โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549

ดัชนี รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549

ีมอบรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย พารากอนซินีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยมี พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน นับเป็นรางวัลตุ๊กตาทองครั้งที่ 36 นับจากครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 และถือเป็นครั้งสุดท้ายของการจัดงานนี้ ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 21 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 จำนวน 42 เรื่อง ภาพยนตร์เรื่อง เปนชู้กับผี เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

38 ความสัมพันธ์: บรรณวิทย์ เก่งเรียนบัณฑิต ฤทธิ์ถกลชาลี ไตรรัตน์ชุติมา ทีปะนาถชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุลบงกช คงมาลัยพ.ศ. 2500พ.ศ. 2549พรชิตา ณ สงขลาพลอย จินดาโชติกฤษดา สุโกศล แคลปป์กุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สันก้านกล้วยรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยงศรัณยู วงษ์กระจ่างศิรพันธ์ วัฒนจินดาสยามพารากอนสิ้นรักสิ้นสุขจินตหรา สุขพัฒน์ทรงยศ สุขมากอนันต์ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยปิติศักดิ์ เยาวนานนท์นิธิวัฒน์ ธราธรแก๊งชะนีกับอีแอบแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้าโกวิท วัฒนกุลโก๊ะตี๋ อารามบอยเฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้เพลงสุดท้ายเกรียงศักดิ์ เหรียญทองเก๋า..เก๋าเด็กหอเปนชู้กับผีเป็นเอก รัตนเรือง13 เกมสยอง23 ธันวาคม

บรรณวิทย์ เก่งเรียน

ล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน พลเรือเอก บรรณวิทย์ เก่งเรียน อดีตประธานที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และบรรณวิทย์ เก่งเรียน · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต ฤทธิ์ถกล

ัณฑิต ฤทธิ์ถกล (21 มีนาคม พ.ศ. 2494 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552) ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย มีผลงานที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ด้วยเกล้า (2530) และภาพยนตร์ในชุด บุญชู ที่สร้างชื่อเสียงให้กับดาราคู่ขวัญ จินตหรา สุขพัฒน์ และสันติสุข พรหมศิริ ซึ่งมีการสร้างภาคต่อรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง บัณฑิต ฤทธิ์ถกล เกิดที่อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน โดยบัณฑิตเป็นพี่คนโต จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และอัสสัมชัญพานิช เมื่อ..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และบัณฑิต ฤทธิ์ถกล · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี ไตรรัตน์

ลี ปอทเจส หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ชาลี ไตรรัตน์ ชื่อเล่น แน็ก (19 มกราคม พ.ศ. 2536) เป็นนักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ยังเด็ก มีผลงานสร้างชื่อเสียงในภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน ที่ทำรายได้สูงสุด 140 ล้านบาทในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และชาลี ไตรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุติมา ทีปะนาถ

ติมา ทีปะนาถ (ชื่อเล่น:ต่าย) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อ.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และชุติมา ทีปะนาถ · ดูเพิ่มเติม »

ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล

ูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล (มะเดี่ยว) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2524 ที่จังหวัดเชียงใหม่ จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาจาก คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง “คน ผี ปีศาจ” “13 เกมสยอง” (13 Beloved) “รักแห่งสยาม” และ "Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ".

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล · ดูเพิ่มเติม »

บงกช คงมาลัย

งกช คงมาลัย (ชื่อเล่น: ตั๊ก) เกิดเมื่อ 15 เมษายน พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไทย มารดาชื่อ ธนาภา ชีพนุรักษ์ เป็นชาวสุพรรณบุรี ศึกษาที่โรงเรียนลาดปลาเค้าพิทยาคม จากนั้นพักการเรียน (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) เข้าวงการบันเทิง เพื่อต้องการหาเงินเลี้ยงครอบครัว มีผลงานแจ้งเกิดด้วยวัยเพียง 15 ปี จากบท "อีสา" ในภาพยนตร์ย้อนยุคเรื่อง "บางระจัน" ต่อมามีผลงานภาพยนตร์เรื่อง "ขุนแผน" แล้วมาพลิกบทบาทเป็น "สมทรง" ในเรื่อง "ไอ้ฟัก" ตามด้วย "อำมหิตพิศวาส" รับบทเป็น แพรว ทางด้านผลงานละคร แสดงละครเรื่อง "ซุ้มสะบันงา", "ลูกแม่" ทางช่อง 7, "นิราศสองภพ" ทางช่อง 3, "เสน่ห์จันทร์" ช่อง 5 และ "รักแผลงฤทธิ์" ช่อง 3 และยังเคยเป็นพิธีกรรายการ "ตอกไข่ใส่จอ" ทางไอทีวี.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และบงกช คงมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พรชิตา ณ สงขลา

รชิตา ณ สงขลา (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2523) ชื่อเล่น เบนซ์ เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และพรชิตา ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

พลอย จินดาโชติ

ลอย จินดาโชติ (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และพลอย จินดาโชติ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษดา สุโกศล แคลปป์

กฤษดา สุโกศล แคลปป์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ น้อย วงพรู (ชื่อเล่น: น้อย) เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2513 เป็นนักร้องนำวงพรู นักแสดงชาวไทย นอกเหนือจากผลงานการแสดงเขายังเป็นผู้บริหารกิจการโรงแรม เดอะ สยามร่วมกับครอบครัว กมลา สุโกศล หลังห่างหายไปถึงสิบสองปี น้อยก็กลับมาในฐานะศิลปินเดี่ยว โดยได้ศิลปินมาช่วยแต่งเพลงอย่าง บอย โกสิยพงษ์ อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข และ ตรัย ภูมิรัตน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และกฤษดา สุโกศล แคลปป์ · ดูเพิ่มเติม »

กุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน

กุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน (สกุลเดิม: ปัจฉิมสวัสดิ์; ชื่อเล่น นิน่า; เกิด: 30 ตุลาคม พ.ศ. 2515) เป็นพิธีกร, ผู้ประกาศข่าว และนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรรายการ ผู้หญิงถึงผู้หญิง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และกุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย

ก้านกล้วย (พ.ศ. 2549) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดยกันตนาแอนิเมชัน เป็นเรื่องราวที่ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดีหรือเดิมชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือ พลายภูเขาทอง โดยในเรื่องใช้ชื่อว่า ก้านกล้วย เป็นตัวเอก ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ได้ คมภิญญ์ เข็มกำเนิด คนไทยที่ได้ไปศึกษาทางฟิล์มและวิดีโอที่เน้นด้านการทำแอนิเมชันที่สหรัฐ และได้เคยร่วมงานสร้างตัวละครและทำภาพเคลื่อนไหวที่เคยร่วมงานกับบริษัทวอลท์ดิสนีย์ และ บลูสกายสตูดิโออย่าง ทาร์ซาน (Tarzan), ไอซ์ เอจ (Ice Age) และ แอตแลนติส (Atlantis: The Lost Empire) มาเป็นผู้กำกับ พร้อมกลุ่มนักแอนิเมชันทั้งชาวไทยและต่างชาติกว่า 100 คน ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ไม่ว่าจะเป็นฉากที่เป็นภูมิทัศน์แบบไทย ต้นไม้ ไม้ดอก สภาพป่า และประเพณีไทย เช่น การคล้องช้าง การนำฉากหมู่บ้านทรงไทย แสดงพืชพรรณไม้ไทย เช่น ต้นราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติ ในฤดูกาลต่างๆ รวมทั้งการออกดอกเหลืองอร่ามในหน้าแล้ง แสดงฉากประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่สร้างด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์อีกเรื่องหนึ่งของไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ใช้เทคนิคดังกล่าว คือ ปังปอนด์ และแอนิเมชันซึ่งถือเป็นเรื่องแรกของไทยคือ สุดสาคร ซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิติ ก้านกล้วยได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ทางช่อง 7 โดยใช้ชื่อว่า "ก้านกล้วย ผจญภัย" จัดฉายทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00-17.30 น. โดยมีเนื้อหารายละเอียดมากขึ้น และใช้ตัวละครที่มีอยู่เดิม.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และก้านกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หรือ รางวัลตุ๊กตาทอง เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยหอการค้ากรุงเทพ จัดพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2500 และผลัดเปลี่ยนผู้จัดทุกปีจนถึง พ.ศ. 2508 หลังจากนั้นได้งดไปหลายปี สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยได้จัดงานประกาศผลรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีอีกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 9 (นับเป็นครั้งที่หนึ่งใหม่) ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ ถือเป็นคลื่นลูกใหม่รุ่นเดียวกับ เป็นเอก รัตนเรือง, นนทรีย์ นิมิบุตร, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และ จิระ มะลิกุล สไตล์การกำกับภาพยนตร์ของวิศิษฎ์จะเป็นแนวจินตนาการเหนือจริงและใช้สีสันฉูดฉาด และในหลายฉากที่เขากำกับมักจะยกย่องความคลาสสิกของหนังไทยในยุคเก่าอยู่เสมอๆ อย่างเช่นในเรื่อง ฟ้าทะลายโจร.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศิรพันธ์ วัฒนจินดา

รพันธ์ วัฒนจินดา (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) ชื่อเล่น นุ่น เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง เพื่อนสนิท จบการศึกษาระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลลำปาง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย และระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ชีวิตส่วนตัว สมรสกับพิธีกรและนักออกแบบ ท็อป - พิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร หลังจากคบหาดูใจกันมาทั้งหมด 8 ปี เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และศิรพันธ์ วัฒนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สยามพารากอน

้านหน้าสยามพารากอน สยามพารากอนเวลากลางคืน ด้านข้างสยามพารากอนเวลากลางคืน ศูนย์การค้าสยามพารากอน (Siam Paragon) เป็น ศูนย์การค้า ขนาดใหญ่ในกลุ่มพลังสยาม มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศไทย รองจากศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ และ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต บริหารงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด ตั้งอยู่บน ถนนพระรามที่ 1 ในพื้นที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เน้นความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อสูง กลุ่มนักท่องเที่ยว กลุ่มลูกค้าต่างชาติ และกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบนในศูนย์การค้าเดียว อีกทั้งยังเป็นศูนย์การค้าคู่แข่งกับ เซ็นทรัลเวิลด์ โดยตรง สยามพารากอนมีลูกค้าชาวไทยประมาณ 60% และชาวต่างชาติ 40% เป็นสถานที่ที่มีผู้แชร์ภาพผ่านอินสตาแกรมมากที่สุดในโลกในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และสยามพารากอน · ดูเพิ่มเติม »

สิ้นรักสิ้นสุข

right สิ้นรักสิ้นสุข เป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ซึ่งประพันธ์ทำนองโดย หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ประพันธ์คำร้องโดย แก้ว อัจฉริยะกุล เมื่อ..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และสิ้นรักสิ้นสุข · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และจินตหรา สุขพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงยศ สุขมากอนันต์

ทรงยศ สุขมากอนันต์ (ชื่อเล่น: ย้ง เกิดวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย นักเขียนบท มีผลงานที่สำคัญได้แก่ เด็กหอ, แฟนฉัน และเรื่องล่าสุดคือละครชุด ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น อีกทั้งยังอยู่ในกลุ่ม 365 ฟิล์ม ได้ฉายาว่า ผู้กำกับโรคจิต เนื่องจากมีลักษณะเด่นคือ การออกแบบการดำเนินเรื่องแบบหักมุม การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 4-6  โรงเรียนเซนต์คาเบรียล กรุงเทพฯ (แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เอกชีววิทยา) ปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การทำงาน หลังเรียนจบทรงยศยังไม่มีงานจึงเตร็ดเตร่ที่คณะ 2 ปี โดยรับจ้างเป็นฟรีแลนซ์ถ่ายภาพ แรกเริ่มเป็นสคริปต์ไรเตอร์ให้กับรายการสารคดีกระจกหกด้าน ทำอยู่ 3 เดือน ก็ขอลาออก ภายหลังทรงยศได้ตัดสินใจบินไปที่อเมริกาเพื่อไปเป็นเด็กเสริฟท์ที่ซานฟรานซิสโกอยู่ปีกว่า จนวันหนึ่ง มีเพื่อนของทรงยศแนะนำตำแหน่งผู้ช่วย ผู้กำกับโฆษณาของพี่ต่อ (ธนญชัย ศรศรีวิชัย) โปรดักชั่นเฮาส์ที่ฟีโนมีน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และทรงยศ สุขมากอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย (Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเด็กวัยรุ่น 3 คน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปี ที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่เปลี่ยนไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ (เต้) นักแสดง เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2525 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกัลยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สำเร็จการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา มีผลงานสร้างชื่อในวงการบันเทิง คือ ภาพยนตร์เรื่อง ไอ้ฟัก โดยแสดงคู่กับ บงกช คงมาลัย ปัจจุบันสมรสแล้วกับแฟนสาวนอกวงการหลังคบหาดูใจกันมา 5 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

นิธิวัฒน์ ธราธร

นิธิวัฒน์ ธราธร ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอช เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2517.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และนิธิวัฒน์ ธราธร · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งชะนีกับอีแอบ

แก๊งชะนีกับอีแอบ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยค่าย จีทีเอช กำกับโดยยงยุทธ ทองกองทุน ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.12 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และแก๊งชะนีกับอีแอบ · ดูเพิ่มเติม »

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า คือภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 กำกับโดย ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์ นำแสดงโดย วรเวช ดานุวงศ์, ณัฐฐาวีรนุช ทองมี, จตุรงค์ พลบูรณ์, จิ้ม ชวนชื่น, โก๊ะตี๋ อารามบอย, ค่อม ชวนชื่น, เอกรัตน์ ขลิบเงิน, มนัสนันท์ ปานดี.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนกุล

กวิท วัฒนกุล มีชื่อเล่นว่า แอ๊ด ที่โกวิทแสดงในเรื่อง ขุนศึก แต่มักอ่านออกเสียงเป็น "สะ-เมา" โดยคนแรกที่เรียกคือ สมจินต์ ธรรมทัต ผู้พากย์เสียงเป็นหมู่ขัน: ผู้จัดการรายสัปดาห์(ปริทรรศน์), 27 ม..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และโกวิท วัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

โก๊ะตี๋ อารามบอย

ริญพร อ่อนละม้าย (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2523) ชื่อในการแสดงว่า โก๊ะตี๋ อารามบอย หรือเดิมใช้ว่า โก๊ะตี๋ ผีน่ารัก เป็นนักแสดงชาวจังหวัดอ่างทอง จุดเด่นคือรูปร่างอ้วนและเหมือนเด็ก แทนตัวเองว่า "หนู" มีผลงานการแสดงหลายด้าน ทั้งตลก ภาพยนตร์ และละคร นอกจากนี้ ยังเป็นนักธุรกิจแอมเวย์ระดับแพลตินัมสองผู้สถาปน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และโก๊ะตี๋ อารามบอย · ดูเพิ่มเติม »

เฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้

ฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้ หรือชื่อเดิม อชิตะ สิกขมานา, อชิตะ วุฒินันท์สุระสิทธิ์, อชิตะ ธนาศาสตนันท์, หนูอิมอิม ก้าวมหัศาจรรย์ ตามลำดับ ชื่อเล่นว่า อิม และเป็นที่รู้จักในชื่อ อิม อชิตะ (27 มีนาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไทย เฟี้ยวฟ้าวเกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรคนเล็กจากทั้งหมดสองคนของโชคชัย วุฒินันท์สุระสิทธิ์ กับชโรชินี สิกขมานา มารดาเป็นลูกครึ่งเนปาลกับพม่า พี่ชายชื่อฟ้าว์เฟี้ยว สุดสวิงริงโก้ (ชื่อเดิม อิชยะ สิกขมานา) จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และศึกษาต่อที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เริ่มเข้าสู่วงการจากการประกวดดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล ได้รองอันดับ 1 ดัชชี่เกิร์ลปี 2001.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสุดท้าย

ลงสุดท้าย เป็นภาพยนตร์ไทย จากบทประพันธ์เรื่องของ วรรณิศา กำกับโดย พิศาล อัครเศรณี เข้าฉายเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย สาวประเภทสอง "สมหญิง ดาวราย" นางโชว์ดาวเด่นชื่อดังจากทิฟฟานีโชว์ พัทยา ร่วมกับ บิณฑ์ บันลือฤทธิ์, วรรณิศา ศรีวิเชียร,จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา,ชลิต เฟื่องอารมย์ และ เหี่ยวฟ้า เพลงประกอบชื่อ เพลงสุดท้าย ร้องโดย สุดา ชื่นบาน (แทนเสียง สมหญิง ดาวราย) ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นเดียวกับภาพยนตร์ จนมีภาคสอง ชื่อ รักทรมาน นำแสดงโดย สมหญิง อีกครั้ง ในบท สมนึก น้องชายของสมหญิงที่ตายไป กลับไปล่อลวงให้พระเอกต้องผิดหวังบ้าง ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2530 ต่อมาสร้างภาคแรกใหม่อีกครั้ง เข้าฉายเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2549 นำแสดงโดย อารยา อริยะวัฒนา, วชรกรณ์ ไวยศิลป์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สุมนต์รัตน์ วัฒนาเศลารัตต์, เจริญพร อ่อนละม้าย และ เหี่ยวฟ้า เรื่องราวของ สาวประเภทสอง ที่ผิดหวังในความรักจากชายหนุ่ม และเธอได้เลือกที่จะจบชีวิตลงบนเวทีที่ทำให้เธอเกิดในโลกของการแสดง ด้วยบทเพลงสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเพลงสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง

กรียงศักดิ์ เหรียญทอง เป็น นักพากย์ เคยเป็นนักพากย์หนังกลางแปลงมาก่อน จนได้รับการชักชวนจากชูชาติ อินทร ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าทีมพากย์อินทรีให้มาพากย์หนังกับทีม จนได้มีโอกาสพากย์หนังที่ฉายในโรงและหนังในรูปแบบวิดีโอ จากนั้นก็ไปพากย์หนังกับทีมพากย์พันธมิตร ปัจจุบันเป็นนักพากย์อิสระ (freelance) เคยพากย์เสียงภาพยนตร์มานานหลายปี โดยเฉพาะเป็นผู้ให้เสียงของ อู๋ ม่งต๊ะ ในภาพยนตร์ตลกของ โจว ซิงฉือ หนังสือพิมพ์สยามดารา นอกจากนี้ บทบาทสำคัญที่มีชื่อเสียง คือ การพากย์เป็น ดาร์ธ เวเดอร์ ในภาพยนตร์ชุด สตาร์ วอร์ส และ แกนดาล์ฟ ใน ภาพยนตร์ไตรภาคเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ และ แม็กนีโต ใน X-Men และอีกหลายเรื่อง เช่น พากย์เป็น โรมัน เพียซ ใน เร็วแรงทะลุนรก พากย์เป็น นิค ฟิวรี่ ใน ดิ อเวนเจอร์ส เกรียงศักดิ์เริ่มมีผลงานแสดงภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2549 จากการชักชวนโดย วิทยา ทองอยู่ยง ซึ่งชื่นชอบบทบาทการพากย์เสียงอู๋ ม่งต๊ะ ของเกรียงศักดิ์ให้มารับบท "อู๋" แฟนพันธุ์แท้ของวงดนตรีพอสซิเบิ้ล ในภาพยนตร์เรื่อง เก๋า..เก๋า ซึ่งบทบาทนี้ทำให้เข้าได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง รางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม จากทั้ง 3 สถาบันหลัก คือ รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ และ รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง และคว้ารางวัลนี้ไปจาก Starpics Thai Film Awards.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเกรียงศักดิ์ เหรียญทอง · ดูเพิ่มเติม »

เก๋า..เก๋า

ก๋..เก๋า เป็นภาพยนตร์ไทยแนวมิวสิคัล/ดราม่า/คอมเมดี้ เรื่องราวของ วงดนตรีชื่อดังแห่งยุคทศวรรษ 1970 ที่ถูก อุปกรณ์วิเศษคล้ายไมโครโฟน พาข้ามผ่านยุคสมัย มาปรากฏตัวในยุคปัจจุบัน พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย วิทยา ทองอยู่ยง และเข้าฉาย ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเก๋า..เก๋า · ดูเพิ่มเติม »

เด็กหอ

็กหอ เป็นภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ เข้าฉาย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 กำกับโดย ทรงยศ สุขมากอนันต์ โดย จีทีเอช และ ฟีโนมีน่า โมชั่น พิคเจอร์ สร้างจากเรื่องเล่าที่เคยได้ยินมาขณะเรียนอยู่ที่ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีร.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเด็กหอ · ดูเพิ่มเติม »

เปนชู้กับผี

ปนชู้กับผี เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่องที่ 3 ของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และเป็นผลงานเรื่องแรกซึ่งวิศิษฏ์ให้ผู้อื่นเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ให้ นั่นคือ ก้องเกียรติ โขมศิริ หนึ่งใน "โรนินทีม" ซึ่งกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ลองของ".

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเปนชู้กับผี · ดูเพิ่มเติม »

เป็นเอก รัตนเรือง

ป็นเอก รัตนเรือง (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2505 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นผู้กำกับและนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย เติบโตมาจากวงการกำกับภาพยนตร์โฆษณา เป็นเอกเป็นที่รู้จักมากที่สุดจากภาพยนตร์ เรื่องรัก น้อยนิด มหาศาล และจัดว่าเป็นหนึ่งในคนทำหนังคลื่นลูกใหม่ ร่วมกับ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล โดยในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และเป็นเอก รัตนเรือง · ดูเพิ่มเติม »

13 เกมสยอง

13 เกมสยอง (ชื่ออังกฤษ: 13 Beloved) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวระทึกขวัญ ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2549 กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย กฤษดา สุโกศล, อชิตะ สิกขมานา, ศรัณยู วงษ์กระจ่าง และ อเล็กซานเดอร์ ไซมอน เรนเดลล์ 13 เกมสยอง เป็นภาพยนตร์ที่ดัดแปลงจากเรื่อง "13th Quiz Show" ซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือการ์ตูน "รวมเรื่องสั้นจิตหลุด" (My Mania) ของ เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ นักเขียนการ์ตูนชาวไทย สำหรับรางวัลที่ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับคือ รางวัลสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม โดย กฤษดา สุโกศล จากรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี 2549 มีการสร้างภาพยนตร์ภาคก่อนหน้าของ 13 เกมสยอง เป็นหนังสั้น ชื่อเรื่อง 11 (หรือ Earthcore), 12 Begin และภาคต่อ ชื่อเรื่อง 14 Beyond ภาพยนตร์ได้รับการซื้อลิขสิทธิ์ไปสร้างภาพยนตร์ฮอลลีวูด ชื่อเรื่อง 13 Sins กำกับโดย แดเนียล สแตมม์ ผู้กำกับชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และ13 เกมสยอง · ดูเพิ่มเติม »

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549และ23 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 36รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 38

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »