของพี่น้องตระกูลหยางที่สิ้นชีพไปแล้วทั้งหมด รวมทั้ง ภรรยาของหยางจงเป่า คือ มู่กุ้ยอิง นำทัพปราบปรามเอง ซึ่งภายหลังเมืองไซฮวนก็ได้สยบมอบต่อราชวงศ์ซ่ง บ้านเมืองถึงยุคสงบสุข ไร้ซึ่งเสี้ยนหนามแผ่นดิน บรรดาขุนนางผู้ใหญ่ในเมืองหลวงก็ล้วนแต่ซื่อสัตย์ มีความจงรักภักดี ฝ่ายพลเรือนมี โขวจุ้น เป็นขุนนางใหญ่ ฝ่ายกลาโหมมี หยางจงเป่า ได้บังคับบัญชาการงานทั้งปวงโดยสิทธิ์ขาดทั้งหมด เรื่องราวของขุนศึกตระกูลหยางได้รับการถ่ายทอดในลักษณะบอกเล่าเป็นนิทานและเป็นการแสดงในการละเล่นอุปรากรของจีนต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน มีการต่อเติมเรื่องราวให้มีสีสันจากเดิม เช่น การเพิ่มบทของความรักระหว่าง หยางซื่อหลาง บุตรชายคนที่ 4 ของตระกูลกับเจ้าหญิงเมืองไซเหลียว ซึ่งเป็นข้าศึก หรือการที่มี เปาบุ้นจิ้น หรือ อ๋องแปด ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญที่มีตัวตนจริงเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เป็นต้น เนื่องจากเป็นบุคคลร่วมสมัยกัน ในวัฒนธรรมร่วมสมัยได้ดัดแปลงมาจากภาพยนตร์หรือซีรีส์ชุดต่าง ๆ มากมาย อาทิ The 14 Amazons ในปี ค.ศ. 1972, The Yang's Saga ของ TVB ในปี ค.ศ. 1985 นำแสดงโดยนักแสดงที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิ หลิว เต๋อหัว, หวง เย่อหัว, เหมียว เฉียวเหว่ย, เหลียง เฉาเหว่ย ร่วมด้วย โจว เหวินฟะ และทัง เจิ้นเย่, Heroic Legend of the Yang's Family ของ ATV ในปี ค.ศ. 1994 นำแสดงโดย ฉี เส้าเฉียน, Warriors of The Yang Clan ในปี ค.ศ. 2004 นำแสดงโดย ตี้หลุง และภาพยนตร์ทุนสร้างสูงในปี ค.ศ. 2012 เรื่อง Saving General Yang นำแสดงโดย เจิ้ง อี้เจี้ยน และเจิ้ง เส้าชิว เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและขุนศึกตระกูลหยาง · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง

รื่องประหารของเปาบุ้นจิ้น รัฐบาลจีนได้จำลองขึ้นและจัดแสดงไว้ที่ศาลไคฟงในปัจจุบัน "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" หรือ "ประหารก่อน รายงานทีหลัง" (kill first, report later) เป็นสำนวนจีน ใช้อุปมาอุปไมยถึงการที่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ใดให้ลุล่วงไปก่อนแล้วจึงค่อยรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาทีหลัง ที่มาของสำนวนนี้ ว่ากันไว้สองทาง ทางแรกว่าในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในวันที่ขุนนางตงซวน ได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการนครลั่วหยาง เมืองหลวงของประเทศจีนในสมัยนั้น เขาพบว่ามีคดีหนึ่งค้างอยู่ในศาลซึ่งที่ผ่านมาไม่มีทางจะลุล่วงได้ โดยคดีมีว่าข้าราชบริพารคนหนึ่งของพระราชธิดาหูหยาง เป็นคนหยาบช้าและได้กระทำฆาตกรรมขึ้น แต่ไม่มีผู้ได้กล้าลงโทษเพราะเกรงพระราชหฤทัยและอิทธิพลของพระราชธิดา ขุนนางตงซวนนั้นเป็นคนใจซื่อมือสะอาด ไม่เกรงกลัวอิทธิพลของผู้ใด จึงสั่งให้ตำรวจไปจับกุมข้าราชบริพารผู้นั้นขณะที่โดยเสด็จพระราชธิดา และสั่งลงโทษประหารชีวิตทันที พระราชธิดาทรงพระพิโรธ เสด็จไปกราบบังคมทูลพระกรุณาขอให้มีรับสั่งประหารขุนนางตงซวน ขุนนางตงซวนได้เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและกราบบังคมทูลรายงานเกี่ยวกับคดี ซึ่งเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงสดับแล้วเห็นว่าการกระทำของขุนนางตงซวนมิได้เป็นผิดเป็นโทษแต่อย่างใด ก็มิได้ทรงเอาโทษ เป็นที่มาของสำนวนว่า "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" อีกทางหนึ่งเกี่ยวข้องกับเปาบุ้นจิ้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งมีที่มาจากวรรณกรรมจีนเกี่ยวกับเปาบุ้นจิ้นเรื่อง "เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม" โดยกล่าวว่าเปาบุ้นจิ้นได้รับพระราชทานชุดเครื่องประหารจากสมเด็จพระจักรพรรดิ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและฆ่าก่อน รายงานทีหลัง · ดูเพิ่มเติม »

งักฮุย

งักฮุย (สำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ เยว่ เฟย์ (สำเนียงจีนกลาง) (24 มีนาคม ค.ศ. 1103 - 27 มกราคม ค.ศ. 1142) เป็นนักรบกู้ชาติคนสำคัญซึ่งมีชื่อเสียงมากผู้หนึ่งในประวัติศาสตร์ประเทศจีน มีชีวิตอยู่ในยุคราชวงศ์ซ่งใต้ เป็นแม่ทัพผู้ต่อต้านการรุกรานของชนเผ่าจิน ถูกใส่ความโดยศัตรูทางการเมืองจนต้องโทษประหารชีวิต หลังจากนั้นจึงได้รับยกย่องเป็นแบบอย่างแห่งความซื่อสัตย์ในวัฒนธรรมจีน ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและงักฮุย · ดูเพิ่มเติม »

งักฮุย แม่ทัพพิทักษ์แผ่นดิน

งักฮุย แม่ทัพพิทักษ์แผ่นดิน (The Petriot Yua Fei) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงประวัติของ งักฮุย แม่ทัพคนสำคัญคนหนึ่งใน ราชวงศ์ซ้อง หรือราชวงศ์ซ่ง นำแสดงโดย หวง เสี่ยวหมิง, เจิ้ง เพ่ยเพ่ย, หลิน ซินหรู ออกอากาศทาง ช่อง 3 แฟมิลี่ เป็นตอนแรกในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 แทนละครโทรทัศน์เรื่อง สามก๊ก โดยมีละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศต่อจากเรื่องนี้คือ วีรบุรุษตระกูลหยาง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและงักฮุย แม่ทัพพิทักษ์แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

งิ้ว

นักแสดงงิ้ว งิ้ว หรือ อุปรากรจีน (Chinese opera) เป็นการแสดงที่ผสมผสานการขับร้องและการเจรจาประกอบกับลีลาท่าทางของนักแสดงให้ออกเป็นเรื่องราว โดยสมัยนั้นได้นำเอาเหตุการณ์ต่างๆ ในพงศาวดารและประวัติศาสตร์มาดัดแปลงเป็นบทแสดง รวมทั้งยังมีการนำเอาความเชื่อทางประเพณีและศาสนาเข้าไปผสมผสานกับการแสดงงิ้วด้วย เดิมประเทศจีนมีงิ้วราว 300 กว่าประเภท ส่วนใหญ่จะเป็นงิ้วท้องถิ่น ส่วนงิ้วระดับประเทศ เช่น งิ้วปักกิ่ง, งิ้วเส้าซิง, งิ้วเหอหนัน และงิ้วกวางตุ้ง โดยงิ้วปักกิ่งเป็นงิ้วที่มีชื่อเสียงมากที่สุด โดยปัจจุบันถือเป็นตัวแทนงิ้วประจำชาติจีน ในบรรดางิ้วจีนกว่า300ประเภท "งิ้วคุนฉวี่"昆曲 "งิ้วกวางตุ้ง"粤剧/粵劇 และ"งื้วปักกิ่ง"京剧/京劇 ได้รับการยอมรับจากองค์การยูเนสโก และได้ขึ้นทะเบียนเป็น ‘มรดกโลก’ ในปี 2001,2009และ2010 ตามลำดั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและงิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

ตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน

ตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน เป็นเครื่องที่แสดงถึงความมีอำนาจสูงที่สุดของแผ่นดินแผ่นดินจีนในประวัติศาสตร์ ตราประทับพระราชลัญจกรในจักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานจักรพรรดิ อภินิหารฝ่ามือยูไล

ตำนานจักรพรรดิ อภินิหารฝ่ามือยูไล (Legend of Emperors: Buddha's Palm) เป็นการ์ตูนจีนจากประเทศฮ่องกง แต่งเรื่องโดย หวงยี่หลาง วาดภาพโดย หวงยี่หลาง ตีพิมพ์และจัดจำหน่ายโดยสำนักพิมพ์บุรพัฒน์ พิมพ์ครั้งแรก 1 กุมภาพันธ์ 2546 โดยมีเนื้อเรื่องเป็นเรื่องราวของ "หลงเกอเอ๋อ" เด็กหนุ่มที่ชอบกินกบประหลาดจนทำให้มีพลังวัตรมหาศาลแฝงอยู่ในร่าง และวันหนึ่งเขาได้พบกับ "หลี่อู๋หมิง" ผู้สืบทอดฝ่ามือยูไลที่บาดเจ็บสาหัสจากการตามล่าของศัตรู หลี่อู๋หมิงถูกชะตากับหลงเกอเอ๋อ จึงถ่ายทอดฝ่ามือยูไลสามกระบวนท่าให้ เพื่อให้หลงเกอเอ๋อเป็นผู้สืบทอดฝ่ามือเทพคนต่อไป และใช้ฝ่ามือยูไลนี้ปกป้องบ้านเมืองช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อนต่อไป เหมือนชะตาเล่นกับเขา จนในที่สุดเขาได้เกี่ยวพันธ์กับจอมมารมากมายในยุทธ์ภพ และผู้ก่อตั้งราชวงศ์ซ่ง หรือซ้อง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและตำนานจักรพรรดิ อภินิหารฝ่ามือยูไล · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋ ชิง

ตี๋ ชิง ตามสำเนียงกลาง หรือ เต็ก เช็ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 1008–1057) เป็นแม่ทัพในยุคราชวงศ์ซ้องที่มีชื่อเสียงปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์และพงศาวดารของจีน ตี๋ ชิง เกิดในครอบครัวที่ยากจน ณ บริเวณซึ่งปัจจุบันคือ เมืองเฟิงหยาง มณฑลซานซี ไต่เต้าจนกระทั่งได้มาเป็นแม่ทัพใหญ่ในยุคของเหรินจงฮ่องเต้ เรื่องราวของตี๋ ชิง ปรากฏอยู่ในพงศาวดารจีนชื่อว่า 萬花樓 แต่เป็นการเอาประวัติศาสตร์จริง ๆ มาแต่งเติมว่า เป็นขุนทหารที่จงรักภักดีต่อฮ่องเต้อย่างสูง แม้เป็นแม่ทัพ แต่เมื่อออกรบ จะอยู่แนวหน้าพร้อมทหารเลว จึงเป็นที่เคารพของไพร่พล และเมื่อออกรบจะสวมหน้ากากปิศาจที่ทำจากหนังสัตว์เพื่อปกปิดใบหน้าตน เพราะเคยกระทำผิดจนถูกสักที่ใบหน้า และเพื่อข่มขวัญข้าศึกด้วย ต่อมา ตี๋ ชิง ถูกใส่ความ และได้เปาบุ้นจิ้น ชำระคดีให้ ทั้งยังระบุว่า ตี๋ ชิง เป็นดาวบู๊จุติมาคู่กับเปาบุ้นจิ้นซึ่งเป็นดาวบุ๋น โดยตี๋ ชิง เป็นผู้ที่ไต่เต้าขึ้นมาจนเป็นบัณฑิตและแม่ทัพใหญ่ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักกิจการทหาร (樞密副使) โดยมีผลงานการรบทั้งหมด 25 ครั้ง การรบที่เป็นที่เลื่องลือรู้จักดีที่สุด คือ การบุกจู่โจมที่ช่องเขาคุนหลุนในเวลากลางคืน ในวันแรกตามปฏิทินจันทรคติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและตี๋ ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฉาปี้

ฉาปี้ (1227–1281) เป็นฮองเฮาของกุบไล ข่าน ปฐมจักรพรรดิราชวงศ์หยวน พระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและฉาปี้ · ดูเพิ่มเติม »

ซัวเถา

้านโบราณและเก๋งจีนซึ่งบอกว่าเป็นเมืองที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก จังหวัดซัวเถา หรือ ซ่านโถว เป็นหนึ่งในจังหวัดของจีนที่ตั้งอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง มีเนื้อที่ 234 ตารางกิโลเมตร ประชากร 4,846,400 คน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซัวเถา · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาเปา

ซาลาเปา ซาลาเปา (包子, เปาจื่อ; 燒包 ความหมาย "ห่อเผา") พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีปั้นเป็นลูกกลม ข้างในใส่ไส้ มีทั้งไส้หวานและไส้เค็ม" ซาลาเปาเป็นอาหารจีนชนิดหนึ่งทำมาจากแป้งสาลีและยีสต์ และนำมาผ่านขบวนการนึ่ง ซาลาเปาจะมีไส้อยู่ภายในโดยอาจจะเป็นเนื้อหรือผัก ซาลาเปาที่นิยมนำมารับประทานได้แก่ ซาลาเปาไส้หมู และ ซาลาเปาไส้ครีม สำหรับอาหารที่มีลักษณะคล้ายซาลาเปา ที่ไม่มีไส้จะเรียกว่า หมั่นโถว ซาลาเปาเชื่อว่าถือกำเนิดขึ้นมาในยุคราชวงศ์ซ้อง (ค.ศ. 960–1279) ซาลาเปาถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในชุดอาหารติ่มซำในวัฒนธรรมจีน ซาลาเปาสามารถนำมารับประทานได้ในทุกมื้ออาหาร ที่ฟิลิปปินส์ก็นิยมรับประทานซาลาเปาเช่นเดียวกัน โดยเรียกว่า "ซัวเปา" (Siopao).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซาลาเปา · ดูเพิ่มเติม »

ซือ ซื่อหลุน

ซือ ซื่อหลุน (施世綸; 1659 ที่เมืองเฉวียนโจว มณฑลฝูเจี้ยน– 3 กรกฎาคม 1722) หรือที่เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ ซือ กง (Shi Gong; 施公; "ใต้เท้าซือ") หรือ ซือ ชิงเทียน (Shi Qingtian; 施青天; "ซือฟ้ากระจ่าง") ขุนนางคนหนึ่งในยุคราชวงศ์ชิง รับราชการเป็นนายอำเภอในรัชสมัยจักรพรรดิคังซี โดยเป็นบุตรชายของนายพลซือ หลาง เรื่องราวของซือ ซื่อหลุน ได้ถูกนำมาแต่งเป็นนิยายสืบสวนสอบสวน ในศตวรรษ 19 ด้วยการเล่าลือว่าเป็นผู้ทรงคุณธรรม และมีปัญญาความรู้ความสามารถรอบด้าน ทั้งในการทำนายโหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ในทำนองเดียวกับเปาบุ้นจิ้น ในยุคราชวงศ์ซ้องของชาวฮั่น ในชื่อ The Cases of Lord Shi (施公案) จนได้รับฉายาว่า "เปาบุ้นจิ้นแห่งยุคคังซี" เรื่องราวของซือ ซื่อหลุน หรือซือ กง ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นซีรีส์หรือภาพยนตร์ในแบบวัฒนธรรมร่วมสมัยของจีนหลายครั้ง เช่น The Strange Cases of Lord Shih (施公奇案; "ซือกง อย่าปล่อยให้คนชั่วลอยนวล") ของไต้หวันในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซือ ซื่อหลุน · ดูเพิ่มเติม »

ซูโจว

ซูโจว (จีนตัวเต็ม: 蘇州; จีนตัวย่อ: 苏州) เป็นเมืองสำคัญทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลเจียงซู ซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศจีน อยู่ติดกับเขตการปกครองพิเศษเซี่ยงไฮ้ ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ตอนปลายของแม่น้ำแยงซี ริมฝั่งทะเลสาบไท่หรือไท่หู (อังกฤษ: Lake Tai or Tai Hu; จีนตัวย่อ: 太湖) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 4 ล้านคนในเขตเมือง และมีประชากรรวมกว่า 10 ล้านคนในพื้นที่เขตปกครองทั้งหมด เมืองซูโจวยังถือได้ว่าเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศจีน เป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ศูนย์กลางการค้า และการขนส่ง นอกจากนี้ซูโจวยังเป็นเมืองสำคัญด้านวัฒนธรรม การศึกษา ศิลปะ และการคมนาคม เมืองซูโจวเริ่มก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ 514 ปี ก่อนคริสตกาล มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,500 ปี ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หรือเมื่อประมาณ 100 ปี ก่อนคริสตกาล เมืองซูโจวเป็นหนึ่งในสิบเมืองใหญ่ที่สุดในโลกเนื่องจากมีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่จำนวนมาก และในศตวรรษที่ 10 สมัยราชวงศ์ซ่ง เมืองซูโจวเคยเป็นเมืองศูนย์กลางด้านพาณิชย์ที่สำคัญของประเทศ ต่อมาในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง จนถึงช่วงกบฏไท่ผิง (Taiping Rebellion) ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซูโจว · ดูเพิ่มเติม »

ซีอาน

ซีอาน หอระฆังกลางเมืองซีอาน วิวซีอาน ซีอาน เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีนซีอาน เป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของโลกเมืองหนึ่ง ความหมาย: ความสงบสุขทางตะวันตก) เป็นเมืองหลวงของมณฑลส่านซี ในประเทศจีน และเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์จีน ในอดีตซีอานได้เป็นเมืองหลวงของ 13 ราชวงศ์ รวมทั้ง โจว ชิน ฮั่น และ ถัง ซีอานยังเป็นเมืองปลายทางของเส้นทางสายไหม ซีอานมีประวัติอันยาวนานมากกว่า 3,100 ปี โดยชื่อเดิมว่า ฉางอาน (长安, 長安 พินอิน: Cháng'ān) ซึ่งมีความหมายว่า "ความสงบสุขชั่วนิรันดร์" ซีอานเป็นเป็นเมืองที่เจริญและใหญ่ที่สุดในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน และเป็น 1 ใน 10 เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน ภูมิอากาศของภูมิภาคนี้อบอุ่น มีฝนตกมาก มีปริมาณฝนเทียบได้ใกล้เคียงกับภูมิภาคด้านใต้ของประเทศจีนในปัจจุบัน ดังนั้น ประชากรที่นี่จึงค่อนข้างมาก ทางตะวันออกของ ซีอาน ห่างไปประมาณ 6 กิโลเมตร มีหมู่บ้านชื่อ ปั้น-ภอ-ฌุน ได้มีการค้นพบหมู่บ้านที่มีอายุกว่า 6 พันปี ซึ่งมีประชากรประมาณ 500 คน ฮ่องเต้ของราชวงศ์โจวตะวันตก ได้เคยสร้างเมืองหลวง 2 เมือง ทางตะวันตกของ ซีอาน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซีอาน · ดูเพิ่มเติม »

ซ่งเจียง

ซ่งเจียง หรือซ้องกั๋ง ในสำเนียงแต้จิ๋ว เป็นผู้นำกลุ่มกบฏคนสำคัญในสมัยราชวงศ์ซ่ง เคยครองความเป็นใหญ่ในบริเวณมณฑลซานตงและมณฑลเหอหนาน ก่อนที่จะยอมสวามิภักดิ์ต่อราชสำนักในภายหลัง ซ่งเจียงยังเป็นตัวละครหลักในวรรณกรรมเรื่องสุยหู่จ้วน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน ซ่งเจียงถูกจัดอยู่อันดับแรกใน36ดาวฟ้าแห่ง108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน มีฉายาว่า "พิรุณทันกาล" (及時雨).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซ่งเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ซ้องกั๋ง

ซ้องกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ ซ่งเจียง ตามสำเนียงกลาง (All Men Are Brothers, Men of the Marshes, Outlaws of the Marsh, The Marshes of Mount Liang หรือ Water Margin) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาจีนสำเนียงกลางว่า ฉุยหู่จ้วน (Shuǐhǔ Zhuàn) เป็นนวนิยายจีนซึ่งเชื่อกันว่าเป็นผลงานของ ชือ ไน่อัน (Shī Nài'ān) และนับถือกันว่าเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน แม้เขียนด้วยภาษาธรรมดา มากกว่าจะเป็นภาษาทางวรรณกรรมก็ตาม Yenna Wu, "Full-Length Vernacular Fiction," in Victor Mair, (ed.), The Columbia History of Chinese Literature (NY: Columbia University Press, 2001), pp.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซ้องกั๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์บรูไน

ประวัติศาสตร์บรูไน สุลต่านแห่งบรูไนทรงสร้างจักรวรรดิบรูไนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปกครองตั้งแต่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียวและทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ ต่อมามีสงครามกับสเปนสั้น ๆ ทำให้บรูไนเริ่มอ่อนกำลังลง จนบรูไนเสียดินแดนซาราวะก์ให้กับรายาผิวขาว จนกระทั่งต้องยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ จนบรูไนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประวัติศาสตร์บรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประวัติศาสตร์ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม

ียนก่อนประวัติศาสตร์บนผนังถ้ำเป็นรูปวัวที่ลาส์โกซ์ (Lascaux) ในประเทศฝรั่งเศส ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม (ภาษาอังกฤษ: History of painting) เริ่มสร้างกันมาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์และเผยแพร่ไปในทุกวัฒนธรรมและทุกที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในโลกจนกระทั่งปัจจุบันนี้ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรที่ 20 จิตรกรรมจะเป็นการเขียนศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art), ศิลปะศาสนา หรือศิลปะคลาสสิก หลังจากนั้นจึงมีการเริ่มเขียนจิตรกรรมที่เป็นแต่เพียงศิลปะนามธรรม (Abstract art) และต่อมาศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปะตะวันตก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1127

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1127 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประเทศจีนใน ค.ศ. 1127 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1279

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1279 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประเทศจีนใน ค.ศ. 1279 · ดูเพิ่มเติม »

ปาท่องโก๋

ปาท่องโก๋ เป็นชื่อของกินชนิดหนึ่งของจีน ทําด้วยแป้งสาลีตัดเป็นท่อน ๆ แล้วจับเป็นคู่ติดกัน ทอดนํ้ามันให้พอง นิยมกินเป็นอาหารเช้าพร้อมกับโจ๊กหรือเครื่องดื่มร้อน เช่น น้ำเต้าหู้ กาแฟ โกโก้ หรือช็อกโกแลต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและปาท่องโก๋ · ดูเพิ่มเติม »

แม่ทัพอยู่บน ข้าอยู่ล่าง

แม่ทัพอยู่บน ข้าอยู่ล่าง (Oh My General; 将军在上) เป็นเว็บซีรีย์ของจีนในปี 2560 นำแสดงโดย มา ชือฉุน และเชิ่ง อีหลุน ดัดแปลงจากนวนิยาย แม่ทัพอยู่บน ข้าอยู่ล่าง โดย จวี๋ฮวาซั่นหลี่ มีฉากหลังในยุคราชวงศ์ซ่ง เล่าเรื่องของการสมรสระหว่างแม่ทัพหญิงฝีมือฉกาจกับอ๋องผู้มีความงามเลิศ ปัจจุบันซีรีย์กำลังออกอากาศทางโยวคู่ (Youku) เริ่มตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2560.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและแม่ทัพอยู่บน ข้าอยู่ล่าง · ดูเพิ่มเติม »

แทนแกรม

แทนแกรม (Tangram) เป็นแผ่นตัวต่อปริศนามี 7 แผ่น ซึ่งสามารถนำมาประกอบเป็นรูปร่างต่างๆ โดยเมื่อขณะไม่ได้เล่นจะถูกเก็บไว้ในลักษณะสี่เหลี่ยม เชื่อว่าแทนแกรมมีต้นกำเนิดจากราชวงศ์ซ่ง ของประเทศจีน โดยแทนแกรมนั้นมีชื่อเรียกภาษาจีนอีกชื่อหนึ่งว่า "ฉีเฉียวตู" แทนแกรมเป็นชิ้นส่วนรูปเรขาคณิตสองมิติที่สามารถสร้างขึ้นได้โดยเขียนเส้นต่าง ๆ ลงบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากเล็ก 2 ชิ้น รูปสามเหลี่ยม ขนาดกลาง 1 ชิ้น รูปสามเหลี่ยมมุมฉากขนาดใหญ่ 2 ชิ้น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1 ชิ้น และรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานอีก 1 ชิ้น ซึ่งรูปสามเหลี่ยมขนาดกลาง รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ล้วนแล้วแต่มีพื้นที่เป็นสองเท่าของสี่เหลี่ยมมุมฉากเล็ก สามเหลี่ยมมุมฉากขนาดใหญ่ แต่ละชิ้นมีพื้นที่เป็น 4 เท่าของสี่เหลี่ยมมุมฉากเล็ก 1 ชิ้น และมุมที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนทั้ง 7 ชิ้น มีอยู่เพียง 3 แบบ คือ มุมฉาก มุม 45 องศา และ มุม 135 อง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและแทนแกรม · ดูเพิ่มเติม »

แคะ

แคะ หรือ ฮากกา (客家 คำว่า แคะ ในภาษาไทยถูกเรียกตามภาษาแต้จิ๋วว่า แขะแก ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เค่อเจีย มีความหมายว่า ครอบครัวผู้มาเยือน ส่วนในภาษาจีนแคะเอง เรียกว่า ขักก๊า หรือ ฮากกา) คือ ชนกลุ่มจีนฮั่นกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกล่าวกันว่ามีบรรพบุรุษที่มีต้นกำเนิดบริเวณมณฑลเหอหนานและซานซี ทางตอนเหนือของจีนเมื่อราว 2,700 ปีที่แล้ว บรรพบุรุษของชาวจีนแคะอพยพลงใต้ เนื่องจากความไม่สงบทางสังคม การลุกฮือ และการรุกรานจากผู้ยึดครองต่างชาติตั้งแต่ยุคราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265-420) กระแสการอพยพครั้งต่อ ๆ มาเกิดขึ้นเมื่อยุคสิ้นราชวงศ์ถัง เมื่อประเทศจีนแตกออกเป็นส่วน ๆ และช่วงราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรทางภาคเหนือลดลง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและแคะ · ดูเพิ่มเติม »

โว่หลงกัง

ทางเข้าวัดวู่โหฺว ที่โว่หลงกัง โว่หลงกัง ตามสำเนียงกลาง หรือ โงลังกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นทัศนียเขตทางวัฒนธรรมใน เมืองหนันหยาง มณฑลเหอหนัน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงเป็นอันมากเนื่องจากจูเกอ เลี่ยง (ฮกเกี้ยนว่า จูกัดเหลียง) อัครมหาเสนาบดีแห่งรัฐฉู่ฮั่นในสมัยสามอาณาจักร เคยพำนักอยู่เกือบสิบปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและโว่หลงกัง · ดูเพิ่มเติม »

ไช่ หลุน

หลุน (ราว ค.ศ. 50 ถึง ค.ศ. 121) หรือชื่อรองว่า จิ้งจ้ง (敬仲) เป็นขันทีชาวจีนซึ่งถือกันว่า คิดค้นกระดาษและวิธีผลิตกระดาษชนิดที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอันต่างจากกระดาษพาไพรัสของอียิปต์ แม้ในประเทศจีนมีกระดาษหลายรูปแบบมาตั้งแต่ 200 ปีก่อน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและไช่ หลุน · ดูเพิ่มเติม »

ไตฮงโจวซือ

ตฮงกง (大峰祖师)เป็นเทพเจ้าจีนองค์หนึ่งโดยเป็นบรรพชิตใน ศาสนาพุทธมหายานโดยมีชีวิตอยู่จริงในสมัยราชวงศ์ซ่งช่วงรัชกาลจักรพรรดิซ่งเหรินจงจนถึงถึงแก่มรณภาพในช่วงประมาณรัชกาลจักรพรรดิซ่งเกาจง.โดยเป็นบรรพชิตผู้เริ่มต้นบุกเบิกสงเคราะห์ชาวบ้านเกี่ยวกับการเก็บศพที่ไร้ญาติ ซ่อมแซมถนนหนทางที่ชำรุด และสร้างสะพานในที่ที่ควรสร้างเป็นหลักใหญ่ โดยเป็นจุดกำเนิดของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งอันเป็นมูลนิธิการกุศลของจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและไตฮงโจวซือ · ดูเพิ่มเติม »

ไฉ หรง

ฉ หรง (柴榮; 27 ตุลาคม 921 – 27 กรกฎาคม 959) หรือชื่อใหม่ว่า กัว หรง (郭榮) indicates that he was called Guo Rong at least since 950.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและไฉ หรง · ดูเพิ่มเติม »

ไฉ จงซฺวิ่น

ฉ จงซฺวิ่น ตามสำเนียงกลาง หรือ จิวซาซือ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (柴宗訓; 14 กันยายน 953 – 973) หรือชื่ออื่นว่า กัว จงซฺวิ่น (郭宗訓) และเมื่อตายแล้วได้นามว่า ปูชนียกษัตริย์ (恭帝) เป็นกษัตริย์องค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ไฉ จงซฺวิ่น เป็นบุตรของไฉ หรง (柴榮) ไฉ หรง ตายฉับพลันในปี 959 ไฉ จงซฺวิ่น จึงสืบบัลลังก์ต่อ แต่ต้นปีถัดมา แม่ทัพเจ้า ควงอิ้น (趙匡胤) ยึดอำนาจแล้วตั้งราชวงศ์ซ่งขึ้น ไฉ จงซฺวิ่น ถูกฆ่าระหว่างถูกส่งไปขังไว้ที่เมืองซีจิง (西京).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและไฉ จงซฺวิ่น · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลูซอน

ลูซอน (Luzon) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ (อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันและมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือ และเกาะต่าง ๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันดัวเนส เกาะมารินดูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดิซ้องน้อย" (Lesser Song Empire) หรือ Lusong Kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" (Luçonia) หรือ "ลูซอน" (Luçon) ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธิ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา (Nueva Castilla) หรือ นิวคาสตีล (New Castile) อีกด้วย ต่อมาในช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ อากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยู่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเกาะลูซอนและเกาะอื่น ๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1946 ลูซอน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเกาะลูซอน · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น

ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) ราชวงศ์ซิน (ปี ค.ศ. 9 – 23) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ปี ค.ศ. 25 – 220) ระบอบการปกครองของราชวงศ์ซินก่อตั้งโดยจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวัง หมั่ง) เป็นระบอบการปกครองช่วงระหว่างภาวะสุญญากาศทางการเมืองคั่นกลางระหว่างการปกครองที่ยาวนานของราชวงศ์ฮั่น หลังจากที่การปกครองของจักรพรรดิซินเกาจู่ล่มสลายลง เมืองหลวงของราชวงศ์ฮั่นถูกย้ายไปทางทิศตะวันออกจากเมืองฉางอานไปยังเมืองลั่วหยาง ด้วยเหตุนี้นักประวัติศาสตร์จึงเรียกยุคก่อนและหลังว่าราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตามลำดับ เศรษฐกิจสมัยราชวงศ์ฮั่นถูกกำหนดโดยการเติบโตของประชากรอย่างแพร่หลาย การกลายเป็นเมืองเพิ่มขึ้น การเติบโตอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนของอุตสาหกรรมและการค้า และการทดลองของรัฐบาลโดยแปลงสินทรัพย์ของเอกชนให้เป็นสินทรัพย์ของรัฐ ในยุคนี้ระดับของการทำเหรียญและการไหลเวียนของเหรียญเงินตราเติบโตอย่างมีนัยสำคัญ รูปแบบของพื้นฐานทางระบบการเงินที่มั่นคง เส้นทางสายไหมช่วยอำนวยความสะดวกในการสถาปนาการค้าและแลกเปลี่ยนเครื่องบรรณาการกับต่างประเทศทั่วทวีปยูเรเชีย หลายสิ่งนี้ไม่เคยเป็นที่รับรู้ของชาวจีนยุคโบราณมาก่อน เมืองหลวงของราชวงศ์ทั้งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (ฉางอาน) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ลั่วหยาง) ตั้งอยู่ท่ามกลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้นทั้งด้านประชากรและด้านพื้นที่ โรงงานของรัฐบาลผลิตเครื่องตกแต่งสำหรับพระราชวังของจักรพรรดิและผลิตสินค้าสำหรับสามัญชน รัฐบาลควบคุมการก่อสร้างถนนและสะพานหลายแห่งซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจของรัฐบาลอย่างเป็นทางการและส่งเสริมการเจริญเติบโตทางการค้า ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ฮั่น นักอุตสาหกรรม ผู้ค้าส่งและพ่อค้า จากพ่อค้าปลีกรายย่อยไปจนถึงนักธุรกิจที่มั่งคั่งสามารถมีส่วนร่วมในความหลากหลายของอุตสาหกรรมและการค้าที่หลากหลายทั้งภายในประเทศ ในแวดวงสาธารณะ และแม้แต่ทหาร ในช่วงต้นราชวงศ์ฮั่น ชาวนาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทพึ่งพาตัวเองเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกเขาเริ่มพึ่งพาการแลกเปลี่ยนทางการค้าอย่างหนักกับเจ้าของที่ดินการเกษตรขนาดใหญ่ที่มั่งคั่ง ชาวนาชาวไร่จำนวนมากมีหนี้สินลดลงและถูกบังคับให้กลายเป็นแรงงานจ้างหรือไม่ก็เป็นผู้อยู่อาศัยที่ต้องจ่ายค่าเช่าให้กับชนชั้นเจ้าของที่ดิน รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นพยายามให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจกับชาวนาที่ยากจนอย่างต่อเนื่อง พวกชาวนาต้องแข่งขันกับขุนนาง เจ้าของที่ดินและผู้ประกอบการค้าที่ทรงอำนาจและอิทธิพล รัฐบาลพยายามจำกัดอำนาจของกลุ่มคนที่มั่งคั่งเหล่านี้โดยการเก็บภาษีและออกกฎระเบียบทางราชการอย่างหนัก ถึงแม้ว่ารัฐบาลของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ปี 141 – 87 ก่อนคริสตกาล) ได้แปรรูปอุตสาหกรรมเหล็กและเกลือให้กลายเป็นกิจการของรัฐ อย่างไรก็ตาม การผูกขาดของรัฐบาลเหล่านี้ถูกยกเลิกในระหว่างยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก การแทรกแซงของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้นในด้านเศรษฐกิจภาคเอกชนระหว่างปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ส่งผลให้ชนชั้นพ่อค้าเชิงพาณิชย์อ่อนแอลงอย่างหนัก การแทรกแซงของรัฐบาลช่วยให้เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งเพิ่มอำนาจพวกเขาและรับประกันความต่อเนื่องของเศรษฐกิจที่ครอบงำการเกษตร เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งครอบงำกิจกรรมด้านการค้าได้เป็นอย่างดี ปรับปรุงอำนาจการปกครองให้อยู่เหนือชาวนาที่อยู่ในชนบททั้งหมด ผู้ซึ่งรัฐบาลไว้วางใจเพราะรายได้จากการจัดเก็บภาษี กำลังทางทหารและแรงงานสาธารณะ โดยในปีคริสต์ทศวรรษที่ 180 วิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมืองเป็นเหตุให้รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นกระจายอำนาจมากขึ้น ขณะที่เจ้าของที่ดินรายใหญ่มีอิสระและมีอำนาจในชุมชนของพวกเขามากขึ้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

เสี่ยวหลงเปา

ี่ยวหลงเปา (Xiaolongbao; จีนตัวเต็ม: 小籠包; จีนตัวย่อ: 小笼包) เป็นติ่มซำแบบหนึ่งของจีน แปลตรงตัวว่าซาลาเปาในเข่งเล็ก เป็นอาหารเซี่ยงไฮ้ที่ได้รับความนิยมมากทางตอนใต้ของจีน มีต้นกำเนิดในสมัยซ่งเหนือ โดยแต่เดิมเป็นซาลาเปาลูกใหญ่ มีน้ำซุปอยู่ข้างใน เรียกทางเปา เมื่อราชสำนักซ่งเหนืออพยพหนีชนเผ่าจินลงใต้ ย้ายเมืองหลวงจากเมืองไคฟงมาเมืองหางโจว ทางเปาก็เป็นที่นิยมในหางโจว และปรับรูปแบบให้มีขนาดเล็กลงจนกลายเป็นเสี่ยวหลงเปาในปัจจุบัน เสี่ยวหลงเปาทำจากแป้งขนมปังผสมกับแป้งสาลีอเนกประสงค์ ไม่ใส่ผงฟูหรือยีสต์ ไส้เป็นหมูสับมีน้ำซุปอยู่ข้างใน ซึ่งมาจากการใส่วุ้นที่มาจากการเคี่ยวหนังหมู หนังไก่ แล้วพักให้เย็นจนแข็งตัวเป็นวุ้น ตักวุ้นนี้วางบนไส้หมู แล้วห่อด้วยแป้ง จับจีบให้ได้ 18 จีบ เมื่อนึ่งสุกวุ้นจะละลาย กลายเป็นน้ำซุปอยู่ข้างใน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเสี่ยวหลงเปา · ดูเพิ่มเติม »

เหวิน เทียนเสียง

รูปปั้นเหวินเทียนเสียงในวัดที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เหวินเทียนเสียง เป็นเสนาบดีในสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ เกิดเมื่อปี..1236 ที่ตำบลลู่หลิ่งหรือเมืองจี๋อานในปัจจุบัน เขาได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองหูหนานและเจียงซี ปี..1276 ในสมัยจักรพรรดิซ่งกงจง กองทัพมองโกลของกุบไลข่านตีได้เมืองต่างๆ ของจีน แล้วยกเข้าใกล้ราชธานีหลินอาน(หางโจว)ห่างจากกำแพงเมืองเพียง 30 ลี้ จักรพรรดิซ่งกงจงและไทเฮาเห็นว่าหมดทางสู้จึงขอสวามิภักดิ์ต่อมองโกล และเหวินเทียนเสียงออกไปเจรจาหย่าศึกแต่ก็ไม่เป็นผล กองทัพมองโกลบุกยึดเมืองหลวงและจับตัวเหวินเทียนเสียงไว้ แต่ก็หาทางหลบหนีออกมาได้ และจัดตั้งกองกำลังต่อต้านกองทัพมองโกล ในขณะที่ขุนนางอื่นที่ไม่ยอมแพ้ได้ย้ายราชธานีลงใต้ไปยังเมืองฝูโจว แล้วพากันยกองค์ชายเจ้าซื่อขึ้นเป็นจักรพรรดิซ่งต้วนจง มีเหวินเทียนเสียงเป็นอัครเสนาบดีใหญ่ ปี..1277 จักรพรรดิซ่งต้วนจงสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน องค์ชายเจ้าปิ่งได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิซ่งตี้ปิง 1 ปีถัดมากองทัพมองโกลก็ยึดเมืองฝูโจวได้สำเร็จ เหล่าขุนนางจึงย้ายราชธานีลงใต้ไปยังเมืองกว่างโจว ปลายปี..1278 ทัพมองโกลได้ยกทัพใหญ่บุกเข้ามาที่เขาอู่พัวหลิ่ง (ทางเหนือของมณฑลกวางตุ้งปัจจุบัน) จับเอาเหวินเทียนเสียง ไปเป็นเชลย แล้วเข้ายึดราชธานีได้ในปี..1279 จักรพรรดิซ่งตี้ปิงและบรรดาขุนนางหนีไปยังภูเขาหยาซานริมทะเลซินฮุ่ย แต่กองทัพมองโกลก็ตามมาโจมตีอีก ลู่ซิ่วฟูขุนนางผู้ใหญ่ จึงแบกองค์ฮ่องเต้ลงเรือหนีฝ่าวงล้อมออกไปแต่ไม่สำเร็จ สุดท้ายจึงจับฮ่องเต้หนีลงทะเลหายสาบสูญไป เมื่อทำลายราชวงศ์ซ่งใต้ได้แล้ว เหวินเทียนเสียงก็ถูกส่งขึ้นเหนือไปยังต้าตู (ปักกิ่ง)ในวันที่ 1 ตุลาคม..1279 กุบไลข่านขังเหวินเทียนเสียงไว้ในบ้าน เป็นเวลาถึง 4 ปี เพื่อเกลี้ยกล่อมและบังคับให้มารับใช้ราชสำนักมองโกล แต่เขาไม่เคยยอมสวามิภักติ์ต่อราชวงศ์หยวนเลย 9 มกราคม..1283 เหวิน เทียนเสียง ก็ถูกประหารชีวิต ขณะที่เขามีอายุได้ 47 ปี โดยก่อนตายยังได้หันหน้าไปยังทิศใต้แล้วก้มลงคำนับต่อแผ่นดินเกิด เหวินเทียนเสียงถือเป็นขุนนางและกวีผู้มีชื่อเสียงเลื่องลือในความซื่อสัตย์และภักดี โดยบทกวี กั้วหลิงติงหยาง (过零丁洋)สองวรรคท้ายเป็นประโยคที่คนจีนทุกคนยังท่องจำได้ขึ้นใจจนกระทั่งปัจจุบัน 辛苦遭逢起一经 ยากเย็นแสนเข็ญแตกฉานการรบ 干戈寥落四周星 ตรากตรำกรำศึกโดดเดี่ยวนานปี 山河破碎风飘絮 บ้านเมืองล่มสลายดุจใบไม้ร่วง 身世沉浮雨打萍 ชีวิตล่มจมดั่งแหนกลางลมฝน 惶恐滩头说惶恐 หาดหวางข่งแตกพ่ายขวัญผวา 伶仃洋里叹伶仃 ทอดถอนใจเดียวดายในหลิงติง 人生自古谁无死 แต่โบราณมาใครเล่าอยู่ค้ำฟ้า 留取丹心照汗青 เหลือเพียงใจภักดิ์คงคู่โลก อย่างไรก็ตามในสองวรรคท้ายนั้น ได้มีการแปลเป็นสำนวนต่างๆอีกมาก ที่โด่งดัง เช่น "นับแต่อดีตมามีผู้ใดบ้างที่เคยหนีจากความตายได้ จะเหลือทิ้งไว้ก็แต่เพียงหัวใจอันสัตย์ซื่อนี้ที่ส่องสว่างอยู่ในประวัติศาสตร์" และ "เกิดมามีใครไม่ปลดปลง เกียรติยืนยงฝากไว้ในแผ่นดิน" เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเหวิน เทียนเสียง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์จิ้งคัง

ปี 1125 หลังจากหวันเหยียนเซิ่นขึ้นครองราชย์เป็นจินไท่จง สืบต่อจากจินไท่จู่ผู้พี่ชายแล้ว ก็นำทัพกวาดล้างแคว้นเหลียวเป็นผลสำเร็จ ทัพจินอ้างเหตุรุกไล่ติดตามตัวนายทัพเหลียว นำทัพล่วงเข้ามาในแดนซ่ง แยกย้ายบุกแดนไท่หยวนและเยียนจิง(ปักกิ่ง) แม่ทัพรักษาเมืองเยียนจิงยอมสวามิภักดิ์ทัพจิน นำทางเคลื่อนทัพรุกประชิดเมืองหลวงไคเฟิงซ่งฮุยจงเมื่อได้ทราบข่าวทัพจินเคลื่อนลงใต้ รีบสละบัลลังก์ให้กับรัชทายาทส่วนตัวเองหลบหนีลงใต้ ซ่งชินจง เมื่อขึ้นครองราชย์ ก็เรียกประชุมเสนาบดีคิดหาหนทางแก้ไขวิกฤตครั้งนี้ กลุ่มขุนนางใหญ่สนับสนุนให้ย้ายเมืองหลวงเพื่อลี้ภัย ทว่าหลี่กัง อาสาทำหน้าที่รักษาเมืองอย่างแข็งขัน หัวเมืองรอบนอกเมื่อทราบข่าวทัพจินก็รวมตัวกันจัดตั้งกองกำลังต่อต้านการรุกรานจากภายนอก ทัพจินเมื่อไม่สามารถเอาชัยได้ในระยะเวลาอันสั้น ก็เริ่มขาดแคลนเสบียง ในเวลาเดียวกัน ซ่งชินจงแอบทำสัญญาสงบศึกกับทัพจิน โดยยินยอมจ่ายทรัพย์สินเงินทองจำนวนมหาศาล อีกทั้งส่งมอบดินแดนสามเมืองให้เป็นการชดเชย ฝ่ายจินจึงยอมถอนทัพกลับภาคเหนือ ภายหลังวิกฤตหลี่กังถูกปลดจากตำแหน่ง ราชสำนักซ่งแม้ว่ารับปากส่งมอบเมืองไท่หยวน จงซานและเหอเจียนให้กับแคว้นจิน แต่ราษฎรในท้องถิ่นต่างพากันต่อต้านทัพจินอย่างไม่คิดชีวิต ทัพจินไม่อาจเข้าครอบครองทั้งสามเมืองได้ จึงส่งกองกำลังบุกลงใต้มาอีกครั้ง แต่คราวนี้ ชาวเมืองไท่หยวนที่ยืนหยัดต่อสู้เป็นเวลานาน เกิดขาดแคลนเสบียง จึงต้องเสียเมืองในที่สุด ทัพจินรุกประชิดเมืองไคเฟิงอีกครั้ง ราชสำนักซ่งจัดส่งราชทูตไปเจรจาสงบศึกแต่ไม่เป็นผล ทัพจินบุกเข้าเมืองไคเฟิงกวาดต้อน ซ่งเวยจง ซ่งชินจง และเชื้อพระวงศ์ ไปเป็นเชลย อีกทั้งปล้นสะดมทรัพย์สินในท้องพระคลังไปจนหมดสิ้น ราชวงศ์ซ่งเหนือล่มสลาย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเหตุการณ์จิ้งคัง · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดพิชัยสงครามคลาสสิกของจีน

็ดพิชัยสงครามคลาสสิก (武經七書) ของจีน คือตำราพิชัยสงครามสำคัญเจ็ดฉบับของชาวจีนโบราณ ตำราเจ็ดพิชัยสงครามนี้ถูกประกาศใช้ครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 11 และได้รวมเข้าไว้ในสารานุกรมการทหารในสมัยราชวงศ์ซ่ง สำหรับขุนนางฝ่ายกลาโหมของจีนโบราณ การเรียนรู้ถึงพิชัยสงครามทั้งเจ็ดบางส่วนหนือทั้งหมดนั้น จำเป็นต่อการสอบเลื่อนขั้น เช่นเดียวกับการที่ขุนนางฝ่ายพลเรือนทั้งหมดจะต้องเรียนรู้ในวิถีแห่งเต๋า พิชัยสงครามทั้งเจ็ดนี้ได้ถูกนำมาเรียบเรียง วิเคราะห์และวิจารณ์ใหม่หลายครั้ง โดยนักวิชาการหลายท่านตลอดช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมา ทั้งในโลกตะวันตกและตะวันออก อย่างไรก็ตามจักรพรรดิคังซีกลับทรงมองว่าพิชัยสงครามทั้งเจ็ดนี้เป็นเรื่อง "ไร้สาระ" บรรดาสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์จีนในช่วงสงครามกลางเมืองของจีนต่างก็ศึกษาในพิชัยสงครามทั้งเจ็ด เช่นเดียวกับที่นักพิชัยสงครามยุโรปและอเมริกาที่ต่างก็ศึกษาในพิชัยสงครามนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเจ็ดพิชัยสงครามคลาสสิกของจีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม

มผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (The Three Heroes and Five Gallants) เป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์จีนแนวสืบสวนสอบสวนและกำลังภายใน ฉือ ยฺวี่คุน (Shí Yùkūn) แต่งขึ้น และได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเผยแพร่เมื่อปลายศตวรรษที่ 19 นิยายเรื่องนี้ได้รับความนิยมมาก ต่อมา หยู เยฺว่ (Yú Yuè) ปรับปรุงจนเป็นวรรณกรรมชั้นสูง เรียกชื่อเสียใหม่ว่า เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (Qī Xiá Wǔ Yì; The Seven Heroes and Five Gallants) เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี 1889.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้า ยฺเหวียนหยั่น

้า ยฺเหวียนหยั่น (985–1044) หรือพระนามอย่างเป็นทางการว่า องค์ชายโจวกงซู่ (周恭肅王; Prince Gongsu of Zhou) เป็นเจ้าในราชวงศ์ซ่ง เป็นพระโอรสพระองค์ที่แปดของพระเจ้าไท่จง จึงมักเรียกกันว่า อ๋องแปด (八王; Eighth Prince) นอกจากนี้ ยังเป็นพระอนุชาของพระเจ้าเจินจง และเป็นพระปิตุลาของพระเจ้าเหรินจง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเจ้า ยฺเหวียนหยั่น · ดูเพิ่มเติม »

เทพบุตรนักสู้ พลิกลิขิตสวรรค์

ทพบุตรนักสู้ พลิกลิขิตสวรรค์ (Fighter Of The Destiny; 择天记) เป็นเว็บซีรีย์ของจีนในปี 2560 นำแสดงโดย มา ชือฉุน และเชิ่ง อีหลุน ดัดแปลงจากนวนิยาย อภินิหารรักเหนือบัลลังก์ โดย จวี๋ฮวาซั่นหลี่ มีฉากหลังในยุคราชวงศ์ซ่ง เล่าเรื่องของการสมรสระหว่างแม่ทัพหญิงฝีมือฉกาจกับอ๋องผู้มีความงามเลิศ ปัจจุบันซีรีย์กำลังออกอากาศทางโยวคู่ (Youku) เริ่มตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2560.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเทพบุตรนักสู้ พลิกลิขิตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลกินเจ

ทศกาลกินเจ หรือ กินแจ (九皇勝會 Jiǔ huán Shèng huì; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องเซ่งโห่ย; Nine Emperor Gods Festival หรือ 九皇大帝誕; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องไต่เต้ตั้น) หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก เป็นประเพณีแบบลัทธิเต๋ารวม 9 วัน กำหนดเอาวันตามจันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีนของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจากประเทศจีนมานานแล้ว โดยมีตำนานเล่าขานกันหลายตำนาน ปัจจุบัน เทศกาลกินเจจัดขึ้นในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ตลอดจนหมู่เกาะเรียวในอินโดนีเซียและอาจมีในบางประเทศเอเชีย เช่น ภูฏาน ญี่ปุ่น เกาหลี และประเทศจีน(ประกอบด้วยฮ่องกงและมฑทณไต้หวัน) ซึ่งการกินเจในเดือน 9 นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเทศกาลกินเจ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโคมไฟ

ทศกาลโคมไฟ คือ เทศกาลฉลองในวันที่ 15 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติ เป็นสัญลักษณ์ของวันสุดท้ายในการฉลองเทศกาลปีใหม่ของจีนตามปฏิทินทางจันทรคติ ในเทศกาลโคมไฟ เด็กๆ จะถือโคมไฟกระดาษ ออกไปวัดกันในตอนกลางคืน และพากันทายปริศนาที่อยู่บนโคมไฟ เรียกว่า ไชเติงหมี ในสมัยโบราณ, โคมไฟจะทำเป็นรูปแบบง่ายๆ จะมีเพียงแต่ของกษัตริย์ และขุนนางเท่านั้นที่จะมีโคมไฟที่หรูหราใหญ่โต แต่ในสมัยปัจจุบัน, โคมไฟได้ถูกประดับประดาด้วยรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเทศกาลโคมไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ลี่จวิน

ติ้ง ลี่จวิน หรือ เทเรซา เติ้ง (テレサ・テン, 29 มกราคม พ.ศ. 2496 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) นักร้องเพลงจีนสากลชาวไต้หวันชื่อดังและมีอิทธิพลอย่างสูง เธอเกิดที่ เมืองเป่าจง มณฑลหยุนหลิน สาธารณรัฐจีน โดยบรรพบุรุษของเธอมาจากมณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เสียงและเพลงของเธอเป็นที่จดจำทั่วทั้งเอเชียตะวันออกและในหมู่ชาวจีนทั้งในประเทศจีน ไต้หวัน และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก จนมีคำกล่าวว่า "มีชาวจีนอยู่ที่ไหน ก็จะได้ยินเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่นั่น" นอกจากนี้ เพลงของเธอยังเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวเวียดนาม ชาวมาเลเซีย และชาวอินโดนีเซียจำนวนมากเช่นกัน เติ้ง ลี่จวิน มีชื่อเสียงจากบทเพลงรัก และเพลงพื้นเมืองภาษาหมิ่นหนาน (ภาษาฮกเกี้ยน) เพลงที่โด่งดังจนรู้จักกันทั่วไปทั่วเอเชีย ได้แก่เพลง เถียนมี่มี่ (甜蜜蜜, tián mì mì แปลว่า หวานปานน้ำผึ้ง) และเพลง เยว่เหลียงไต้เปี่ยวหวอเตอซิน (月亮代表我的心, yuè liàng dài biǎo wǒ de xīn แปลว่า พระจันทร์แทนใจฉัน) เป็นต้น ไม่เพียงเพลงภาษาจีนกลางเท่านั้น เธอยังเคยมีผลงานเพลงภาษาไต้หวัน ภาษากวางตุ้ง ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษด้วย เติ้ง ลี่จวิน เสียชีวิตอย่างกะทันหันเนื่องจากโรคหอบหืด ขณะเดินทางมาพักผ่อนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ขณะอายุได้เพียง 42 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเติ้ง ลี่จวิน · ดูเพิ่มเติม »

เฉอ ไซ่ฮัว

ฉอ ไซ่ฮัว เป็นวีรสตรีจีนซึ่งเชื่อกันว่ามีชีวิตอยู่ในสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นภริยาหยาง เย่ (Yáng Yè) และมีบทบาทหลักในความเชื่อเรื่องขุนศึกตระกูลหยาง แม้ว่าหยาง เย่ มีตัวตนจริงตามประวัติศาสตร์ แต่ไม่มีบันทึกถึงเฉอ ไซ่ฮัว เลยจนกระทั่งสมัยราชวงศ์ชิง จึงปรากฏบันทึกว่า หยาง เย่ สมรสกับ "คุณหญิงเจ๋อ" (Zhé Shì; Lady Zhe) ธิดาของเจ๋อ เต๋ออี่ (Zhé Déyǐ) แม่ทัพราชวงศ์โจวปลายซึ่งสามิภักดิ์แก่ราชวงศ์ซ่งเหนือ อย่างไรก็ดี เมื่อพิเคราะห์อายุของเฉอ เต๋ออี๋ กับหยาง เย่ แล้ว นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่เชื่อถือบันทึกนี้ ตามความเชื่อ เฉอ ไซ่ฮัว เป็นธิดาของเฉอ หง (Shé Hóng) เฉอ หง คลุมถุงชนธิดาตนเองกับหยาง เย่ แต่เปลี่ยนใจกลางคัน ให้เฉอ ไซ่ฮัว หมั้นกับชุย หลง (Cuī Lóng) จากตระกูลชุยที่มีอิทธิพลมากกว่าตระกูลหยางแทน ตระกูลหยางเรียกให้เฉอ หง ปฏิบัติตามสัญญา เฉอ หง จึงสั่งให้ส่งตัวชุย หลง มาสมรสกับเฉอ ไซ่ฮัว โดยไม่ชักช้า แต่ชุย หลง ด้อยทั้งรูปโฉมและสติปัญญา เฉอ ไซ่ฮัว ไม่ชอบใจ จึงให้นักการไปนัดหมายหยาง เย่ มายังตระกูลเฉอ เมื่อหยาง เย่ มาแล้ว เฉอ ไซ่ฮัว ขอให้บิดาเลือกระหว่างหยาง เย่ กับชุย หลง เฉอ หง จึงสั่งให้ทั้งสองประมือกัน ผู้ใดชนะได้ธิดาตนไป หยาง เย่ สังหารชุย หลง ในการต่อสู้ ขณะนั้น เฉอ หง ถลันเข้าไปจะช่วยเหลือชุย หลง จึงถูกลูกหลงบาดเจ็บ เฉอ ไซ่ฮัว เห็นก็โกรธ เข้าต่อสู้กับหยาง เย่ หยาง เย่ จึงหนีไปซ่อนตัวที่วัดเจ็ดดาว (Qīxīng Miào; Seven-Star Temple) เฉอ ไซ่ฮัว ติดตามไป และได้ทำความเข้าใจกัน ทั้งสองจึงสมรสกัน ณ วัดนั้น ปัจจุบัน วัดเจ็ดดาวอยู่ในเทศมณฑลฝูกู่ มณฑลซานซี นอกจากนี้ ยังเชื่อว่า เฉอ ไซ่ฮัว กับหยาง เย่ มีบุตรด้วยกันเก้าคน เป็นชายเจ็ด หญิงสอง เมื่อออกรบ หยาง เย่ และบุตรทั้งเจ็ดถูกข้าศึกประหารตาย ณ หาดสีทอง (Jīn Shātān; Golden Beach) และเขาสิงคาลคู่ (Liǎng Láng Shān; Twin Wolves Mount) เพราะพัน เหม่ย์ (Pān Měi) ไม่ส่งกำลังไปช่วย เฉอ ไซ่ฮัว จึงฟ้องพัน เหม่ย์ เป็นคดีต่อราชสำนัก และนางชนะคดี พระเจ้าไท่จง (Tàizōng) ทรงเชื่อถือในความจงรักภักดีและความสามารถในการวินิจฉัยสั่งการของนาง จึงประทานบรรดาศักดิ์ท่านหญิง (Tàijūn ไท่จฺวิน; Grand Dame) ให้ พร้อมตั้งนางเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ให้ถือไม้เท้าหัวมังกร (lóngtóu guǎizhàng; dragon-head cane) เป็นสัญลักษณ์อำนาจสิทธิ์ขาดเหนือแม่ทัพนายกองทั้งปวง เชื่อกันด้วยว่า นางมีอายุเกินหนึ่งร้อยปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเฉอ ไซ่ฮัว · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยตะวันตก

ซี่ยตะวันตก (Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจ?ีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความส??سเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านน?าฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling) อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้??اทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจัก?รรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียว ?ได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเซี่ยตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น

ปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (11 เมษายน ค.ศ. 999 — 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1062) วรรณกรรมเรียก เปา เหวินเจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาบุ้นจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (包文拯) เป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีที่รับราชการนั้น เปา เจิ่ง แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นกลางอย่างเสมอหน้า ในระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเปาบุ้นจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)

ปาบุ้นจิ้น (包青天; Justice Pao) เป็นละครชุดทางโทรทัศน์ จำนวน 236 ตอน ของประเทศไต้หวัน ฉายช่องทีวีหัวซื่อของไต้หวัน สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำมาฉายในประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536) · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น (แก้ความกำกวม)

ปาบุ้นจิ้น (11 เมษายน พ.ศ. 1542 – 20 พฤษภาคม พ.ศ. 1605) เป็นข้าราชการชาวจีนซึ่งมีชีวิตอยู่ในสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือในรัชกาลจักรพรรดิซ่งเหรินจง และอาจหมายถึง; วรรณกรรม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเปาบุ้นจิ้น (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น ขุนศึกตระกูลหยาง

นตร์จีนชุด เปาบุ้นจิ้น ขุนศึกตระกูลหยางภาค 1 ภาพยนตร์จีนชุด เปาบุ้นจิ้น ขุนศึกตระกูลหยางภาค 2.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเปาบุ้นจิ้น ขุนศึกตระกูลหยาง · ดูเพิ่มเติม »

108 ผู้ยิ่งใหญ่เขาเหลียงซาน

108 ผู้ยิ่งใหญ่เขาเหลียงซาน (All Men Are Brothers) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมที่เป็น 1 ใน 4 สุดยอดวรรณกรรมจีน เรื่อง ซ้องกั๋ง ในประเทศมาเลเซีย จะออกอากาศช่อง 8TV นำแสดงโดย จาง ฮั่นอวี่, หลี่ จงฮั่น, หู ตง, หวง ไห่ผิง, เฉิน หลง, เจียง กังฉาน, เจ้า หู, เหยิน กวน, อัน อี่เซวียน ออกอากาศทางช่อง ช่อง 3 แฟมิลี ในประเทศไท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและ108 ผู้ยิ่งใหญ่เขาเหลียงซาน · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2525)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (อังกฤษ: Demi-Gods And Semi-Devils) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2525 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ กิมย้ง เรื่อง 8 เทพอสูรมังกรฟ้า นำแสดงโดย ไบรอัน เหลียง, ทัง เจิ้นเย่, หวง เย่อหัว, เฉิน อี้ว์เหลียน ออกอากาศทางช่อง TVB ในจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2525) · ดูเพิ่มเติม »

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2540)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (อังกฤษ: Demi-Gods And Semi-Devils) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2540 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ กิมย้ง เรื่อง 8 เทพอสูรมังกรฟ้า นำแสดงโดย เฉิน ฮ่าวหมิน, ฝาน เส้าหวง, หวง เย่อหัว ออกอากาศทางช่อง TVB ในจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2540) · ดูเพิ่มเติม »

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (อังกฤษ: Demi-Gods And Semi-Devils) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2546 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ กิมย้ง เรื่อง 8 เทพอสูรมังกรฟ้า นำแสดงโดย ฮู จุน, หลิว อี้เฟย์, หลิน จื้ออิ่ง ออกอากาศทางช่อง CCTV ในจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546) · ดูเพิ่มเติม »

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (อังกฤษ: The Demi-Gods And Semi-Devils) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2556 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ กิมย้ง เรื่อง 8 เทพอสูรมังกรฟ้า นำแสดงโดย จง ฮั่นเหลียง, คีบ็อม, จาง เหมิง ออกอากาศทางช่อง เหอหนานทีวี ในจีน แต่ในไทย ละครเรื่องนี้จะออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Northern SongSong DynastySouthern Songราชวงศ์ซ่งใต้ราชวงศ์ซ่งเหนือราชวงศ์ซ้องซ่งซ่งใต้ซ่งเหนือ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »