โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

ดัชนี รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

203 ความสัมพันธ์: บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สันบ็อบ ดิลลันฟรานซ์ คาฟคาฟร็องซัว โมรียักพ.ศ. 2415พ.ศ. 2444พ.ศ. 2445พ.ศ. 2446พ.ศ. 2447พ.ศ. 2448พ.ศ. 2449พ.ศ. 2450พ.ศ. 2451พ.ศ. 2452พ.ศ. 2453พ.ศ. 2454พ.ศ. 2455พ.ศ. 2456พ.ศ. 2457พ.ศ. 2458พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2462พ.ศ. 2463พ.ศ. 2464พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2467พ.ศ. 2468พ.ศ. 2469พ.ศ. 2470พ.ศ. 2471พ.ศ. 2472พ.ศ. 2473พ.ศ. 2474พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2478พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487...พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2492พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2503พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พิมล แจ่มจรัสกาบริเอลา มิสตรัลกามนิตกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซกึนเทอร์ กรัสส์มอริส มาแตร์แล็งก์มิชิมะ ยุกิโอะมิคาอิล โชโลคอฟยะซุนะริ คะวะบะตะรพินทรนาถ ฐากุรรัดยาร์ด คิปลิงรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาเคมีรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคินวิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์วิลเลียม ฟอล์คเนอร์วิลเลียม โกลดิงวิสวาวา ซิมบอร์สกาวี เอส ไนพอลศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์สหรัฐอลิซ มุนโรออร์ฮัน ปามุกอานาตอล ฟร็องส์อิมเร เคอร์เตสซ์อีวาน บูนินอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโยฌ็อง-ปอล ซาทร์จอร์จ โซรอสจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์จอห์น กอลส์เวอร์ธีจอห์น สไตน์เบ็คจอห์น แมกซ์เวล คูตซีจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ดอริส เลสซิงดาริโอ โฟดีเบลชทรอมเมิลคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรปคีตาญชลีคีตาญชลี (แก้ความกำกวม)คนุท ฮัมซุนตแชสวัฟ มีวอชซอล เบลโลว์ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ซูว์ลี พรูว์ดอมประเทศฟินแลนด์ประเทศญี่ปุ่นประเทศไอซ์แลนด์ปาทริก มอดียาโนปาโบล เนรูดานะญีบ มะห์ฟูซนาดีน กอร์ดิเมอร์แล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแฮร์มันน์ เฮสเซอแฮร์ทา มึลเลอร์แฮโรลด์ พินเทอร์แคว้นโกกิมโบแคนรึก แชงกีเยวิตช์โม่เหยียนโจซูเอ คาร์ดุชชีโฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เรเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เฟรเดริก มิสทราลเพลงชาติเพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอเพิร์ล เอส. บัคเกมลูกแก้วเกา ซิงเจี้ยนเอลฟรีเดอ เยลิเนคเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เทโอดอร์ มอมม์เซินเฒ่าผจญทะเลเค็นซะบุโร โอเอะ13 พฤศจิกายน18 พฤษภาคม21 มิถุนายน ขยายดัชนี (153 มากกว่า) »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน

ียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) (8 ธันวาคม พ.ศ. 2375 - 26 เมษายน พ.ศ. 2453) ชาวนอรเวย์ เป็นทั้งกวี นักเขียนบทละคร นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ ผู้กำกับการแสดงละคร และบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นของนอร์เวย์ โดยเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในสี่ของผู้ยิ่งใหญ่แห่งวรรณกรรมนอร์เวย์ยุคนั้น อีกสามคนคือ เฮนริก อิบเซน (Henrik Ibsen) อเล็กซานเดอร์ คีลแลนด์ (Alexander Kielland) และโยนัส ไล (Jonas Lie) บทกวีของเขาชื่อ Ja, vi elsker dette landet (ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้) ยังถูกนำไปแต่งเป็นเพลงชาติของนอร์เวย์ด้ว.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและบียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

บ็อบ ดิลลัน

็อบ ดิลลัน (Bob Dylan) หรือชื่อจริง โรเบิร์ต อัลเลน ซิมเมอร์แมน (Robert Allen Zimmerman; เกิด 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ศิลปิน จิตรกร นักประพันธ์ และกวีชาวอเมริกัน ที่มีผลงานในวงการดนตรีมาตลอดกว่า 5 ทศวรรษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงทศวรรษ 1960 จนได้รับฉายาให้เป็น "ราชาแห่งโฟล์ก" ด้วยภาพลักษณ์ของดิลลันในการแต่งเพลงที่เน้นเนื้อหาทางสังคมและการต่อต้านสงคราม มีเพลงตัวอย่างเช่น "Blowin' in the Wind" และ "The Times They Are a-Changin'" ที่ได้กลายมาเป็นหนึ่งในเพลงสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวทางสิทธิมนุษยชนและการต่อต้านสงครามในสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้เขายังได้ออกซิงเกิล "Like a Rolling Stone" ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและบ็อบ ดิลลัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฟรานซ์ คาฟคา · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว โมรียัก

ฟร็องซัว ชาร์ล โมรียัก (François Charles Mauriac; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1885 – 1 กันยายน ค.ศ. 1970) เป็นนักเขียน, นักวิจารณ์, กวีและนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นบุตรคนเล็กในจำนวน 5 คนของครอบครัวชนชั้นกลางในบอร์โด บิดาของโมรียักเสียชีวิตตั้งแต่โมรียักอายุ 18 เดือน โมรียักเรียนจบด้านวรรณกรรมจากมหาวิทยาลัยบอร์โดและย้ายมาอยู่ที่ปารีสเพื่อเรียนต่อที่โรงเรียนแห่งชาติชาทร์ (École Nationale des Chartes) ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฟร็องซัว โมรียัก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2472 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พิมล แจ่มจรัส

มล แจ่มจรัส (เกิด พ.ศ. 2477 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก กรรมการผู้ตัดสินรางวัลซีไรต์ เป็นนักเขียน นักแปล ผลงานด้านประวัติศาสตร์ และเรื่องราวในราชสำนักไทย เจ้าของนามปากกา "พิมาน แจ่มจรัส" และ "แคน สังคีต" พิมล แจ่มจรัส เกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://matichon.co.th/news-photo/khaosod/2007/06/03col18180650.txt เคยใช้ชีวิตเป็นครูสอนภาษาไทย เป็นอาจารย์สอนวิชาการเขียน และแต่งตำราเกี่ยวกับการเขียนชื่อ "เขียน" และยังมีผลงานแปลเรื่อง รุไบยาต ของโอมาร์ คัยยาม และแปลผลงานของนากิ๊บ มาห์ฟูซ์ (Naguib Mahfuz) นักเขียนรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพิมล แจ่มจรัส · ดูเพิ่มเติม »

กาบริเอลา มิสตรัล

กาบริเอลา มิสตรัล (Gabriela Mistral) เป็นนามปากกาของ ลูซิลา โกดอย อัลกายากา (Lucila Godoy Alcayaga; 7 เมษายน ค.ศ. 1889 – 10 มกราคม ค.ศ. 1957) เป็นกวี, นักการทูต และนักการศึกษาชาวชิลี เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจำปี ค.ศ. 1945 กาบริเอลา มิสตรัล เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและกาบริเอลา มิสตรัล · ดูเพิ่มเติม »

กามนิต

กามนิต (Der Pilger Kamanita) เป็นวรรณกรรมประเภทนวนิยายอิงพระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงมาก ประพันธ์ในปี ค.ศ. 1906 โดยคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป นักประพันธ์ชาวเดนมาร์ก ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1917 หนังสือกามนิตได้รับการยกย่องให้เป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ฉบับภาษาไทยแปลโดยเสฐียรโกเศศ–นาคะประทีป ในปี พ.ศ. 2473 มีรูปประกอบโดยอาจารย์ช่วง มูลพินิจ โดยแปลจากฉบับภาษาอังกฤษ (The Pilgrim Kamanita) ซึ่งแปลมาจากต้นฉบับภาษาเยอรมัน (Der Pilger Kamanita) อีกทอดหนึ่ง.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและกามนิต · ดูเพิ่มเติม »

กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ

กาบริเอล โฮเซ เด ลา กองกอร์เดีย การ์ซิอา มาร์เกซ (Gabriel José de la Concordia García Márquez) หรือที่รู้จักกันในนาม กาบริเอล การ์ซิอา มาร์เกซ (6 มีนาคม ค.ศ. 1927 - 17 เมษายน ค.ศ. 2014) เป็นนักประพันธ์เรื่องสั้น นักเขียนบท และนักหนังสือพิมพ์ชาวโคลอมเบีย เกิดที่เมืองอารากาตากา เป็นบุตรชายของลุยซา ซานเตียกา มาร์เกซ อิกัวรัน กับกาบริเอล เอลิฮิโอ การ์ซิอา บิดาของเขาเป็นเภสัชกร เมื่อโตขึ้นเขาเริ่มเป็นนักข่าวและได้เขียนงานที่ไม่ใช่นิยายหลายเรื่องซึ่งเป็นเรื่องที่สะเทือนใจและเรื่องสั้น ผลงานที่โดดเด่นของเขาคือ หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว (Cien años de soledad, 1967), ฤดูใบไม้ร่วงของผู้นำแก่ (El otoño del patriarca, 1975) และ รักเมื่อคราวห่าลง (El amor en los tiempos del cólera, 1985) ซึ่งล้วนแต่เป็นที่รู้จัก เขาได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนที่สำคัญที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาได้รับรางวัลวรรณกรรมนานาชาตินอยชตัดท์ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ กรัสส์

กึนเทอร์ วิลเฮลม์ กรัสส์ (Günter Wilhelm Grass) (16 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 13 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนและนักเขียนบทละครชาวเยอรมันคนสำคัญ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1999 กรัสส์เกิดที่นครรัฐอิสระดานซิก (ปัจจุบันคือ กดัญสก์ ประเทศโปแลนด์) ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและกึนเทอร์ กรัสส์ · ดูเพิ่มเติม »

มอริส มาแตร์แล็งก์

มอริส ปอลีดอร์ มารี แบร์นาร์ มาแตร์แล็งก์ (Maurice Polydore Marie Bernard Maeterlinck; 29 สิงหาคม ค.ศ. 1862 - 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1949) เป็นนักเขียนบทละคร, นักเขียนความเรียง และกวีชาวเบลเยียมคนสำคัญซึ่งเขียนงานเป็นภาษาฝรั่งเศส มาแตร์แล็งก์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1911 หัวข้อหลักที่เขียนเกี่ยวกับความตายและความหมายของชีวิต งานเขียนบทละครเป็นสิ่งสำคัญที่มีอิทธิพลต่อขบวนการสัญลักษณ์นิยม.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและมอริส มาแตร์แล็งก์ · ดูเพิ่มเติม »

มิชิมะ ยุกิโอะ

มิชิมะ ยุกิโอะ เป็นนามปากกาของ ฮิระโอะกะ คิมิตะเกะ (14 มกราคม ค.ศ. 1925 - 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970) เป็นกวีและนักเขียนชาวญี่ปุ่น ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักเขียนท่านหนึ่งที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ ยุกิโอะเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมถึง 3 ครั้ง และเกือบได้รับรางวัลนี้ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและมิชิมะ ยุกิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

มิคาอิล โชโลคอฟ

มิคาอิล อเล็กซานโดรวิช โชโลคอฟ (Михаи́л Алекса́ндрович Шо́лохов Mikhail Aleksandrovich Sholokhov) (24 พฤษภาคม ค.ศ. 1905 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1984) มิคาอิล อเล็กซานโดรวิช โชโลคอฟเป็นนักเขียนนวนิยายคนสำคัญชาวรัสเซียผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและมิคาอิล โชโลคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยะซุนะริ คะวะบะตะ

ซุนะริ คะวะบะตะ ในปี ค.ศ. 1938 ยะซุนะริ คะวะบะตะ (14 มิถุนายน ค.ศ. 1899 - 16 เมษายน ค.ศ. 1972) เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นชาวญี่ปุ่น เขาเป็นชาวญี่ปุ่นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและยะซุนะริ คะวะบะตะ · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รัดยาร์ด คิปลิง

ซฟ รัดยาร์ด คิปลิง (Joseph Rudyard Kipling; 30 ธันวาคม ค.ศ. 1865 - 18 มกราคม ค.ศ. 1936) เป็นกวีและนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองมุมไบ (หรือเมืองบอมเบย์ ในบริติชอินเดีย) เป็นที่รู้จักจากผลงานอันมีชื่อเสียงคือ เมาคลีลูกหมาป่า (The Jungle Book; 1894) และนวนิยายเรื่อง Kim (1901) เขาเขียนบทกวีมากมาย รวมถึงเรื่อง Mandalay (1890) และ Gunga Din (1890) รวมทั้งเขียนเรื่องสั้นอีกหลายเรื่อง งานเขียนเกี่ยวกับเด็กของเขาถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมคลาสสิกสำหรับเด็ก คิปลิงถือเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศอังกฤษในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทั้งงานเขียนร้อยแก้วและร้อยกรอง ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรัดยาร์ด คิปลิง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์

รางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ มักรู้จักทั่วไปว่า รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ เป็นรางวัลประจำปี มอบให้กับผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในสาขาเศรษฐศาสตร์ รางวัลนี้ก่อตั้งโดยธนาคารชาติสวีเดน ในวาระเฉลิมฉลอง 300 ปีของธนาคารในปี พ.ศ. 2511 รางวัลนี้มอบโดยราชบัณฑิตยสถานสวีเดนตามกระบวนการเดียวกับรางวัลโนเบลห้าสาขาดั้งเดิม ผู้ได้รับรางวัลสาขานี้ จะได้รับใบประกาศและเหรียญทองจากกษัตริย์สวีเดนในพิธีวันที่ 10 ธันวาคม เช่นเดียวกับผู้ได้รับรางวัลสาขาฟิสิกส์ เคมี แพทยศาสตร์และสรีรวิทยา และวรรณกรรม และได้รับเงินรางวัลจำนวนเดียวกับผู้ได้รับรางวัลสาขาอื่นๆ โดยมีพิธีมอบรางวัลครั้งแรกในปี 1969.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคิน

รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคิน (Rudolf Christoph Eucken) (5 มกราคม ค.ศ. 1846 - 15 กันยายน ค.ศ. 1926) รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคินเป็นนักปรัชญาคนสำคัญชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1908.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคิน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์

วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ (William Butler Yeats) หรือ ดับเบิลยู.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) (25 กันยายน ค.ศ. 1897 - 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1962) วิลเลียม ฟอล์คเนอร์เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นคนสำคัญชาวอเมริกัน ฟอล์คเนอร์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิลเลียม ฟอล์คเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม โกลดิง

ซอร์ วิลเลียม โกลดิง (William Golding; 19 กันยายน ค.ศ. 1911 - 19 มิถุนายน ค.ศ. 1993) เป็นกวีและนักเขียนชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิลเลียม โกลดิง · ดูเพิ่มเติม »

วิสวาวา ซิมบอร์สกา

วิสวาวา ซิมบอร์สกา (Wisława Szymborska) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1923 — 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012) วิสวาวา ซิมบอร์สกาเป็นกวี, นักเขียนบทความ และ นักแปลคนสำคัญชาวโปแลนด์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1996 ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาใช้วิธีการเขียนที่ผสานการแฝงนัย, ปฏิทรรศน์, การโต้แย้ง (contradiction) และการกล่าวน้อยกว่าความจริง (understatement) ในการขยายความของปรัชญาในข้อเขียน งานกวีนิพนธ์ที่กะทัดรัดแต่มักจะแฝงปริศนาของของอัตถิภาวนิยมอันสำคัญ ที่พาดพิงไปถึงหัวข้อเช่นจริยธรรม และสะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้งของผู้คนทั้งบุคคลแต่ละคนและกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิกของสังคม ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาเป็นการเขียนที่กะทัดรัดที่เต็มไปด้วยการใคร่ครวญและปฏิภาณ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิสวาวา ซิมบอร์สกา · ดูเพิ่มเติม »

วี เอส ไนพอล

ซอร์ วี เอส ไนพอล (V.) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1932 -) วี เอส ไนพอลเป็นนักเขียนนวนิยายและบทความคนสำคัญของบริติชผู้มีเชื้อสายอินเดีย-ตรินิแดด ผู้ที่เกิดที่ตรินิแดดและโตเบโก ไนพอลถือว่าเป็นนักเขียนคนสำคัญผู้มีความสามารถในการเขียนร้อยแก้วในภาษาอังกฤษใหม่ ไนพอลได้รับทางวรรณกรรมต่างๆ หลายรางวัลที่รวมทั้งรางวัลจอห์น ลูเอลเลน รีส (John Llewellyn Rhys Prize) ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวี เอส ไนพอล · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์

มีการเสนอเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ว่า ศาสนาพุทธนั้นเข้ากับวิทยาศาสตร์ได้ ทำให้ศาสนาพุทธได้กลายเป็นประเด็นหนึ่งในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและวิทยาศาสตร์ มีการอ้างว่า คำสอนทั้งทางปรัชญาทั้งทางจิตวิทยาในศาสนาพุทธ มีส่วนที่เหมือนกันกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และทางปรัชญา ยกตัวอย่างเช่น ศาสนาพุทธสนับสนุนให้ทำการตรวจสอบธรรมชาติอย่างเป็นกลาง ๆ แนวคิดที่นิยมบางอย่าง เชื่อมคำสอนศาสนาพุทธกับทฤษฎีวิวัฒนาการ ทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม และทฤษฎีจักรวาลวิทยา แต่ว่า นักวิทยาศาตร์โดยมาก เห็นความแตกต่างระหว่างคำสอนทางศาสนาและเกี่ยวกับอภิปรัชญาของศาสนาพุทธ กับระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อลิซ มุนโร

อลิซ แอนน์ มุนโร (Alice Ann Munro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1931 — ปัจจุบัน) เป็นนักประพันธ์ชาวแคนาดาผู้มีผลงานเขียนในภาษาอังกฤษ งานของมุนโรได้รับการอธิบายว่ามีการปฏิวัติโครงสร้างของเรื่องสั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะเฉพาะในการเดินหน้าและย้อนกลับของห้วงเวลา เรื่องต่าง ๆ ที่ตราตรึงของเธอมีมากเกินกว่าที่ได้ประกาศ หรือเปิดเผยได้เสียยิ่งกว่าขบวนแห่ เรื่องแต่งของมุนโรโดยส่วนใหญ่มักจะมีฉากในบ้านเกิดของเธอ ซึ่งก็คือฮูรอนคันทรีในเซาธ์เวสเทิร์นออนแทรีโอ เรื่องราวต่าง ๆ ของเธอแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของมนุษย์ในรูปแบบร้อยแก้วที่ไม่ซับซ้อน การเขียนของมุนโรได้รับการจัดให้อยู่ในฐานะ "หนึ่งในนักเขียนเรื่องแต่งร่วมสมัยที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพวกเรา" ประดุจดั่งซินเทีย โอซิก ได้เขียนเพิ่ม และเสมือนเป็น "เชคอฟของพวกเรา" ทั้งนี้ เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอลิซ มุนโร · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ฮัน ปามุก

ฟอริต ออร์ฮัน ปามุก (Ferit Orhan Pamuk) เป็นนักเขียนแนวโพสต์โมเดิร์นชาวตุรกีคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ปามุกเกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1952 ณ นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี จบการศึกษาทางด้านวารสารศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอิสตันบูล เขาแต่งงานในปีค.ศ. 1982 แต่ก็หย่าในปีค.ศ. 2001 เขาเริ่มสร้างงานเขียนในปีค.ศ. 1974 โดยผลงานชิ้นแรกมีชื่อว่า Karanlık ve Işık (ความมืดและแสงสว่าง) และมีผลงานชิ้นอื่น ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ปามุกได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม โดยเป็นนักเขียนคนแรกจากประเทศตุรกี และเป็นนักเขียนคนที่สองจากประเทศมุสลิมที่ได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและออร์ฮัน ปามุก · ดูเพิ่มเติม »

อานาตอล ฟร็องส์

อานาตอล ฟร็องส์ (Anatole France,; ชื่อเมื่อเกิด: ฟร็องซัว-อานาตอล ตีโบ - François-Anatole Thibaultw:fr:Anatole France; 16 เมษายน ค.ศ. 1844 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1924) อานาตอล ฟร็องส์เป็นนักเขียนนวนิยาย กวี และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1921.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอานาตอล ฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อิมเร เคอร์เตสซ์

อิมเร เคอร์เตสซ์ (Kertész Imre; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1929 - 31 มีนาคม ค.ศ. 2016) อิมเร เคอร์เตสซ์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวฮังการีเชื้อสายยิวผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2002.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอิมเร เคอร์เตสซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีวาน บูนิน

อีวาน บูนิน บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต อีวาน อะเลกเซเยวิช บูนิน (Ива́н Алексе́евич Бу́нин Ivan Alekseyevich Bunin) เป็นนักเขียนชาวรัสเซียคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอีวาน บูนิน · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน (Александр Исаевич Солженицын Aleksandr Isayevich Solzhenitsyn) (11 ธันวาคม ค.ศ. 1918 - 3 สิงหาคม ค.ศ. 2008, Gazeta.ru (Russian)) อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินเป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนบทละคร แ ละ นักประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวรัสเซีย โซลเซนิตซิน งานเขียนของโซลเซนิตซินทำให้โลกทราบถึงความทารุณของระบบค่ายแรงงานกูลาก (Gulag) ในสหภาพโซเวียตโดยเฉพาะในเรื่อง The Gulag Archipelago (เกาะกูลาก) และ One Day in the Life of Ivan Denisovich (วันหนึ่งในชีวิตของอิวาน เดนิโซวิค) ซึ่งเป็นงานสองชิ้นที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดของโซลเซนิตซิน งานเขียนอันสำคัญเหล่านี้เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย

็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย หรือเรียกสั้นว่า ฌี.แอม..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ปอล ซาทร์

็อง-ปอล ซาทร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (Jean-Paul Sartre, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448 กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส - 15 เมษายน พ.ศ. 2523 ที่กรุงปารีส) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นักปรัชญา และผู้มีบทบาทสำคัญในแนวคิดอัตถิภาวนิยมหรือทฤษฎีที่ว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าว.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฌ็อง-ปอล ซาทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ โซรอส

อร์จ โซรอส ระหว่างการบรรยายที่มาเลเซีย จอร์จ โซรอส (12 สิงหาคม ค.ศ. 1930 -) เดิมชื่อ จอร์จี ชวาร์ตซ์ (György Schwartz) นักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี เป็นนักวิเคราะห์ค่าเงิน นักลงทุนหุ้น ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานบริษัท Soros Fund Management และสถาบัน Open Society Institute นิตยสาร ฟอร์บส์ ได้จัดให้ จอร์จ โซรอส อยู่ในอันดับที่ 35ของบุคคลที่รวยที่สุดในโลก มีทรัพย์สินมูลค่าประมาณ 14,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เขาได้บริจาคเงิน 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อการกุศลตั้งแต..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอร์จ โซรอส · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์

อร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ (George Bernard Shaw; 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1856 - 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1950) เป็นนักเขียนบทละครชาวไอริช เกิดที่เมืองดับลิน ย้ายมาอยู่กรุงลอนดอนเมื่ออายุได้ 20 ปี และพำนักอยู่ในประเทศอังกฤษจนตลอดชีวิต เขาเริ่มต้นชีวิตการทำงานด้วยการประพันธ์เพลงและเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม ต่อมาจึงหันมาเขียนบทละคร และมีความชำนาญในการประพันธ์บทละครแนวชีวิต ชอว์มีผลงานบทละครมากกว่า 60 เรื่อง ส่วนใหญ่มีเนื้อหาที่สะท้อนถึงปัญหาสังคม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น กอลส์เวอร์ธี

อห์น กอลส์เวอร์ธี (John Galsworthy; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1867 – 31 มกราคม ค.ศ. 1933) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เขตคิงส์ตันอะพอนเทมส์ เป็นบุตรของจอห์นและบลังเช (นามสกุลเดิม บาร์ทลีต) ไบเล่ย์ ครอบครัวของกอลส์เวอร์ธีมีฐานะ กอลส์เวอร์ธีเข้าเรียนที่โรงเรียนแฮร์โรว์และวิทยาลัยนิวเพื่อเป็นทนายความ แต่ต่อมากอลส์เวอร์ธีเลือกที่จะเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ เพื่อดูแลธุรกิจขนส่งของครอบครัว ระหว่างเดินทาง กอลส์เวอร์ธีได้เป็นเพื่อนกับนักเขียน โจเซฟ คอนราด ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอห์น กอลส์เวอร์ธี · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น สไตน์เบ็ค

อห์น เอิร์นส์ต สไตน์เบ็ค จูเนียร์ (John Ernst Steinbeck, Jr.; พ.ศ. 2445-2511) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกัน เกิดที่ ซาลีนาส รัฐแคลิฟอร์เนีย ได้รับรางวัลรางวัลพูลิตเซอร์ ค.ศ. 1940 (พ.ศ. 2484) และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505).

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอห์น สไตน์เบ็ค · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แมกซ์เวล คูตซี

อห์น แมกซ์เวล คูตซี (J.) (9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1940 - ปัจจุบัน) จอห์น แมกซ์เวล คูตซีเป็นนักเขียนและนักการศึกษาคนสำคัญชาวออสเตรเลียจากแอฟริกาใต้ คูตซีเป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนบทความ, นักวิพากษ์วรรณกรรม และนักภาษาศาสตร์ และได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ในปี ค.ศ. 1983 และ ค.ศ. 1999 และ รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2003.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอห์น แมกซ์เวล คูตซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ ทูมัส เยิสตา ทรานสเตรอเมอร์ (Tomas Gösta Tranströmer, 15 เมษายน ค.ศ. 1931 — 26 มีนาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักเขียน กวี และนักแปลชาวสวีเดน ซึ่งผลงานกวีของเขาถูกแปลมากกว่า 60 ภาษาทั่วโลก ทรานสเตรอเมอร์ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนคนสำคัญที่สุดในสแกนดิเนเวียตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง บทวิจารณ์ได้ยกย่องบทกวีของทรานสเตรอเมอร์จากความเข้าใจง่าย แม้แต่ในการแปล บทกวีของเขาสามารถถ่ายทอดฤดูหนาวอันยาวนานของประเทศสวีเดน ทำนองแห่งฤดูกาลและบรรยากาศความงามของธรรมชาติได้อย่างชัดเจน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอริส เลสซิง

อริส เมย์ เลสซิง (Doris Lessing, CH, OBE) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1919 – 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013) ดอริส เลสซิงเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอังกฤษผู้เกิดในเปอร์เชียผู้เขียนนวนิยายเช่น The Grass is Singing และ The Golden Notebook.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและดอริส เลสซิง · ดูเพิ่มเติม »

ดาริโอ โฟ

ริโอ โฟ (Dario Fo) (24 มีนาคม ค.ศ. 1926 – 13 ตุลาคม ค.ศ. 2016) เป็นนักเขียนเชิงเสียดสี, นักเขียนบทละคร, ผู้กำกับละครเวที, นักแสดงและคีตกวีคนสำคัญชาวอิตาลี ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1997 งานเขียนของโฟแฝงด้วยแนวชวนขันของ ศิลปะชวนขันอาชีพ (commedia dell'arte) ของอิตาลีโบราณ ซึ่งเป็นลักษณะการเขียนบทละครเวทีที่เป็นที่นิยมกันในบรรดาชนชั้นที่เรียกว่า “proletarian class” ของสังคม ดาริโอ โฟผู้เป็นบิดาของนักเขียนจาโคโป โฟ เป็นผู้จัดการโรงละครร่วมกับภรรยาผู้เป็นดารานำ ฟรังคา เรเม ดาริโอ โฟ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและดาริโอ โฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดีเบลชทรอมเมิล

ีเบลชทรอมเมิล (Die Blechtrommel; The Tin Drum) เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและดีเบลชทรอมเมิล · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป

ร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป (Karl Adolph Gjellerup; 2 มิถุนายน ค.ศ. 1857 - 13 ตุลาคม ค.ศ. 1919) เป็นกวีและนักเขียนนวนิยายชาวเดนมาร์ก ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ปี ค.ศ. 1917 ร่วมกับเฮนริก พอนทอปพีดัน (Henrik Pontoppidan) นับเป็นพวกความคิดสมัยใหม่ เขาใช้นามปากกาว่า Epigonos ผลงานของเขาที่คนไทยรู้จักกันดี ก็คือเรื่อง "Der Pilger Kamanita" หรือ The Pilgrim Kamanita ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาไทยโดยเสฐียรโกเศศและนาคะประทีปในชื่อ "กามนิต" นั่นเอง นอกจากผลงานเรื่องนี้ เขายังได้ประพันธ์งานอีกหลายชิ้นที่ส่อว่าเขาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ และปรัชญาและวัฒนธรรมอินเดี.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป · ดูเพิ่มเติม »

คีตาญชลี

ีตาญชลี (Gitanjali; গীতাঞ্জলি) มีความหมายว่า "song offerings" หรือ "prayer offering of song" เป็นกวีนิพนธ์ภาษาอังกฤษ จำนวน 103 บท ของรพินทรนาถ ฐากูร ซึ่งแปลจากต้นฉบับภาษาเบงกาลี ก่อนที่ท่านจะเดินทางมาประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1912 ต้นฉบับตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1913 เขียนบทนำโดย วาย. บี. ยีตส์ และได้รับความนิยมอย่างสูง ทำให้ท่านได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปีนั้น (พ.ศ. 2456) นับเป็นชาวเอเชียคนแรก และคนแรกที่ไม่ได้เป็นชาวยุโรป ที่ได้รับรางวัลโนเบล คีตาญชลี ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยโดย กรุณา กุศลาศัย ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและคีตาญชลี · ดูเพิ่มเติม »

คีตาญชลี (แก้ความกำกวม)

ีตาญชลี สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและคีตาญชลี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

คนุท ฮัมซุน

นุท ฮัมซุน (Knut Hamsun; 4 สิงหาคม ค.ศ. 1859 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและคนุท ฮัมซุน · ดูเพิ่มเติม »

ตแชสวัฟ มีวอช

ตแชสวัฟ มีวอช (Czesław Miłosz,; 30 มิถุนายน ค.ศ. 1911 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักเขียนและกวีชาวโปแลน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและตแชสวัฟ มีวอช · ดูเพิ่มเติม »

ซอล เบลโลว์

ซอล เบลโลว์ หรือ โซโลมอน เบลโลว์ (Saul Bellow หรือ Solomon Bellows) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1915 - 5 เมษายน ค.ศ. 2005) ซอล เบลโลว์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอเมริกันที่เกิดในแคนาดา เบลโลว์ได้รับทางวรรณกรรมหลายรางวัลที่รวมทั้งรางวัลพูลิตเซอร์ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและซอล เบลโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ (Samuel Beckett) (13 เมษายน ค.ศ. 1906 - 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนเรื่องสั้น, นักเขียนบทละคร, นักเขียนบทความ และ กวีคนสำคัญชาวไอริช งานของเบ็คเค็ทท์ที่แสดงภาพพจน์อันมืดมนของวัฒนธรรมของมนุษย์ทั้งอย่างเป็นทางการและในทางปรัชญาค่อยกลายมาที่มีลักษณะเป็นงานจุลนิยม (minimalism) มากขึ้นต่อมา ขณะที่เป็นลูกศิษย์ ผู้ช่วย และเพื่อนของเจมส์ จอยซ์ เบ็คเค็ทท์ถือว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนแบบสมัยใหม่นิยมคนสุดท้ายผู้เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเขียนหลายคนต่อมา และบางครั้งก็ถือว่าเป็นนักเขียนคนแรกของสมัยใหม่นิยมสมัยหลัง (Postmodernism) นอกจากก็ยังถือกันว่าเบ็คเค็ทท์เป็นนักเขียนคนสำคัญคนหนึ่งของลักษณะการเขียนที่มาร์ติน เอสส์ลิน (Martin Esslin) เรียกว่า "ละครแปลกวิสัย" (Theatre of the Absurd) ซึ่งทำให้เบ็คเค็ทท์กลายเป็นนักเขียนผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เบ็คเค็ทท์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและซามูเอล เบ็คเค็ทท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซูว์ลี พรูว์ดอม

ซูว์ลี พรูว์ดอม (Sully Prudhomme) เป็นนามปากกาของ เรอเน-ฟร็องซัว อาร์ม็อง พรูว์ดอม (René-François-Armand Prudhomme) กวีและนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม เป็นบุตรของเจ้าของร้านค้าชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านวิศวกรรม แต่สนใจด้านงานเขียนจนเข้ารับการศึกษาใหม่ด้านวรรณคดี และหันมาเอาดีด้านวรรณกรรมนับแต่บัดนั้น ได้รับเกียรติให้เป็นสมาชิกของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศสเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและซูว์ลี พรูว์ดอม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาทริก มอดียาโน

็อง ปาทริก มอดียาโน (Jean Patrick Modiano; 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 —) เป็นนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศสและได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและปาทริก มอดียาโน · ดูเพิ่มเติม »

ปาโบล เนรูดา

ปาโบล เนรูดา (Pablo Neruda; 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1904 – 23 กันยายน ค.ศ. 1973) เป็นกวีและนักการทูตชาวชิลี เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี ค.ศ. 1971 ปาโบล เนรูดา มีชื่อเกิดว่า "เนฟตาลี ริการ์โด เรเยส บาโซอัลโต" เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและปาโบล เนรูดา · ดูเพิ่มเติม »

นะญีบ มะห์ฟูซ

นะญีบ มะห์ฟูซ หรือ นะกีบ มะห์ฟูซ (نجيب محفوظ; 11 ธันวาคม ค.ศ. 1911 - 30 สิงหาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักเขียนชาวอียิปต์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและนะญีบ มะห์ฟูซ · ดูเพิ่มเติม »

นาดีน กอร์ดิเมอร์

นาดีน กอร์ดิเมอร์ (Nadine Gordimer) (20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2014) นาดีน กอร์ดิเมอร์เป็นนักเขียน, นักเขียนบทละคร และ นักเคลื่อนไหวทางการเมืองคนสำคัญชาวแอฟริกาใต้ กอร์ดิเมอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1991 งานเขียนของกอร์ดิเมอร์เป็นงานเขียนที่เกี่ยวกับจริยธรรมและปัญหาเรื่องผิวโดยเฉพาะการกีดกันเรื่องผิวในแอฟริกาใต้ นาดีน กอร์ดิเมอร์เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการต่อต้านการถือผิว และเข้าเป็นสมาชิกของพรรคสมัชชาแห่งชาติแอฟริกาในยุคที่เป็นพรรคนอกกฎหมาย เมื่อไม่นานมานี้ก็ได้เข้ามามีบทบาทในกำจัดเอชไอวี.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและนาดีน กอร์ดิเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้อพยพชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรป ในยุค ค.ศ. 1920 ชื่อเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซึ่งตั้งโดยเฮมิงเวย์ตามคำแนะนำของสำนักพิมพ์ นำมาจากพระธรรมปัญญาจารย์ 1:5 ที่มีเนื้อความว่าThe sun also ariseth, and the sun goeth down, and hasteth to his place where he arose. คำแปลพระธรรมปัญญาจารย์ในวิกิซอร์ซ ให้คำแปลของเนื้อความดังกล่าวว่า "ดวงอาทิตย์ขึ้น และดวงอาทิตย์ตก แล้วรีบไปถึงที่ซึ่งขึ้นมานั้น"ซึ่งเป็นคัมภีร์ลำดับที่ 25นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ 21นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโปรเตสแตนต์ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยก่อนหน้านี้เฮมิงเวย์ตั้งชื่อให้กับนวนิยายเรื่องนี้ว่า เฟียสตา (Fiesta) ซึ่งชื่อดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดพิมพ์ในฉบับสหราชอาณาจักร และฉบับภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาอิตาลี และภาษาสเปนของนวนิยายเรื่องนี้.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์ทา มึลเลอร์

แฮร์ทา มึลเลอร์ (Herta Müller) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1953 - ปัจจุบัน) แฮร์ทา มึลเลอร์เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทความคนสำคัญชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศโรมาเนีย แฮร์ทา มึลเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2009 งานเขียนที่มีชื่อเสียงของมึลเลอร์เป็นงานเขียนที่เกี่ยวกับสภาวะอันทารุณของชีวิตในสาธารณรัฐประชาชนโรมาเนีย (Communist Romania) ภายใต้การปกครองอันกดขี่ของรัฐบาลของนิโคไล เชาเชสกู, เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เยอรมนีในภูมิภาคบานัท (Banat) ในยุโรปกลาง และ การทำร้ายชาวเยอรมันเชื้อสายโรมาเนียโดยกองทหารโซเวียตที่ยึดครองโรมาเนียของสตาลิน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแฮร์ทา มึลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮโรลด์ พินเทอร์

แฮโรลด์ พินเทอร์ (Harold Pinter) (10 ตุลาคม ค.ศ. 1930 - 24 ธันวาคม ค.ศ. 2008) แฮโรลด์ พินเทอร์เป็นนักเขียน กวี นักเขียนบทละคร นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับ นักแสดง ผู้มีบทบาททางการเมืองคนสำคัญชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 20 พินเทอร์เป็นนักเขียนบทละครผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของสมัยใหม่ ที่เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแฮโรลด์ พินเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโกกิมโบ

แคว้นโกกิมโบ (Región de Coquimbo) เป็นแคว้นหนึ่งในสิบห้าแห่งตามการปกครองของประเทศชิลี ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ ทิศเหนือมีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นอาตากามา ทิศใต้ติดต่อกับแคว้นบัลปาราอีโซ ทิศตะวันออกเป็นพื้นที่ภูเขา ส่วนหนึ่งของเทือกเขาแอนดีส ติดต่อกับรัฐซานควนของประเทศอาร์เจนตินา และทิศตะวันตกเป็นที่ราบชายฝั่งติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก แคว้นโกกิมโบมีประชากรราว 770,000 คน เมืองหลักของแคว้นคือ ลาเซเรนา เมืองใหญ่แห่งอื่นได้แก่ โกกิมโบ (ประชากร 202,000 คน) โอบาเย (ประชากร 113,000 คน) และอียาเปล (ประชากร 30,000 คน).

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแคว้นโกกิมโบ · ดูเพิ่มเติม »

แคนรึก แชงกีเยวิตช์

แคนรึก อาดัม อาแล็กซันแดร์ ปียุส แชงกีเยวิตช์ (Henryk Adam Aleksander Pius Sienkiewicz) หรือที่รู้จักในชื่อ "ลิตฟอส" (Litwos) (5 พฤษภาคม ค.ศ. 1846 - 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวโปแลนด์ และนักประพันธ์นวนิยายซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแคนรึก แชงกีเยวิตช์ · ดูเพิ่มเติม »

โม่เหยียน

ม่เหยียน เป็นนามปากกาของ ก่วน โหมเย่ นักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นชาวจีน ที่ได้รับการยกย่องว่าเปรียบเหมือน ฟรานซ์ คาฟคา หรือ โจเซฟ เฮลเลอร์ ชาวจีน โม่เหยียนเกิดในครอบครัวชาวนาจากมณฑลซานตง ผลงานเขียนของเขาในปี 1987 เกี่ยวกับชาวนาจีนในซานตงช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง Red Sorghum กำกับโดยจาง อี้โหมว นำแสดงโดยกง ลี่ และเจียง เหวิน ได้รับคำชื่นชมในระดับนานาชาติ ได้รับรางวัลไก่ทองคำของจีน และรางวัลหมีทองคำของเยอรมนี เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2012 โม่เหยียน ได้รับการประกาศชื่อเป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม นับเป็นคนจีนคนแรกที่ได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและโม่เหยียน · ดูเพิ่มเติม »

โจซูเอ คาร์ดุชชี

ซูเอ คาร์ดุชชี (โจซูเอ คาร์ดุชชี) (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2378 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450) เป็นกวีชาวอิตาลีซึ่งบ่อยครั้งเป็นที่ยกย่องว่าเป็นหนึ่งในกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอิตาลี เขายังเป็นครูอีกด้วย คาร์ดุชชีถูกยกย่องให้เป็นกวีแห่งชาติอย่างไม่เป็นทางการของประเทศอิตาลีสมัยใหม่ ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและโจซูเอ คาร์ดุชชี · ดูเพิ่มเติม »

โฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร

ซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร (José Echegaray y Eizaguirre; 19 เมษายน ค.ศ. 1832 - 14 กันยายน ค.ศ. 1916) เป็นวิศวกรโยธา นักคณิตศาสตร์ และนักการเมืองชาวสเปน เขายังเป็นนักเขียนบทละครผู้มีชื่อเสียงของสเปนในช่วงยี่สิบห้าปีสุดท้ายของคริสต์ศตวรรษที่ 19 เอเชกาไรได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและโฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์

อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก มิสทราล

ฟรเดริก มิสทราล (Frédéric Mistral; Frederic Mistral; 8 กันยายน ค.ศ. 1830 - 25 มีนาคม ค.ศ. 1914) เป็นนักเขียนและนักทำพจนานุกรมชาวฝรั่งเศส บุตรของชาวนาผู้มีอันจะกินคนหนึ่งในภูมิภาคพรอว็องส์ เขาเป็นผู้ฟื้นฟูภาษาอ็อกซิตันและวรรณกรรมในภาษาอ็อกซิตันขึ้นใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเฟรเดริก มิสทราล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติ

ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ประกอบเพลงชาติ มักมีการใช้ภาพประกอบเพลงที่แสดงถึงความฮึกเหิมและปลุกใจให้รักชาติ (ตัวอย่างในที่นี้ เป็นภาพยนตร์เพลงชาติสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2487) เพลงชาติ (National anthem) หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้น เพื่อปลุกเร้าให้หวนระลึกถึงหรือสรรเสริญประวัติศาสตร์ชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ หรือการต่อสู้ของชนในชาติ โดยได้รับการยอมรับจากรัฐบาลของชาตินั้น ๆ อย่างเป็นทางการ หรือความตกลงใจร่วมกันของประชาชนในชาติว่า เพลงดังกล่าวเป็นเพลงประจำชาติของตน ในหนังสือ "เพลงชาติ" โดย สุกรี เจริญสุข ได้กล่าวถึงความหมายของเพลงชาติไว้ 4 ประการ คือ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเพลงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ

ล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ (Paul Johann Ludwig von Heyse; 15 มีนาคม ค.ศ. 1830 - 2 เมษายน ค.ศ. 1914) เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1910 ฟอน ไฮเซอเป็นบุตรของคาร์ล วิลเฮล์ม ลุดวิจ ไฮเซอนักนิรุกติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียง และยูลี ซาลลิง ยูลีเป็นบุตรีผู้มาจากตระกูลลชาวยิวที่มีหน้ามีตาและมีความเกี่ยวดองกับช่างอัญมณีประจำราชสำนักเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น ฟอน ไฮเซอได้รับการศึกษาในเบอร์ลินแต่บอนน์ ในสาขาวิชาภาษาคลาสสิก หลังจากนั้นฟอน ไฮเซอก็แปลงานกวีนิพนธ์ของกวีอิตาลีหลายคน และเขียนเรื่องสั้น และ นวนิยายที่ได้รับการตีพิมพ์หลายเรื่อง แต่เรื่องที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเรื่อง “Kinder der Welt” (ยุวชนของโลก, ค.ศ. 1873) ในเบอร์ลินฟอน ไฮเซอเป็นสมาชิกของสมาคมกวี “Tunnel über der Spree” (อุโมงค์ข้ามแม่น้ำสปรี) และในมิวนิคก็เป็นสมาชิกของสมาคมกวี “Krokodil” (จระเข้) พร้อมกับเอ็มมานูเอล ไกเบิล ฟอน ไฮเซอเขียนหนังสือ, กวีนิพนธ์ และ บทละครราว 60 เรื่อง ผลงานจำนวนมากทำให้ฟอน ไฮเซอกลายเป็นผู้นำในบรรดานักวิชาการหรือปัญญาชนเยอรมัน ฟอน ไฮเซอได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1910 ในฐานะผู้ เวียร์เซนผู้ตัดสินคนหนึ่งของคณะกรรมการโนเบลกล่าวว่า “เยอรมนีไม่มีอัจฉริยะทางด้านวรรณกรรมมาตั้งแต่เกอเท”.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ · ดูเพิ่มเติม »

เพิร์ล เอส. บัค

ร์ล ไซเดนสทริคเกอร์ บัค (Pearl Sydenstricker Buck; 26 มิถุนายน ค.ศ. 1892 – 6 มีนาคม ค.ศ. 1973) หรือ เพิร์ล เอ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเพิร์ล เอส. บัค · ดูเพิ่มเติม »

เกมลูกแก้ว

กมลูกแก้ว (Das Glasperlenspiel; The Glass Bead Game) เป็นผลงานชิ้นเอกและผลงานชุดสุดท้ายของแฮร์มัน เฮสเส ซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวเยอรมัน โดยเริ่มเขียนใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเกมลูกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เกา ซิงเจี้ยน

กา ซิงเจี้ยน (高行健; Gao Xingjian; 4 มกราคม ค.ศ. 1940 —) เป็นนักประพันธ์, นักเขียนบทละคร และนักวิจารณ์ผู้อพยพชาวจีน ผู้ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเกา ซิงเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟรีเดอ เยลิเนค

อลฟรีเดอ เยลิเนค เอลฟรีเดอ เยลิเนค (Elfriede Jelinek) (20 ตุลาคม พ.ศ. 2489 -) นักเขียนชาวออสเตรีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี พ.ศ. 2547 เอลฟรีเดอ เยลิเนค เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2489 ในประเทศออสเตรีย บิดามีเชื่อสายเชค-ยิว มารดาเป็นชาวเวียนนา ในวัยเยาว์เธอได้รับการศึกษาด้านดนตรีหลายอย่าง เช่นเปียโน ออร์แกน และรีคอร์เดอร์ และได้ศึกษาต่อด้านการเรียบเรียงเสียงประสานในสถานบัน Vienna Conservatory หลังจบการศึกษาจาก Albertsgymnasium ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเอลฟรีเดอ เยลิเนค · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทโอดอร์ มอมม์เซิน

ริสเตียน มัททิอัส เทโอดอร์ มอมม์เซิน (Christian Matthias Theodor Mommsen) (30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2360 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446) ชาวเยอรมัน เป็นนักวิชาการคลาสสิก, นักประวัติศาสตร์, นักกฎหมาย, นักข่าว, นักการเมือง, นักโบราณคดี ถือกันว่าเป็นคลาสสิกซิสต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผลงานที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์โรมันยังคงมีความสำคัญในระดับพื้นฐานในการวิจัยจนแม้ในปัจจุบัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเทโอดอร์ มอมม์เซิน · ดูเพิ่มเติม »

เฒ่าผจญทะเล

ผจญทะเล (The Old Man and the Sea) เป็นผลงานวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม โดยเขียนที่ประเทศคิวบาในปี..1951 และได้รับการจัดพิมพ์ครั้งแรกในปี..1952 ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเฮมิงเวย์ เนื้อหาว่าด้วยเรื่องของชายชราคนหนึ่งผู้ออกหาปลาในประเทศคิว.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเฒ่าผจญทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เค็นซะบุโร โอเอะ

็นซะบุโร โอเอะ (31 มกราคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ญี่ปุ่นเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากวรรณกรรมฝรั่งเศสและอเมริกัน และทฤษฎีวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเชิงการเมือง, สังคม และปรัชญาที่รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์, ความไม่อยู่ในกรอบในแผนของสังคม (social non-conformism) และ อัตถิภาวนิยม (existentialism) โอเอะได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1994 เพราะเป็นผู้สร้างงานเขียนที่เป็น “โลกที่เกิดจากจินตนาการ ที่ชีวิตและความลึกลับรวมกันเป็นภาพพจน์อันแสดงถึงภาวะของความกระอักกระอ่วนของสถานภาพของความกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของสังคมปัจจุบัน”"an imagined world, where life and myth condense to form a disconcerting picture of the human predicament today." Yomiuri Shimbun. May 18, 2008.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเค็นซะบุโร โอเอะ · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nobel Prize in Literatureรายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »