สารบัญ
182 ความสัมพันธ์: บารัก โอบามาชาลส์ ดอว์สฟริดท์จอฟ นันเซนพ.ศ. 2444พ.ศ. 2445พ.ศ. 2446พ.ศ. 2447พ.ศ. 2448พ.ศ. 2449พ.ศ. 2450พ.ศ. 2451พ.ศ. 2452พ.ศ. 2453พ.ศ. 2454พ.ศ. 2455พ.ศ. 2456พ.ศ. 2457พ.ศ. 2458พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2462พ.ศ. 2463พ.ศ. 2464พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2467พ.ศ. 2468พ.ศ. 2469พ.ศ. 2470พ.ศ. 2471พ.ศ. 2472พ.ศ. 2473พ.ศ. 2474พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2478พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490... ขยายดัชนี (132 มากกว่า) »
บารัก โอบามา
รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและบารัก โอบามา
ชาลส์ ดอว์ส
ลส์ เกตส์ ดอว์ส (27 สิงหาคม พ.ศ. 2408 - 23 เมษายน พ.ศ. 2494) เป็นนายธนาคาร, นายพล, นักการทูต, และนักการเมืองชาวอเมริกัน ดํารงตําแหน่งรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา คนที่ 30 ระหว่าง..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและชาลส์ ดอว์ส
ฟริดท์จอฟ นันเซน
ฟริดท์จอฟ เวเดล จาร์ลสเบิร์ก นันเซน (Fridtjof Wedel-Jarlsberg Nansen) เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2404 ที่หมู่บ้านโฟรน ใกล้เมืองคริสเตียนเนีย ประเทศนอร์เวย์ และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ปี พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและฟริดท์จอฟ นันเซน
พ.ศ. 2444
ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2444
พ.ศ. 2445
ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2445
พ.ศ. 2446
ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2446
พ.ศ. 2447
ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2447
พ.ศ. 2448
ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2448
พ.ศ. 2449
ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2449
พ.ศ. 2450
ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2450
พ.ศ. 2451
ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2451
พ.ศ. 2452
ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2452
พ.ศ. 2453
ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2453
พ.ศ. 2454
ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2454
พ.ศ. 2455
ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2455
พ.ศ. 2456
ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2456
พ.ศ. 2457
ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2457
พ.ศ. 2458
ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2458
พ.ศ. 2459
ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2459
พ.ศ. 2460
ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2460
พ.ศ. 2461
ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2461
พ.ศ. 2462
ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2462
พ.ศ. 2463
ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2463
พ.ศ. 2464
ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2464
พ.ศ. 2465
ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2465
พ.ศ. 2466
ทธศักราช 2466 ตรงกั.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2466
พ.ศ. 2467
ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2467
พ.ศ. 2468
ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2468
พ.ศ. 2469
ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2469
พ.ศ. 2470
ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2470
พ.ศ. 2471
ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2471
พ.ศ. 2472
ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2472
พ.ศ. 2473
ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2473
พ.ศ. 2474
ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2474
พ.ศ. 2475
ทธศักราช 2475 ตรงกั.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2475
พ.ศ. 2476
ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2476
พ.ศ. 2477
ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2477
พ.ศ. 2478
ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2478
พ.ศ. 2479
ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2479
พ.ศ. 2480
ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2481
พ.ศ. 2482
ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2482
พ.ศ. 2483
ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2483
พ.ศ. 2484
ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2484
พ.ศ. 2485
ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2485
พ.ศ. 2486
ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2486
พ.ศ. 2487
ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2487
พ.ศ. 2488
ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2488
พ.ศ. 2489
ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2489
พ.ศ. 2490
ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2490
พ.ศ. 2491
ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2492
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2493
พ.ศ. 2494
ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2494
พ.ศ. 2495
ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2495
พ.ศ. 2496
ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2496
พ.ศ. 2497
ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2497
พ.ศ. 2498
ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2498
พ.ศ. 2499
ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2499
พ.ศ. 2500
ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2500
พ.ศ. 2501
ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2501
พ.ศ. 2502
ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2502
พ.ศ. 2503
ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2503
พ.ศ. 2504
ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2504
พ.ศ. 2505
ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2505
พ.ศ. 2506
ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2506
พ.ศ. 2507
ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2507
พ.ศ. 2508
ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2508
พ.ศ. 2509
ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2509
พ.ศ. 2510
ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2510
พ.ศ. 2511
ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2511
พ.ศ. 2512
ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2512
พ.ศ. 2513
ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2513
พ.ศ. 2514
ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2514
พ.ศ. 2515
ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2515
พ.ศ. 2516
ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2516
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2519
พ.ศ. 2520
ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2520
พ.ศ. 2521
ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2521
พ.ศ. 2522
ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2522
พ.ศ. 2523
ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2523
พ.ศ. 2524
ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2524
พ.ศ. 2525
ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2525
พ.ศ. 2526
ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2526
พ.ศ. 2527
ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2527
พ.ศ. 2528
ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2528
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2529
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2531
ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2531
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2532
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2533
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2534
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2535
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2536
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2537
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2539
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2540
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2541
พ.ศ. 2542
ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2542
พ.ศ. 2543
ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2543
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2544
พ.ศ. 2545
ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2545
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2546
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2547
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2551
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2559
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและพ.ศ. 2560
กลุ่มสานเสวนาสี่ฝ่ายแห่งชาติตูนิเซีย
กลุ่มสานเสวนาสี่ฝ่ายแห่งชาติตูนิเซีย (Tunisian National Dialogue Quartet; الرباعي التونسي للحوار الوطني) เป็นกลุ่มสี่องค์การซึ่งเป็นแกนกลางในความพยายามสร้างประชาธิปไตยพหุนิยมในประเทศตูนิเซียหลังการปฏิวัติดอกมะลิในปี 2554 กลุ่มฯ ก่อตั้งข้นในฤดูร้อนปี 2556 วันที่ 9 ตุลาคม 2558 กลุ่มฯ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2558 กลุ่มสานเสวนาสี่ฝ่ายแห่งชาติตูนิเซียประกอบด้วยประชาสังคมตูนิเซียสี่องค์การ ดังนี้.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและกลุ่มสานเสวนาสี่ฝ่ายแห่งชาติตูนิเซีย
กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ (United Nations Children's Fund - UNICEF) เป็นหน่วยงานของสหประชาชาติเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม, พัฒนาการ, สุขภาพรวมถึงความเป็นอยู่ของเด็กและแม่ในประเทศกำลังพัฒนา ก่อตั้งโดยสมัชชาสามัญแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
การสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมนี
การเสริมสร้างอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมัน(Aufrüstung)เป็นยุคของการฟื้นฟูในเยอรมนีในช่วงสมัยระหว่างสงคราม(ค.ศ. 1918-1939) ในการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ได้เริ่มขึ้นทันทีหลังจากสนธิสัญญาได้มีการลงนาม ด้วยขนาดเล็ก เป็นความลับและพื้นฐานอย่างไม่เป็นทางการ แต่ก็ได้ขยายตัวขึ้นภายหลังจากพรรคนาซีได้เข้าสู่อำนาจในปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและการสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ของเยอรมนี
การไม่ฆ่า
การไม่ฆ่า (อังกฤษ: Nonkilling) หมายถึง การปราศจากการเอาชีวิต การขู่ฆ่า และสถานการณ์เอื้ออำนวยให้เกิดการฆ่าในสังคมมนุษยชาติ ถึงแม้ว่าการใช้คำนี้ในทางวิชาการส่วนมากจะเน้นในความหมายของการไม่ฆ่ามนุษย์ ในบางกรณีความหมายย่อมครอบคลุมถึงการไม่ฆ่าสัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆในทุกรูปแบบ ในที่นี้ความหมายชี้บ่งไปถึงการไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตซึ่งใช้มาแต่ดั้งเดิมในพุทธธรรม จะเห็นได้จากศีลข้อแรกในเบญจศีล และคำสอนทำนองเดียวกันในศาสนาสากลอื่นๆ “การไม่ฆ่า” มีความหมายสำคัญเด่นชัดขึ้นเมื่อปรากฏใช้เร็วๆนี้ใน “กฎบัตรเพื่อโลกที่ปราศจากการใช้พลการความรุนแรง” ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมโลกครั้งที่ ๘ ของกลุ่มผู้มีเกียรติได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันต.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและการไม่ฆ่า
มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล
มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล (University of Liverpool) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ในสหราชอาณาจักรที่มีเปิดสอนในระบบที่อิงฐานการเรียนการสอนในห้องเรียนและบนพื้นฐานของการทำวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล
มะลาละห์ ยูซัฟซัย
ูซัฟซัย ในปี 2557 มะลาละห์ ยูซัฟซัย (ملاله یوسفزۍ Malālah Yūsafzay, เกิด 12 กรกฎาคม 2540) เป็นเด็กนักเรียนจากเมืองมินโกราในเขตสวัด (Swat District) แคว้นไคเบอร์ปัคตูนควา ประเทศปากีสถาน เธอเป็นที่รู้จักในการศึกษาและการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิสตรีของเธอในหุบเขาสวัด ซึ่งฏอลิบานบางครั้งห้ามเด็กหญิงมิให้เข้าศึกษาในโรงเรียน ต้นปี 2552 ขณะอายุได้ 11 ปี ยูซัฟซัยกลายมาเป็นที่รู้จักผ่านบล็อกที่เธอเขียนให้แก่บีบีซีโดยรายละเอียดกล่าวถึงชีวิตของเธอภายใต้ระบอบฏอลิบาน ความพยายามของฏอลิบานในการเข้าควบคุมหุบเขา และมุมมองของเธอต่อการสนับสนุนการศึกษาแก่เด็กหญิง ฤดูร้อนปีต่อมา มีการถ่ายทำสารคดีของนิวยอร์กไทมส์ เกี่ยวกับชีวิตของเธอขณะที่กองทัพปากีสถานเข้าแทรกแซงในภูมิภาค ยูซัฟซัยเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น ให้สัมภาษณ์ในสื่อสิ่งพิมพ์และทางโทรทัศน์ และรับตำแหน่งประธานสภาเด็กเขตสวัด (District Child Assembly Swat) นับแต่นั้น เธอได้รับการเสนอชื่อชิงรางวัลสันติภาพเด็กระหว่างประเทศโดยเดสมอนด์ ตูตู และได้รับรางวัลสันติภาพเยาวชนแห่งชาติเป็นคนแรกของปากีสถาน วันที่ 9 ตุลาคม 2555 มะลาละห์ ยูซัฟซัยถูกยิงที่ศีรษะและคอในความพยายามลอบสังหารโดยมือปืนฏอลิบานขณะกำลังกลับบ้านบนรถโดยสารประจำทางโรงเรียน หลายวันหลังจากนั้น เธอยังหมดสติและอยู่ในภาวะวิกฤต และจนถึงวันที่ 15 ตุลาคม เธอถูกส่งตัวไปยังสหราชอาณาจักรเพื่อรับการรักษาเพิ่มเติม ในวันที่ 10 ตุลาคม 2557 มูลนิธิโนเบลได้ประกาศให้เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ร่วมกับไกลาศ สัตยาธี จากการต่อสู้ของเด็กเพื่อความถูกต้องของการศึกษาในเด็กทั้งหมด ถือเป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลที่อายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 17 ปี.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมะลาละห์ ยูซัฟซัย
มาร์ตติ อะห์ติซาริ
มาร์ตติ โอยวา กาเลวิ อะห์ติซาริ เป็นนักการทูตและนักการเมืองชาวฟินแลนด์ อดีตประธานาธิบดีของฟินแลนด์ ทูตและผู้ไกล่เกลี่ยแห่งสหประชาชาติ และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2551.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมาร์ตติ อะห์ติซาริ
มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี
นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี
มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี
มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี ดร.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมุฮัมมัด อัลบะรอดะอี
มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์
มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation ตัวย่อ BMGF) เป็นมูลนิธิเอกชนหรือส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดตั้งโดยบิล เกตส์ และเมลินดา เกตส์ ในปี 2543 และกล่าวกันว่าเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ดำเนินการอย่างโปร่งใสที่ใหญ่ที่สุดในโลก จุดมุ่งหมายหลักของมูลนิธิก็คือ เพื่อปรับปรุงการบริหารสุขภาพและลดความยากจนทั่วโลก และในสหรัฐอเมริกา เพื่อขยายโอกาสการศึกษาและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลนิธิมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน และควบคุมโดยผู้จัดการดูแลทรัพย์สิน 3 ท่านคือ บิลกับเมลินดาเกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ เจ้าหน้าที่หลักอื่น ๆ รวมทั้ง ประธานกรรมการร่วม วิลเลียม เอ็ช เกตส์ ซีเนียร์ (บิดาของนายเกตส์) และประธานบริหาร พญ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์
มูฮัมหมัด ยูนูส
มูฮัมหมัด ยูนูส (ภาษาเบงกาลี: মুহাম্মদ ইউনুস Muhammôd Iunus) เป็นนายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศผู้ริเริ่มและพัฒนาแนวคิด “ไมโครเครดิต” หรือ การให้กู้เงินโดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน โดยจะให้กู้แก่ผู้ประกอบการหรือชาวบ้านซึ่งยากจนเกินกว่าจะมีคุณสมบัติพอเพียงที่จะกู้เงินจากธนาคารทั่วไป นอกจากนั้น ยูนูสยังเป็นผู้ก่อตั้ง “กรามีนแบงค์” หรือ ธนาคารกรามีน อีกด้วย ทั้งยูนูสและธนาคารที่เขาก่อตั้งขึ้นได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันในปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมูฮัมหมัด ยูนูส
มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ
ยัสเซอร์ อาราฟัต
ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและยัสเซอร์ อาราฟัต
ยิตซัค ราบิน
ตซัค ราบิน (יִצְחָק רַבִּין) (1 มีนาคม ค.ศ. 1922 – 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995) เป็นนักการเมือง รัฐบุรุษ และนายพลเอกชาวอิสราเอล ราบินเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของประเทศอิสราเอล โดยดำรงตำแหน่ง 2 วาระ คือเมื่อ..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและยิตซัค ราบิน
รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา
นลสัน แมนเดลา รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา
รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ
รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ
รายนามประธานาธิบดีเกาหลีใต้
รายนามประธานาธิบดีเกาหลีใต้.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและรายนามประธานาธิบดีเกาหลีใต้
รางวัลอาเบล
รางวัลอาเบล รางวัลอาเบล (อังกฤษ: Abel Prize, นอร์เวย์: Abelprisen) เป็นรางวัลที่มอบโดยสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ แก่นักคณิตศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นในแต่ละปี ชื่อรางวัลมาจากนักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์ นีลส์ เฮนริก อาเบล (1802–1829) โดยจัดขึ้นในปี 2001 รางวัลอาเบลเป็นหนึ่งในรางวัลที่มักถูกขนานนามให้เป็น "รางวัลโนเบลสาขาคณิตศาสตร์" (อีกรางวัลคือ เหรียญฟิลด์ส) พิธีมอบรางวัลจะจัดขึ้นที่หอประชุมที่มหาวิทยาลัยกฎหมายออสโล ซึ่งเดิมเคยเป็นสถานที่จัดพิธีมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ระหว่างปี 1947-1989 มูลค่าเงินรางวัลในปัจจุบันคือ 6 ล้านโครเนอร์นอร์เวย์ (ประมาณ 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ).
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและรางวัลอาเบล
รางวัลโนเบล
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและรางวัลโนเบล
รางวัลโนเบลสาขาเคมี
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและรางวัลโนเบลสาขาเคมี
ลินคอล์น คอนติเนนทัล
ลินคอล์น คอนติเนนทัล (Lincoln Continental) เป็นอดีตรถธงของลินคอล์น (บริษัทรถยนต์สัญชาติอเมริกันในสังกัดฟอร์ดมอเตอร์) เริ่มผลิตครั้งหนึ่งใน ค.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและลินคอล์น คอนติเนนทัล
วันสิทธิมนุษยชน
วันสิทธิมนุษยชน ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม มีการเฉลิมฉลองทั่วโลก วันนี้ได้รับเลือกเพื่อยกย่องสหประชาชาติ ซึ่งสมัชชาใหญ่มีมติเห็นชอบและประกาศปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR) ซึ่งเป็นการแถลงสิทธิมนุษยชนทั่วโลกครั้งแรกและเป็นความสำเร็จใหญ่แรก ๆ ของสหประชาชาติที่เพิ่งก่อตั้ง การก่อตั้งวันสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นทางการเกิดขึ้นที่การประชุมใหญ่ที่ 317 ของสมัชชาใหญ่เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2493 เมื่อสมัชชาใหญ่ประกาศข้อมติที่ 423(5) เชิญชวนให้รัฐสมาชิกทั้งหมดและองค์การอื่นที่สนใจเฉลิมฉลองวันดังกล่าวตามที่เห็นสมควร ปกติวันนี้มีการประชุมและการนัดพบทางการเมืองระดับสูง และเหตุการณ์และนิทรรศการวัฒนธรรมว่าด้วยประเด็นสิทธิมนุษยชน นอกเหนือจากนี้ เดิมวันที่ 10 ธันวาคม มีการมอบรางวัลสหประชาชาติในสาขาสิทธิมนุษยชนทุกห้าปีและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ องค์การภาครัฐและนอกภาครัฐจำนวนมากซึ่งมีกิจกรรมในสาขาสิทธิมนุษยชนยังจัดเหตุการณ์พิเศษเพื่อเฉลิมฉลองวันนี้ เช่นเดียวกับองค์การพลเมืองและสังคมจำนวนมาก หมวดหมู่:วันสำคัญ หมวดหมู่:วันสหประชาชาติ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและวันสิทธิมนุษยชน
วิลลี บรันท์
วิลลี บรันท์ (Willy Brandt) ชื่อเกิด แฮร์แบร์ท แอร์นสท์ คาร์ล ฟราห์ม (Herbert Ernst Karl Frahm; 18 ธันวาคม 1913 – 8 ตุลาคม 1992) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมันเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนีระหว่างปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและวิลลี บรันท์
วูดโรว์ วิลสัน
ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและวูดโรว์ วิลสัน
สหภาพยุโรป
หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและสหภาพยุโรป
สหประชาชาติ
หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและสหประชาชาติ
สันติภาพ
กรี เมลเชอร์ ความหมายของสันติภาพ (มอร์รัลออฟพิส) สันติภาพ สามารถเรียกได้ว่าเป็นสภาวะแห่งความสันติหรือไม่มีการโต้เถียงอย่างรุนแรงกันเกิดขึ้น.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและสันติภาพ
หลิว เสี่ยวโป
หลิว เสี่ยวโป (28 ธันวาคม พ.ศ. 2498 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) คือ ปัญญาชนชาวจีน นักต่อต้านคอมมิวนิสต์และนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชนในประเทศจีน แต่งงานกับภรรยาชื่อ หลิว เซีย เขาดำรงตำแหน่งประธานศูนย์สมาคมนักเขียนสากลจีนอิสระตั้งแต..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและหลิว เสี่ยวโป
อองซาน ซูจี
อองซาน ซูจี (90px, เกิด 19 มิถุนายน 2488) เป็นนักการเมืองชาวพม่าและประธานพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีประจำทำเนียบประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 59% และที่นั่ง 81% (392 จาก 485 ที่นั่ง) ในรัฐสภา ทว่า เธอถูกควบคุมตัวในบ้านก่อนการเลือกตั้ง เธอยังอยู่ภายใต้การควบคุมตัวในบ้านในประเทศพม่าเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปีตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปล่อยตัวครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทำให้เธอเป็นนักโทษการเมืองที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งของโลก ซูจีได้รับรางวัลราฟโต (Rafto Prize) และรางวัลซาฮารอฟสำหรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2534 ในปี 2535 เธอได้รับรางวัลชวาหระลาล เนห์รูเพื่อความเข้าใจระหว่างประเทศ (Jawaharlal Nehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลีวาร์ระหว่างประเทศ (International Simón Bolívar Prize) จากรัฐบาลเวเนซุเอลา ในปี 2555 รัฐบาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพื่อประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550 รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ของประเทศ เป็นคนที่สี่ที่ได้รับเกียรตินี้ ในปี 2554 เธอได้รับเหรียญวัลเลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วันที่ 19 กันยายน 2555 อองซาน ซูจีได้รับเหรียญทองรัฐสภา ซึ่งร่วมกับเหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกียรติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา วันที่ 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งในปีตูลุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซึ่งเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งกอว์มู (Kawhmu) พรรคของเธอยังได้ที่นั่งว่าง 43 จาก 45 ที่นั่งในสภาล่าง คณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการยืนยันผลการเลือกตั้งในวันรุ่งขึ้น วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ซูจีประกาศบนเว็บไซต์ของเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งปี 2558 ทว่า ซูจีถูกห้ามมิให้เป็นประธานาธิบดีภายใต้รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ซึ่งมิอาจแก้ไขได้โดยปราศจากการรับรองจากสมาชิกสภานิติบัญญัติทหารอย่างน้อยหนึ่งคน ในปี 2557 นิตยสารฟอบส์จัดให้เธอเป็นหญิงทรงอำนาจที่สุดในโลกอันดับที่ 61 ในการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและอองซาน ซูจี
อันเดรย์ ซาคารอฟ
ตึกนี้เป็นอพาตเมนท์ของซาคารอฟที่เคจีบีคุมตัวระหว่าง ปี1980 ถึง ปี1986 อันเดรย์ ดมีตรีเยวิช ซาคารอฟ (Андре́й Дми́триевич Са́харов; 21 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและอันเดรย์ ซาคารอฟ
อาหมัด ชาห์ มาซูด
วาดอาหมัด ชาห์ มาซูด อาหมัด ชาห์ มาซูด (احمد شاه مسعود; Ahmad Shah Massoud; 2 กันยายน ค.ศ. 1953 - 9 กันยายน ค.ศ. 2001) อดีตนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยคาบูล เป็นผู้บัญชาการรบของมูจาฮีดีน ผู้นำทหารเข้าต่อต้านการบุกรุกรานอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียต ต่อมาได้เป็นผู้นำแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน มีฉายาว่า "ราชสีห์แห่งปัญจศิระ" (Lion of Panjshir) อาหมัด ชาห์ มาซูด เกิดที่เมือง Jangalak รัฐ Panjsher ประเทศอัฟกานิสถาน ในโอกาสครบรอบ 60 ปี ของนิตยสารไทม์ เขาได้ถูกคัดเลือกให้เป็นเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีสร้างผลงานและคุณประโยชน์ต่อประเทศและมนุษยชาติในกลุ่มของ "ผู้สร้างชาติ" ที่เด่นที่สุดในเอเซีย อีกด้วย อาหมัด ชาห์ มาซูด เสียชีวิตจากการลอบสังหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและอาหมัด ชาห์ มาซูด
องค์การห้ามอาวุธเคมี
องค์การห้ามอาวุธเคมี (Organisation for the Prohibition of Chemical Weapons, OPCW) เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ สนับสนุนและทวนสอบการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมีซึ่งห้ามใช้อาวุธเคมีและกำหนดให้ต้องทำลายอาวุธเคมีที่ภาคีมีในครอบครอง ในปี 2556 องค์การได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันต.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและองค์การห้ามอาวุธเคมี
องค์การแพทย์ไร้พรมแดน
องค์การแพทย์ไร้พรมแดน (Médecins Sans Frontières,, เมดแซ็งซ็องฟรงเตียร์) หรือ แอมแอ็สเอ็ฟ (MSF) เป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ก่อตั้งเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม โดยมุ่งช่วยเหลือประเทศที่ตกอยู่ในภาวะสงคราม หรือประเทศกำลังพัฒนาที่ประสบปัญหาโรคระบาด องค์การแพทย์ไร้พรมแดน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและองค์การแพทย์ไร้พรมแดน
อ็องรี ลา ฟงแตน
อ็องรี ลา ฟงแตน (Henri La Fontaine; 22 เมษายน ค.ศ. 1854 – 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1943) เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวเพื่อสันติภาพชาวเบลเยียม เกิดที่กรุงบรัสเซลส์ ในปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและอ็องรี ลา ฟงแตน
อ็องรี ดูว์น็อง
อ็องรี ดูว์น็อง อ็องรี ดูว์น็อง (Henri Dunant) ชื่อเต็ม ฌ็อง อ็องรี ดูว์น็อง (Jean Henri Dunant; 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1828 — 30 ตุลาคม ค.ศ. 1910) เป็นนักธุรกิจ และนักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ชาวสวิส เขาเป็นผู้ให้กำเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและสภากาชาดประจำชาติ เพื่อช่วยเหลิอบรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัยสงครามและภัยพิบัติต่าง ๆ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ในปี ค.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและอ็องรี ดูว์น็อง
จอร์จ มาร์แชลล์
อร์จ มาร์แชลล์ ผู้วางแผนฟื้นฟูยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จอร์จ แคตเลตต์ มาร์แชลล์ (George Catlett Marshall – 31 ธันวาคม พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและจอร์จ มาร์แชลล์
จิมมี คาร์เตอร์
รือเอก เจมส์ เอิร์ล "จิมมี" คาร์เตอร์ จูเนียร์ (James Earl "Jimmy" Carter, Jr) เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 39 ของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและจิมมี คาร์เตอร์
ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ
ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency, ย่อ: IAEA) เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมุ่งส่งเสริมการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ และห้ามการใช้สำหรับความมุ่งหมายทางทหารทั้งปวง ซึ่งรวมถึงอาวุธนิวเคลียร์ IAEA ตั้งขึ้นเป็นองค์การที่เป็นอิสระเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2500 แม้ทบวงการฯ จะสถาปนาขึ้นเป็นเอกเทศจากสหประชาชาติผ่านสนธิสัญญาระหว่างประเทศขององค์การเอง คือ บทกฎหมาย IAEA แต่ IAEA รายงานต่อทั้งสมัชชาใหญ่และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ IAEA มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเวียนนา IAEA มี "สำนักงานพิทักษ์ภูมิภาค" สองแห่งซึ่งตั้งอยู่ในโตรอนโต ประเทศแคนาดาและในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น IAEA ยังมีสำนักงานติดต่อประสานงานสองแห่งตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก สหรัฐ และในเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นอกจากนี้ IAEA มีห้องปฏิบัติการสามแห่งตั้งอยู่ในกรุงเวียนนาและไชเบอร์ซดอร์ฟ ประเทศออสเตรียและในโมนาโก IAEA เป็นสมัชชาระหว่างรัฐบาลเพื่อความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคนิคในการใช้เทคโนโลยีนิวเคียร์และพลังงานนิวเคลียร์อย่างสันติทั่วโลก โครงการของ IAEA สนับสนุนการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติ การจัดหาการพิทักษ์ระหว่างประเทศต่อการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์และวัสดุนิวเคลียร์ในทางที่ผิดและส่งเสริมความปลอดภัยนิวเคลียร์ (รวมการป้องกันรังสี) และมาตรฐานแความปลอดภัยนิวเคลียร์และการนำไปปฏิบัติ IAEA และอดีตผู้อำนวยการใหญ่ มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี เคยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2548.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ
ทะไลลามะที่ 14
ทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะที่ 14 (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama, 6 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและทะไลลามะที่ 14
ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม
้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม
ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ
้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees, คำย่อ UNHCR) เป็นองค์การที่รับภารกิจหน้าที่จาก UNRRA: United Nations Relief and Rehabilitation Administration ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ
คาร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี
ร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี (3 ตุลาคม ค.ศ. 1889 – 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1938) เป็นชาวเยอรมันผู้รักสันติภาพและได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ เมื่อปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและคาร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี
คำประกาศเจตนารัสเซลล์–ไอน์สไตน์
แถลงการณ์รัสเซลล์–ไอน์สไตน์ เป็นแถลงการณ์ของเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ในกรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและคำประกาศเจตนารัสเซลล์–ไอน์สไตน์
คิม แด-จุง
ม แด-จุง (김대중, Kim Dae-jung) (6 มกราคม พ.ศ. 2467 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2552) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 8 ของประเทศเกาหลีใต้ ตั้งแต่ปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและคิม แด-จุง
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ
ณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross; ICRC / Comité international de la Croix-Rouge (CICR)) เป็นองค์กรมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในประเทศสวิสเซอร์แลนด์เมื่อปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ
คณะกรรมการรณรงค์เพื่อยกเลิกอาวุธนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ
ณะกรรมการรณรงค์เพื่อยกเลิกอาวุธนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ (International Campaign to Abolish Nuclear Weapons) ย่อว่า ไอแคน (ICAN) เป็นแนวร่วมสังคมพลเมืองทั่วโลกซึ่งมุ่งส่งเสริมการgเข้าร่วมเป็นภาคีของและการนำไปปฏิบัติอย่างสมบูรณ์ซึ่งสนธิสัญญาว่าด้ายการห้ามอาวุธนิวเคลียร์ การรณรงค์ดังกล่าวเป็นผู้ริเริ่มสนธิสัญญนี้ ไอแคนเริ่มทำการในปี 2550 โดยมีองค์การความร่วมมือ 468 แห่งใน 101 ประเทศในปี 2560 องค์การฯ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2560 "สำหรับผลงานขององค์การในการดึงความสนใจสู่ผลลัพธ์ทางมนุษยธรรมทำลายล้างของการใช้อาวุธนิวเคลียร์ใด ๆ และสำหรับความพยายามบุกเบิกขององค์การในการบรรลุการห้ามอาวุธดังกล่าวโดยใช้สนธิสัญญา".
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและคณะกรรมการรณรงค์เพื่อยกเลิกอาวุธนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ
ตะวักกุล กัรมาน
ตะวักกุล อับดุสซะลาม กัรมาน (توكل عبد السلام كرمان, เกิด ค.ศ. 1979) เป็นนักการเมืองเยเมนผู้เป็นสมาชิกอาวุโสของพรรคฝ่ายค้าน อัลอีศลาห์ (Al-Īṣlāḥ) และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนผู้นำกลุ่มสื่อมวลชนสตรีปราศจากโซ่ตรวนแห่งเยเมน (Women Journalists without Chains) ซึ่งเธอก่อตั้งขึ้นใน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและตะวักกุล กัรมาน
นอร์แมน บอร์ล็อก
นอร์แมน อี. บอร์ล็อก นอร์แมน เออร์เนสต์ บอร์ล็อก (Norman Ernest Borlaug) (25 มีนาคม ค.ศ. 1914 - 12 กันยายน ค.ศ. 2009) นักวิชาการการเกษตรชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งมูลนิธิเวิลด์ฟู้ดไพรส์ ผู้ได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งการปฏิวัติสีเขียว" ในฐานะที่เป็นผู้นำการคิดค้น และนำเสนอเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตอาหารจากการเกษตรในเม็กซิโก อินเดีย และปากีสถาน ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 การคิดค้นของบอร์ล็อก ทำให้ประเทศผู้ผลิตสามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตได้เป็นสองเท่า และประมาณการว่าสามารถช่วยเหลือประชากรโลกจากความอดอยากได้มากกว่าพันล้านคน The phrase "over a billion lives saved" is often cited by others in reference to Norman Borlaug's work (e.g.).
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและนอร์แมน บอร์ล็อก
แม่ชีเทเรซา
แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและแม่ชีเทเรซา
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล หรือ องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International หรือ Amnesty หรือ AI) เป็นองค์การพัฒนาเอกชนที่มีจุดประสงค์ "ในการค้นคว้าและดำเนินการป้องกันและยุติการทำร้ายสิทธิมนุษยชน และเพื่อแสวงหาความยุติธรรมสำหรับผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิ" แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ก่อตั้งขึ้นที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล
แผนการดอวส์
แผนการดอวส์ (Dawes Plan) เป็นความพยายามของฝ่ายพันธมิตรภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่จะเก็บหนี้ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจากเยอรมนี โดยได้ชื่อมาจากคณะกรรมการดอวส์ ซึ่งนำโดย ชาร์ลส์ จี.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและแผนการดอวส์
โรงเรียนอัสสัมชัญ
รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและโรงเรียนอัสสัมชัญ
โคฟี แอนนัน
ฟี แอนนัน (Kofi Annan) เกิดวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1938 เป็นนักการทูตชาวกานา และ เป็นอดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ แอนนันนับเป็นเลขาธิการองค์การสหประชาชาติคนที่ 7 โดยรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและโคฟี แอนนัน
ไอ้ เว่ยเว่ย
อ้ เว่ยเว่ย ไอ้ เว่ยเว่ย (เกิด 28 สิงหาคม ค.ศ. 1957) เป็นศิลปินและนักเคลื่อนไหวชาวจีน มีผลงานด้านสถาปัตยกรรม ศิลปะสื่อประสม การถ่ายภาพ ภาพยนตร์ และการวิจารณ์สังคมและวัฒนธรรมจีน ไอ้เคยเป็นที่ปรึกษาด้านศิลปะของบริษัท เฮอร์ซอก แอนด์ เดอมูรอน บริษัทสัญชาติสวิส ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมอาคารสนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง หรือ สนามรังนก ที่เป็นสนามหลักในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง ต่อมาเขากลับไปสนใจด้านการขุดคุ้ยและเปิดโปงการทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐในการก่อสร้างอาคารโรงเรียน ซึ่งส่งผลให้อาคารเหล่านั้นพังทลายลงในเหตุการณ์แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและไอ้ เว่ยเว่ย
ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์
อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์
เฟรเดอริก วิลเลิม เดอ แกลร์ก
ฟรเดอริก วิลเลิม เดอ แกลร์ก (Frederik Willem de Klerk) เกิดวันที่ 18 มีนาคม..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเฟรเดอริก วิลเลิม เดอ แกลร์ก
เกาะโรบเบิน
กาะโรบเบิน (Robben Island; Robbeneiland) หรือเกาะแมวน้ำ (Seal Island) เป็นเกาะแห่งหนึ่งในอ่าวเทเบิล ห่างจากชายฝั่งเคปทาวน์ในประเทศแอฟริกาใต้ไปประมาณ 7 กิโลเมตร ชื่อเกาะเป็นคำในภาษาดัตช์ซึ่งหมายถึง เกาะแมวน้ำ เกาะนี้มีรูปร่างคล้ายรูปไข่ ความยาวจากเหนือจรดใต้ราว 3.3 กิโลเมตร ความกว้าง 1.9 กิโลเมตร มีพื้นที่รวมประมาณ 5.07 ตารางกิโลเมตร เกาะค่อนข้างเป็นที่ราบและอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลเล็กน้อย ประกอบด้วยหินแปร Precambrian ในกลุ่ม Malmesbury Group เกาะแห่งนี้มีความสำคัญเนื่องจากเป็นสถานที่คุมขังอดีตประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ และเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ คือ เนลสัน แมนเดลา และเป็นที่คุมขังอดีตประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ กคาลิมา มุตลาอึนเท (Kgalema Motlanthe) รวมไปถึงนักโทษการเมืองที่มีชื่อเสียงอีกมากมาย ซึ่งถูกคุมขังอยู่ที่นี่นับสิบปีในระหว่างยุคแห่งการแบ่งแยกสีผิวในประเท.
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเกาะโรบเบิน
เรื่องจริงช็อคโลก
รื่องจริงช็อคโลก (An Inconvenient Truth) เป็นรายการสารคดีเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ที่ดำเนินการนำเสนอโดย อัล กอร์ ซึ่งเป็นอดีตรองประธานาธิบดีสหรัฐ และเป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเรื่องจริงช็อคโลก
เล ดึ๊ก เถาะ
ล ดึ๊ก เถาะเมื่อ พ.ศ. 2516 เล ดึ๊ก เถาะ (Lê Đức Thọ) เป็นสมาชิกอาวุโสของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม และเป็นผู้ที่เข้าร่วมการเจรจาจนเกิดข้อตกลงสันติภาพปารีส ที่ยุติการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐในสงครามเวียดนาม เถาะเกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเล ดึ๊ก เถาะ
เลย์มาห์ โบวี
ลย์มาห์ โบวี เลย์มาห์ โบวี (เกิด พ.ศ. 2515) เป็นนักเคลื่อนไหวสันติภาพแอฟริกา ผู้มีส่วนจัดตั้งขบวนการสันติภาพซึ่งนำไปสู่การยุติสงครามกลางเมืองไลบีเรียครั้งที่สองใน..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเลย์มาห์ โบวี
เอซะกุ ซะโต
อซะกุ ซะโต (27 มีนาคม ค.ศ. 1901 – 3 มิถุนายน ค.ศ. 1975) นักการเมืองชาวญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 39 ของญี่ปุ่น ตั้งแต่ปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเอซะกุ ซะโต
เฮนรี คิสซินเจอร์
นรี คิสซินเจอร์ เฮนรี คิสซินเจอร์ (Henry Alfred Kissinger; เกิด 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1923; ชื่อเมื่อเกิด Heinz Alfred Kissinger) เป็นนักวิทยาศาสตร์และนักการทูตชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน และเป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเฮนรี คิสซินเจอร์
เนลสัน แมนเดลา
นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..
ดู รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพและเนลสัน แมนเดลา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสันติภาพ