โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐเกอดะฮ์

ดัชนี รัฐเกอดะฮ์

กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.

108 ความสัมพันธ์: บริติชมาลายาชังลุนชายแดนมาเลเซีย-ไทยบูกิตกายูฮีตัมพ.ศ. 2451พม่าเชื้อสายมลายูพรรษชล สุปรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)พันธมิตรประชาชนกบฏหวันหมาดหลีการสงครามสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีภาษากินตักภาษามลายูบางกอกภาษามลายูเกอดะฮ์ภาษาซาไกภาษาไทยถิ่นใต้มะโย่งมาลายามาฮาดีร์ บิน โมฮามัดมาเรียม จงมาเลเซียตะวันตกมาเลเซียเชื้อสายไทยมณฑลนครศรีธรรมราชมณฑลเทศาภิบาลรัฐปะลิสรัฐปีนังรัฐและดินแดนสหพันธ์ของประเทศมาเลเซียรัฐในอารักขารัฐเปรักรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในประเทศมาเลเซียรายชื่อเขตการปกครองรายพระนามพระมหากษัตริย์มาเลเซียรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลรายา ประไหมสุหรี อากงละก์ซาวัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี)ศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซียสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสะพานลังกาวีสกายสุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุนสุลต่านบาดิร ชาฮ์สุลต่านมูฮัมหมัด จีวา ไซนัล อาดิลีนที่ 2สุลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 1สุลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 2...สุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์สุลต่านอับดุลเลาะห์ มุดซัม ชาห์ แห่งรัฐเกดะห์สุลต่านอับดุลเลาะห์ มูคาร์ราม ชาห์สุลต่านอัดอัลเลาะห์ มูฮัมหมัด ชาห์ที่ 2สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน มูคาร์ราม ชาห์สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 1สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2สุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์สุลต่านไซนัล ราซิด มุดซัม ชาห์ที่ 2สุลต่านไซนัล ราซิด อัลมุดซัม ชาห์ที่ 1สี่รัฐมาลัยสนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452หลวงปู่ทวดอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรตามพรลิงค์อาโลร์เซอตาร์อำเภอบันนังสตาอำเภอกาบังอำเภอยะหาอำเภอสะบ้าย้อยอำเภอสะเดาอำเภอหาดใหญ่อำเภอธารโตอำเภอนาทวีอำเภอเบตงอูรักลาโว้ยจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนนทบุรีธงชาติมาเลเซียถนนเพชรเกษมทางหลวงสหพันธ์มาเลเซียหมายเลข 1ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือทำเนียบหัวเมืองท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวีความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรีตราแผ่นดินของมาเลเซียตวนกู ซารา ซาลิมตำบลบาโงยซิแนตุนกู อับดุล ระฮ์มันต้นไม้เงินต้นไม้ทองซาไกซูไงเปอตานีประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ตประเทศไทยใน พ.ศ. 2451นกยูงไทยนาซัมแอ ม่วงดีโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โทรเลขไทยใต้เกาะลังกาวีเกาะลิบงเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)เทศบาลเมืองเบตงเนื่อง นนทนาคร ขยายดัชนี (58 มากกว่า) »

บริติชมาลายา

ริติชมาลายา (British Malaya) เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มของรัฐบนคาบสมุทรมาเลย์และเกาะสิงคโปร์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของอังกฤษระหว่างพุทธศตวรรษที่ 23 – 25 ซึ่งต่างจากบริติชอินเดียซึ่งไม่รวมรัฐราชบุตรของอินเดีย บริติชมลายามักใช้กล่าวถึงรัฐมาเลย์ที่ถูกอังกฤษควบคุมโดยอ้อม เช่นเดียวกับอาณานิคมช่องแคบที่อังกฤษปกครองโดยตรง ก่อนการจัดตั้ง สหภาพมลายาใน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และบริติชมาลายา · ดูเพิ่มเติม »

ชังลุน

ังลุน หรือ จังโหลน (Changlun) เป็นเมืองขนาดเล็กที่อยู่ในเขตกูบังปาซู ทางทิศเหนือของรัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ใกล้เมืองบูกิตกายูฮีตัมซึ่งเป็นเมืองชายแดนติดกับด่านจังโหลน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลาของประเทศไทย มีประชากรประมาณ 1,506 คน (พ.ศ. 2549) ชื่อเมือง ชังลุน มาจากภาษาไทยคำว่า ช้างหล่น.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และชังลุน · ดูเพิ่มเติม »

ชายแดนมาเลเซีย-ไทย

นตรวจคนเข้าเมืองช่องสะเดา ถ่ายจากฝั่งมาเลเซีย (เกอดะฮ์) พรมแดนมาเลเซีย-ไทย มีทั้งชายแดนระหว่างประเทศทั้งบนบกผ่านคาบสมุทรมลายู และทางน้ำทางช่องแคบมะละกา รวมไปถึง อ่าวไทย/ทะเลจีนใต้ มาเลเซียทอดตัวอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศไทย มีแม่น้ำโก-ลกเป็นพรมแดนระหว่างประเทศ ที่มีความยาวประมาณ 95 กิโลเมตรกั้นประเทศไทยและมาเลเซีย โดยประเทศไทยอยู่ทางเหนือ และประเทศมาเลเซียอยู่ทางใต้ พรมแดนระหว่างประเทศนี้ได้ใช้ร่วมกันมาตั้งแต่ 1909 ระหว่างไทย (ซึ่งในตอนนั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่าสยาม) กับอังกฤษซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาทในตอนเหนือของมาเลเซีย ซึ่งก็คือ เกอดะฮ์ (ไทรบุรี) กลันตัน ปะลิส และตรังกานูในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในสมัยก่อนทั้งสี่รัฐนี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของสยามมาก่อน และเป็นรัฐพรมแดนระหว่างประเทศของมาเลเซีย ซึ่งได้แก่ (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) ปะลิส เกอดะฮ์ เประก์ และกลันตัน กับ 4 จังหวัดพรมแดนระหว่างประเทศของไทย (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) คือ จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และชายแดนมาเลเซีย-ไทย · ดูเพิ่มเติม »

บูกิตกายูฮีตัม

ูกิตกายูฮีตัม (Bukit Kayu Hitam "ภูเขาไม้ดำ") เมืองหนึ่งของรัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางตอนบนของประเทศใกล้กับเมืองจังโหลน และติดกับชายแดนไทยด่านจังโหลน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บูกิตกายูฮีตัม เป็นจุดสิ้นสุดของทางด่วนพิเศษเหนือ-ใต้ในมาเลเซีย ซึ่งจุดเริ่มต้นของถนนสายดังกล่าวอยู่ที่เมืองยะโฮร์บาห์รู รัฐยะโฮร์ทางใต้ของประเทศ อย่างไรก็ตามทางด่วนพิเศษเหนือ-ใต้ในบูกิตกายูฮีตัมก็เชื่อมต่อเข้ากับถนนเพชรเกษมของไทย และสามารถเดินทางต่อมายังกรุงเทพมหานครได้.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และบูกิตกายูฮีตัม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายมลายู

วพม่าเชื้อสายมลายู หรือ ปะซู กลุ่มชาติพันธุ์ที่สำคัญกลุ่มหนึ่งที่กระจายตัวลงมาตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของหมู่เกาะมะริดในเขตแดนของเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพม่าเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

พรรษชล สุปรีย์

รรษชล สุปรีย์ เกิด 29 มีนาคม 2525 ศึกษาที่ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะมนุษยศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 เป็นนักแสดงสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ชีวิตส่วนตัวแต่งงานแล้ว กับแฟนหนุ่มนอกวงการ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพรรษชล สุปรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)

ระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน) เกิดในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) ท่านถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาขณะอายุเพียง 13 -14 ปี ต่อมาได้บวชเป็นสามเณรเรียนวิชาไสยศาสตร์กับอาจารย์ชาวเขมร อยู่พม่า 7 ปี จนอายุ 19 ปีจึงหนีกลับเข้าไทยทางแม่สอดไปหาบิดาที่ขณะนั้นไปราชการทัพที่เชียงใหม่และเชียงแสน เมื่อกลับมา ท่านได้เรียนวิชาทางศาสนาอิสลามใหม่ และได้เข้ารับราชการในกรมทหารอาทมาตในสมัยรัชกาลที่ 1 ในสมัยรัชกาลที่ 2ได้เป็นหลวงภักดีสุนทร ได้ร่วมรบในสงครามตีเมืองถลางและไทรบุรี เมื่อเสร็จศึกได้เป็นพระยาวรเชษฐ์ภักดีศรีวรข่าน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจุฬาราชมนตรี ถึงแก่อนิจกรรมในสมัยรัชกาลที่ 3 ท่านมีชื่อทางศาสนาอิสลามว่า อามิรระชามุฮัมหมัด สมรสกับคุณหญิงนก มีบุตรธิดา 4 คน ถึงแก่อสัญกรรมในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 3.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน) · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชน

ันธมิตรประชาชน หรือ ปากาตันระก์ยัต (Pakatan Rakyat, ڤاكتن رعية; மக்கள் கூட்டணீ; 人民联盟) เป็นแนวร่วมอย่างไม่เป็นทางการของพรรคการเมืองในมาเลเซีย ในปัจจุบันได้ควบคุมรัฐบาลระดับรัฐ 4 รัฐคือ กลันตัน เกอดะฮ์ ปีนัง และเซอลาโงร์ โดยต่อต้านแนวร่วมแห่งชาติในระดับสหพันธ์ แนวร่วมนี้ก่อตั้งโดยพรรคความยุติธรรมประชาชน พรรคกิจกรรมประชาธิปไตยและพรรคปาส เมื่อ 1 เมษายน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และพันธมิตรประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏหวันหมาดหลี

กบฏหวันหมาดหลี เป็นเหตุการณ์กบฏที่เกิดที่หัวเมืองปักษ์ใต้ รัชสมัยของรัชกาลที่ 3 เมื่อปีระกา นพศก..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และกบฏหวันหมาดหลี · ดูเพิ่มเติม »

การสงครามสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

ระราชกรณียกิจหลักในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้แก่ การทำสงคราม เพื่อรวบรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่น ขับไล่ทหารพม่าออกจากราชอาณาจักร และขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และการสงครามสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากินตัก

ษากินตัก (Kintaq) หรือภาษาเกินตา ภาษาบอง มีผู้พูดในมาเลเซีย 220 คน (พ.ศ. 2546) ตามแนวชายแดนระหว่างรัฐเกอดะฮ์กับรัฐเประก์ แนวชายแดนไทย และบางส่วนในบริเวณทางใต้ของจังหวัดยะลา คาดว่ามีผู้พูดภาษานี้ในประเทศไทยแต่ไม่ทราบจำนวน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขาอัสเลียน สาขาย่อยอัสเลียนเหนือ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และภาษากินตัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูบางกอก

ษามลายูบางกอก หรือ ภาษามลายูกรุงเทพ (อักษรยาวี: بڠكوق ملايو; บาซอนายูบาเกาะ) เป็นภาษามลายูถิ่นที่ใช้พูดกันในชุมชนชาวไทยเชื้อสายมลายูที่พำนักบริเวณชานเมืองของกรุงเทพมหานคร บ้างก็เป็นชนที่อาศัยมาแต่เดิม บ้างก็เป็นกลุ่มที่ถูกกวาดต้อนขึ้นภาคกลางของไทยช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีผู้ใช้ภาษามลายูบางกอกไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนประชากรเชื้อสายมลายูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี และมีจำนวนมากที่หันมาใช้ภาษาไทยมาตรฐาน.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และภาษามลายูบางกอก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูเกอดะฮ์

ษามลายูเกอดะฮ์, ภาษามลายูไทรบุรี หรือ ภาษามลายูสตูล (Bahasa Melayu Kedah) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษามลายู ใช้พูดในทางภาคตะวันตกของมาเลเซีย ได้แก่ รัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี) รัฐปีนัง รัฐปะลิส และทางตอนเหนือของรัฐเประก์ ในประเทศไทยมีผู้พูดในจังหวัดสตูล บางส่วนของจังหวัดตรังและระนอง ข้ามไปยังเขตเขตเกาะสองของประเทศพม่า และยังพบว่ามีการพูดบางพื้นที่ทางตอนบนของเกาะสุมาตรา ของประเทศอินโดนีเซียด้ว.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และภาษามลายูเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาไก

ษาซาไก (Kensiu) หรือภาษาเกนซีอู ภาษาโอรัง บูกิต ภาษาโมนิก ภาษาเมนดี มีผู้พูดทั้งหมด 3,300 คน พบในมาเลเซีย 3,000 คน (พ.ศ. 2527) ในบริเวณตอนเหนือของรัฐเกดะห์ใกล้กับชายแดนไทย พบในไทย 300 คน ทางใต้ของจังหวัดยะลา พัทลุง สตูล นราธิวาส ตามแนวชายแดนมาเลเซีย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขาอัสเลียน สาขาย่อยอัสเลียนเหนือ มีคำยืมจากภาษามลายูปะปนอยู่มากเช่น ปะยง (พระจันทร์, ภาษามลายูหมายถึงร่ม) ตาโก๊ะ (เสือ, ภาษามลายูหมายถึงกลัว) ชาวซาไกที่ติดต่อกับคนไทยรับคำยืมจากภาษาไทยด้วยเช่นเดียวกัน ภาษาซาไกมีเสียงนาสิกแต่ไม่มีเสียงควบกล้ำและเสียงวรรณยุกต์ เป็นภาษาคำโดด มีลักษณะของภาษาคำติดต่ออยู่บ้างแต่ไม่มากนัก.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และภาษาซาไก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นใต้

ษาไทยถิ่นใต้ หรือ ภาษาตามโพร (Dambro) เป็นภาษาถิ่น ที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14 จังหวัด และตอนล่างของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อีกทั้งบางหมู่บ้าน ในรัฐกลันตัน, รัฐปะลิส, รัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี), รัฐเประก์ และรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย รวมถึงบางหมู่บ้าน ในเขตตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่าด้วย ภาษาไทยถิ่นใต้ มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และภาษาไทยถิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

มะโย่ง

การแสดงมะโย่งของชาวอำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มะโย่ง หรือ เมาะโย่ง (รูมี: Mak Yong, Mak Yung) เป็นการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยเชื้อสายมลายูในแถบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และบางส่วนของจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ยังมีการแสดงมะโย่งใน รัฐกลันตัน รัฐตรังกานู รัฐเกดะห์ และรัฐปะลิส ในประเทศมาเลเซีย และหมู่เกาะริเยา ในประเทศอินโดนีเซีย โดยการแสดงมะโย่ง เป็นศิลปะการร่ายรำที่ผสมผสานทางพิธีกรรม ความเชื่อ การละคร นาฏศิลป์ และดนตรีเข้าด้วยกัน ปัจจุบันการแสดงมะโย่งกำลังขาดผู้สืบทอด ในมาเลเซียมะโย่งเป็นการแสดงที่ถูกห้ามโดยพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย เพราะความที่แฝงความเชื่องของลัทธิวิญญาณนิยม (animism) และรากเหง้าความเชื่อฮินดู-พุทธดั้งเดิมของชาวมลายู ก่อนที่จะเปลี่ยนไปนับถืออิสลาม นอกจากนี้การเข้ามาของสื่อวิทยุโทรทัศน์ก็ทำให้การแสดงมะโย่งหมดความสำคัญลงไป อย่างไรก็ตามประเทศไทยได้เล็งเห็นความสำคัญของการแสดงมะโย่งในฐานะศิลปะพื้นบ้านของชาวไทยมลายู ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลาจึงได้มีการฟื้นฟู และให้นักศึกษาได้ศึกษาและค้นหาความรู้และค้นหาความรู้ เพื่อนำมาปฏิบัติจริง โดย มะโย่ง หรือ เมาะโย่ง มีลีลาคล้ายคลึงกับมโนราห์มาก แสดงเพื่อความบันเทิง และเพื่อใช้แก้บนหรือสะเดาะเคราะห์ ในปี..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมะโย่ง · ดูเพิ่มเติม »

มาลายา

มาลายา หรือบางครั้งสะกดว่า มลายา (Malaya) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมาลายา · ดูเพิ่มเติม »

มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด

ตุน ดกโตร์ มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด (Tun Dr.) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของประเทศมาเลเซีย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง ได้แก่ กระทรวงการคลัง, มหาดไทย, กลาโหม, การค้าและอุตสาหกรรม และศึกษาธิการ เขาชนะการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศมาเลเซีย พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียม จง

ลดีมาเรียม จง อับดุลละห์ (Lady Meriam Chong Abdullah) หรือ จง อาเหมย (Chong Ah Mei) หรือที่รู้จักกันในชื่อมาเรียม อับดุลละห์ (Mariam Abdullah) ภรรยาคนแรกของตนกู อับดุล ระห์มัน นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย เลดีมาเรียมเป็นลูกสาวเจ้าของเหมืองชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีอิทธิพลในฝั่งไทย ชื่อ จง อาหยง (Chong Ah Yong) เธอมีเชื้อสายไทย แต่เธอเปลี่ยนมานับศาสนาอิสลาม เมื่อแต่งงานกับตนกู อับดุล ระห์มัน เมื่อ ค.ศ. 1933 เลดีมาเรียมได้รับการคัดเลือกจากหม่อมเนื่อง นนทนาคร (Che Menjalara) มารดาของตนกู อับดุล ระห์มันให้เป็นเจ้าสาว ซึ่งมารดาของตนกู อับดุล ระห์มันมีเชื้อสายไทย ตามรายงานที่ปรากฏกล่าวว่า คุณเนื่อง นนทนาครบังคับให้แต่งงานกับตนกู ซึ่งตนกูปฏิเสธมาโดยตลอด อย่างไรก็ตามพวกเขาได้แต่งงานตามประเพณีหลวงที่วังหลวงของเกอดะฮ์ หลังจากที่แต่งงานกัน ก็ได้ให้กำเนิดบุตร 2 คน ได้แก่ ตนกู คอดิยะห์ และตนกู อะห์มัด-นรัง โชคร้ายในปี ค.ศ. 1935 30 วันหลังจากที่ให้กำเนิดบุตรคนที่สอง ตนกู อะห์มัด-นรัง มาเรียมก็เสียชีวิตด้วยโรคมาลาเรี.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมาเรียม จง · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียตะวันตก

มาเลเซียตะวันตก (Semenanjung Malaysia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของมาเลเซีย ซึ่งตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายูโดยมีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยทางเหนือ และติดต่อกับสิงคโปร์ทางใต้โดยมีช่องแคบยะโฮร์กั้นอยู่ ทางตะวันตกจรดกับช่องแคบมะละกาและทางตะวันออกจรดกับทะเลจีนใต้ มาเลเซียตะวันตกยังเป็นดินแดนส่วนแรกที่รวมตัวกันเป็นสหภาพมาลายา ก่อนที่มาเลเซียตะวันออกและสิงคโปร์จะเข้าร่วมและกลายเป็นสหพันธรัฐมาลายาในเวลาต่อมา (และภายหลังสิงคโปร์ก็แยกดินแดนออกไปตั้งรัฐของตนเอง).

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมาเลเซียตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียเชื้อสายไทย

วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมาเลเซียเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลนครศรีธรรมราช

มณฑลนครศรีธรรมราช (มณฑลปักใต้).

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมณฑลนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปะลิส

ปะลิส หรือเดิมสะกดว่า ปลิศ หรือ เปอร์ลิศ (Perlis, ยาวี: فرليس) มีชื่อเต็มคือ เปอร์ลิซอินเดอรากายางัน (Perlis Indera Kayangan; ยาวี: ڤرليس ايندرا كايڠن) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในมาเลเซีย อยู่ทางตอนเหนือสุดของมาเลเซียตะวันตก และติดชายแดนประเทศไทย ประชากรของรัฐมีจำนวน 198,335 คน ในปี 2543 ในจำนวนนี้เป็นชาวมลายูประมาณ 166,200 คนหรือร้อยละ 78, ชาวจีน 24,000 คนหรือร้อยละ 17, ชาวอินเดีย 3,700 คน และอื่น ๆ 5,400 คน) เมืองหลวงของรัฐปะลิสคือ กังการ์ เมืองที่เป็นที่ประทับของเจ้าผู้ครองนครคืออาเรา นอกจากนี้เมืองการค้าสำคัญบริเวณชายไทย-มาเลเซียคือปาดังเบซาร์ ส่วนเมืองท่าของรัฐซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐคือกัวลาปะล.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรัฐปะลิส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปีนัง

ปูเลาปีนัง (Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมลายูรุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวล.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรัฐปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐและดินแดนสหพันธ์ของประเทศมาเลเซีย

รัฐและดินแดนสหพันธ์ของประเทศมาเลเซีย เป็นการแบ่งเขตการปกครองของประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศสหพันธ์รัฐ ประกอบไปด้วยรัฐ (Negeri) 13 แห่ง และดินแดนสหพันธ์ (Wilayah Persekutuan) 3 แห่ง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรัฐและดินแดนสหพันธ์ของประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเปรัก

ปรัก หรือ เประก์ (Perak, อักษรยาวี: ڨيرق) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นประเทศมาเลเซีย มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองบนมาเลเซียตะวันตก ติดต่อกับรัฐเกอดะฮ์และจังหวัดยะลาของประเทศไทยทางทิศเหนือ รัฐปีนังทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐกลันตันและรัฐปะหังทางทิศตะวันออก รัฐเซอลาโงร์ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกจรดช่องแคบมะละกา "เปรัก" (Perak) ในภาษามลายูหมายถึงเงิน ซึ่งน่าจะมาจากสีเงินของแร่ดีบุก แต่บางคนก็ว่าชื่อของรัฐมาจาก "แสงวิบวับของปลาในน้ำ" ซึ่งส่องเป็นประกายเหมือนเงิน ส่วนชื่อเฉลิมเมืองในภาษาอาหรับคือ ดารุลริฎวาน ("ดินแดนแห่งความสง่างาม") เกาะปังกอร์เป็นเกาะเล็ก ๆ ใกล้ชายฝั่ง มีกิจกรรมท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น การดำน้ำ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรัฐเปรัก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศมาเลเซีย

ตารางต่อไปนี้แสดงภาพธงชนิดต่างๆ ที่ใช้ในประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายชื่อธงในประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์มาเลเซีย

ังดีเปอร์ตวนอากง (Yang di-Pertuan Agong, يڠ د-ڤرتوان اڬوڠ; ยังดีเปร์ตูวันอากง) ในภาษามลายู หมายถึง ผู้ปกครองสูงสุด เป็นตำแหน่งอย่างเป็นทางการของประมุขแห่งรัฐของมาเลเซีย เปรียบเทียบได้กับพระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมาจากเจ้าผู้ครองรัฐทั้ง 9 รัฐในมาเลเซียตะวันตก จากทั้งหมด 13 รัฐของมาเลเซีย ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี และหมุนเวียนกันไปตามลำดับ พระอัครมเหสีในยังดีเปอร์ตวนอากง มีตำแหน่งเรียกว่า รายา ประไหมสุหรี อากง (Raja Permaisuri Agong, راج ڤرماءيسوري اڬوڠ; ราจาเปร์ไมซูรีอากง).

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายพระนามพระมหากษัตริย์มาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล ซึ่งเรียงลำดับพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย์ 60 ปีขึ้นไปตามรัชกาล.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายา ประไหมสุหรี อากง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และรายา ประไหมสุหรี อากง · ดูเพิ่มเติม »

ละก์ซา

ละก์ซา (laksa) หรือที่ในภาษามลายูปัตตานีเรียกว่า ละซอ (ออกเสียง) เป็นอาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวรสเผ็ดของชาวเปอรานากัน อันเป็นการผสมผลานระหว่างวัฒนธรรมจีนและมลายูในประเทศมาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย รวมทั้งทางใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และละก์ซา · ดูเพิ่มเติม »

วัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี)

วัดราษฎร์บูรณะ เดิมชื่อ วัดช้างให้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ตามพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอน 15 หน้า 451 - 252 เขตวิสุงคามสีมา ยาว 80 เมตร กว้าง 40 เมตร เนื้อที่จำนวน 12 ไร่ ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันเสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และวัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซีย

อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย แต่ต่อมาเมื่อศาสนาอิสลามได้เข้ามาแพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 20 ในรัชสมัยของพระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทำให้พุทธศาสนาหมดความสำคัญไป ในระยะเวลาหนึ่ง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์

ลต่าน อัลมูตัสสิมู บิลลาฮี มูฮิบบุดดิน ตวนกู อัลฮัจญ์ อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ อิบนี อัลมาฮูม สุลต่านบาดิร ชาฮ์ ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซียลำดับที่ 5 และ 14 และอดีตสุลต่านแห่งรัฐเกอ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานลังกาวีสกาย

thumb สะพานลังกาวีสกาย (อังกฤษ: Langkawi Sky Bridge) ตั้งอยู่ที่ เกาะลังกาวี รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2548 สะพานจะอยู่ในตำแหน่งสูงที่สุดของยอดเขาภูเลา สูงกว่าระดับน้ำทะเล 2,000 ฟุต ความยาว 125 เมตร สามารถเข้าถึงได้โดยบริการรถกระเช้าเคเบิลคาร์ มีทิวทัศน์งดงามมาก เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของเกาะลังกาวี หมวดหมู่:สะพานในประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสะพานลังกาวีสกาย · ดูเพิ่มเติม »

สุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน

มเด็จพระราชินีตวนกู สุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน (Sultanah Haminah Hamidun; ประสูติ: 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) เป็นรายาประไหมสุหรีอากงแห่งมาเลเซีย และสุลตานะห์แห่งรัฐเกอดะฮ์องค์ที่ 14.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านบาดิร ชาฮ์

ลต่าน บาดิร ชาฮ์ เป็นสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์ขึ้นครองราชย์เมื่อ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านบาดิร ชาฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านมูฮัมหมัด จีวา ไซนัล อาดิลีนที่ 2

สุลต่านมูฮัมหมัด จีวา ไซนัล อาลีดินที่ 2 เป็นสุลต่านองค์ที่ 19 แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์ก่อตั้งเมืองอลอร์สตาร์ พระองค์ครองราชย์ 68 ปี ยาวนานที่สุดในบรรดาสุลต่านมาเลเซีย นอกจากนี้พระองค์ยังซ่อมพระราชวังที่ถูกโจมตีโดยชาวบูกิส พระองค์เป็นบุตรของสุลต่านอับดุลเลาะห์ มุดซัม ชาห์ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเกอดะฮ์ หมวดหมู่:ราชวงศ์เกอดะฮ์.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านมูฮัมหมัด จีวา ไซนัล อาดิลีนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 1

ลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 1 เป็นสุลต่านองค์ที่ 7 ของรัฐเกอดะฮ์ พระองค์ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 2

ลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่2 พระองค์เป็นสุลต่านองค์ที่12แห่งรัฐเกดะห์พระองค์ครองราชย์ระหว่าง..1602-1625 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจากสุลต่านมุสซาฟาร์ ชาห์ที่2แห่งเกดะห์.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านสุไลยมาน ชาห์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์

ลต่าน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชาห์ เป็นสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ องค์ที่ 25 นับเป็นเจ้าเมืองไทรบุรีองค์สุดท้ายภายใต้การปกครองของสยาม.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอับดุลเลาะห์ มุดซัม ชาห์ แห่งรัฐเกดะห์

ลต่านอับดุลเลาะห์ มุดซัม ชาห์ แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์เป็นสุลต่านองค์ที่ 17 แห่งรัฐเกอดะฮ์พระองค์ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านอับดุลเลาะห์ มุดซัม ชาห์ แห่งรัฐเกดะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอับดุลเลาะห์ มูคาร์ราม ชาห์

ลต่านอับดุลเลาะห์ มูคาร์ราม ชาห์ พระองค์เป็นสุลต่านองค์ที่ 20 แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์มีภรรยาทั้งหมด 7 พระองค์ พระองค์ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านอับดุลเลาะห์ มูคาร์ราม ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอัดอัลเลาะห์ มูฮัมหมัด ชาห์ที่ 2

ลต่านอัดอัลเลาะห์ มูฮัมหมัด ชาห์ที่2 พระองค์เป็นสุลต่านองค์ที่16แห่งรัฐเกดะห์ พระองค์เป็นบุตรของสุลต่านดเซียดดิน มูคาร์ราม ชาห์ พระองค์ครองราชย์ระหว่าง..1687-..1698 พระองค์ครองราชย์ได้11ปี.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านอัดอัลเลาะห์ มูฮัมหมัด ชาห์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน มูคาร์ราม ชาห์

ลต่านฮะมัด ทาจุดดิน มูคาร์ราม ชาห์ เป็นสุลต่านองค์ที่ 23 แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์ขึ้นครองราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน มูคาร์ราม ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 1

ลต่านฮะม้ด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 1 เป็นสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์องค์ที่ 18 ครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2

ลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2 เป็นสุลต่านองค์ที่ 21 แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์ครองราชย์ระหว่าง1791-1843 ครองราชย์ได้ 26 ปี ในสมัยพระองค์สยามได้บุกยึดรัฐเกอดะฮ์ ชาวอาหรับเองก็จะช่วยสุลต่านเจรจากับสยาม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์

ลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ เริ่มต้นเมื่อปี ค.ศ. 960 โดยสุลต่านพระองค์ปัจจุบันคือ สุลต่านตวนกู มาห์มุด ซาเลฮุดดิน เสด็จขึ้นครองราชย์ เป็นสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2560 ภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ ต่อไปนี้คือรายพระนามสุลต่านแห่งรัฐเกอ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านไซนัล ราซิด มุดซัม ชาห์ที่ 2

ลค่านไซนัล ราซิด มุดซัม ชาห์ที่ 2 เป็นสุลต่านองที่ 24 แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์เกิดวันที่ 4 กันยายน 1857 พระครองราชย์ตั้งแต่ปี..1879-1881พระองค์ครองราชย์2ปี บิดาของพระองค์ ชื่อ สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน มูคาร์ราม ชาห์ พระองค์ถูกขังคุกอยู่ที่เมืองนครศรีธรรมราช พระองค์ถูกวางยาพิษและเสียชีวิตที่นั่น รวมอายุได้ 24 ปี หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเกอดะฮ์ หมวดหมู่:ราชวงศ์เกอดะฮ์.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านไซนัล ราซิด มุดซัม ชาห์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านไซนัล ราซิด อัลมุดซัม ชาห์ที่ 1

ลต่านไซนัล ราซิด อัลมุดซัม ชาห์ที่ 1 เป็นสุลต่านองค์ที่ 22 ของรัฐเกอดะฮ์ ครองราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสุลต่านไซนัล ราซิด อัลมุดซัม ชาห์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สี่รัฐมาลัย

ี่รัฐมาลัย หรือสะกดว่า 4 รัถมาลัย คืออดีตเขตการปกครองหนึ่งที่เคยเป็นของประเทศไทย อันประกอบด้วยรัฐกลันตัน, ตรังกานู, ไทรบุรี และปะลิส ซึ่งปัจจุบันทั้งหมดตั้งอยู่ทางตอนเหนือในอธิปไตยของประเทศมาเลเซีย เมื่อเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาเกิดขึ้น ไทยได้รับดินแดนส่วนนี้คืนจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ได้ลงนามยอมรับว่าดินแดนส่วนนี้เป็นของไทย (ส่งมอบวันที่ 20 สิงหาคม) รัฐมาลัยที่อังกฤษเคยแย่งชิงไปจากไทยจึงตกมาอยู่ในครอบครองของไทยอีกครั้ง รัฐบาลไทยได้ส่งข้าหลวงใหญ่ทหารไปประจำทุกรัฐในสี่รัฐมาลัย โดยขึ้นตรงต่อผู้บังคับบัญชาการทหารสูงสุด หลังสิ้นสุดสงครามไทยต้องส่งมอบดินแดนส่วนนี้คืนอังกฤษ โดยข้าหลวงใหญ่ประจำสี่รัฐมาลัยได้ทำพิธีมอบสี่รัฐมาลัยคืนให้กับฝ่ายทหารอังกฤษ เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2488 1 มกราคม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสี่รัฐมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452

นธิสัญญาอังกฤษ–สยาม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และสนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ทวด

thumb หลวงปู่ทวด (หรือ สมเด็จเจ้าพะโคะ, หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลจืด, สมเด็จเจ้าพระราชมุนีสามีรามคุณูปรมาจารย์) เป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทยจากตำนานท้องถิ่นซึ่งยังไม่ปรากฏหลักฐานในทางประวัติศาสตร์ยืนยันความมีอยู่จริง ประวัติที่พิมพ์เผยแพร่กล่าวว่าท่านเป็นพระเกจิอาจารย์รูปสำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้ที่ศรัทธาในหลวงปู่ทวดเชื่อกันว่าพระเครื่องที่สร้างเนื่องด้วยท่านจะมีอานุภาพสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครองผู้มีพระเครื่องหลวงปู่ทวดในครอบครอง ปัจจุบันหลวงปู่ทวดถือได้ว่าเป็นพระเกจิอาจารย์ในตำนานที่มีผู้ศรัทธาจำนวนมาก รูปสำคัญ 1 ใน 2 มหาเกจิอาจารย์ของเมืองไทย คู่กับ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) (หลวงปู่โต) ที่มีตัวตนจริง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และหลวงปู่ทวด · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรตามพรลิงค์

อาณาจักรตามพรลิงค์ (สันสกฤต: ตามฺพฺรลิงฺค; ताम्ब्रलिङ्ग) ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น อาณาจักรนครศรีธรรมราช นั้น เป็นอาณาจักรโบราณที่มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยพุทธศตวรรษที่ 7 มีศูนย์กลางอยู่ที่นครศรีธรรมราชในปัจจุบัน (อาจจะเป็นบริเวณบ้านท่าเรือ หรือบ้านพระเวียง) อยู่ทางด้านเหนือของอาณาจักรลังกาสุกะ (บริเวณปัตตานี) มีอาณาเขตทางตะวันออก และตะวันตกจรดทะเลอันดามันถึงบริเวณที่เรียกว่าทะเลนอก ซึ่งเป็นบริเวณจังหวัดกระบี่ในปัจจุบัน คำว่า "ตามพ" เป็นภาษาบาลี แปลว่า ทองแดง ส่วน "ลิงค์" เป็นเครื่องหมายบอกเพศ เขียนเป็นอักษรภาษาอังกฤษว่า Tambalinga หรือ Tanmaling หรือ Tamballinggam จีนเรียก ตันเหมยหลิง หรือโพ-ลิง หรือโฮลิง (แปลว่าหัวแดง) บางทีเรียกว่า เชียะโท้ว (แปลว่าดินแดง) อาณาจักรตามพรลิงค์ มีกษัตริย์สำคัญคือ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช และ พระเจ้าจันทรภาณุ อาณาจักรตามพรลิงค์นี้เป็นเส้นทางการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ไปยังอาณาจักรสุโขทัยและดินแดนทั่วแหลมมลายู เนื่องจากอาณาจักรตามพรลิงค์กับศรีลังกามีความสัมพันธ์แบบบ้านพี่เมืองน้องมาแต่สมัยโบราณ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอาณาจักรตามพรลิงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาโลร์เซอตาร์

อาโลร์เซอตาร์ (Alor Setar; ยาวี: الور ستار) เป็นเมืองหลวงของรัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี) และเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการของรัฐและมีรัฐมนตรีสูงสุด (Menteri Besar) เป็นผู้นำรัฐบาล ชื่อของรัฐนี้นั้นมีต้นกำเนิดมาจากคำว่า “Alor” (สายน้ำเล็ก ๆ) และ “Setar” (มะปราง) ด้วยคุณลักษณะที่ผสมผสานกันของความเป็นชนบทและอารยธรรม ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่สอดคล้องกันอย่างลงตัว หมวดหมู่:รัฐเกอดะฮ์ หมวดหมู่:เมืองในประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอาโลร์เซอตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบันนังสตา

ันนังสตา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยะล.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอบันนังสตา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกาบัง

กาบัง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา ทางภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอกาบัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะหา

หา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย อนึ่งคำว่า "ยะหา" (Johar, Juar) เป็นคำในภาษามลายู แปลว่า "ต้นขี้เหล็ก".

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอยะหา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสะบ้าย้อย

อำเภอสะบ้าย้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ได้ปรากฏหลักฐานเอกสารราชการครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอสะบ้าย้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสะเดา

อำเภอสะเดา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และเป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งของชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยมีด่านพรมแดนที่สำคัญถึง 2 ด่าน คือ พรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐเกดะห์) (ด่านสะเดา) และพรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐปะลิส) (ด่านปาดังเบซาร์) นอกจากนี้สะเดายังเปรียบเสมือนประตูสู่ประเทศไทยของชาวมาเลเซียและสิงคโปร.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธารโต

รโต ตั้งอยู่ในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอธารโต · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาทวี

นาทวี เป็นอำเภอในจังหวัดสงขลา แยกมาเป็นกิ่งอำเภอจากหัวเมืองจะนะ และตั้งเป็นอำเภอนาทวี เมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นที่ตั้งของศาลจังหวัดนาทวีที่มีพื้นที่อำนาจศาลครอบคลุมอำเภอนาทวี สะเดา สะบ้าย้อย เทพา และจะนะ โดยพื้นที่ดังกล่าวยังเคยมีการพิจารณาจัดตั้งเป็น จังหวัดนาทวี อีกด้ว.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอนาทวี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเบตง

ตง เป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่ในจังหวัดยะลา นับเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไทย โดยมีลักษณะเป็นหัวหอกยื่นเข้าไปในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในแนวเทือกเขาสันกาลาคีรี มีเนื้อที่ประมาณ 1,328 ตารางกิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองยะลาประมาณ 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 1,220 กิโลเมตร ด้วยภูมิประเทศของอำเภอเบตงส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงจึงทำให้เบตงมีอากาศดี และมีหมอกตลอดปี ดังคำขวัญประจำอำเภอที่ว่า “เมืองในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน”.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอำเภอเบตง · ดูเพิ่มเติม »

อูรักลาโว้ย

อูรังลาโว้ย (Orang Laut) เป็นชาวเลกลุ่มใหญ่ที่มีถิ่นฐานบนเกาะสิเหร่ และที่หาดราไวย์ บ้านสะปำ จังหวัดภูเก็ต จนถึงทางใต้ของเกาะพีพีดอน เกาะจำ เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่, เกาะอาดัง เกาะหลีเป๊ะ เกาะราวี จังหวัดสตูล และบางส่วนอยู่ที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง นอกจากนี้ยังอาศัยอยู่ทางฝั่งตะวันตกของประเทศมาเลเซีย ชาวเลกลุ่มอูรังลาโว้ยมีภาษาที่แตกต่างกับกลุ่มมอแกนและมอแกลน แม้จัดอยู่ในตระกูลออสโตรนีเชียน เช่นเดียวกัน พิธีกรรมสำคัญของอูรังลาโว้ยคือ การลอยเรือ "ปลาจั๊ก" เพื่อกำจัดเคราะห์ร้ายออกไปจากชุมชน ในปัจจุบัน ชาวเลกลุ่มอูรังลาโว้ยตั้งถิ่นฐานอย่างถาวร หันมาประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง รับจ้างทำสวน และอาชีพอื่น ๆ ซึมซับวัฒนธรรมไทยมากขึ้น และเรียกขานตัวเองว่า ไทยใหม.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และอูรักลาโว้ย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตูล

ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และจังหวัดสตูล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาเลเซีย

งชาติมาเลเซีย หรือ จาลูร์เกอมีลัง (Jalur Gemilang มีความหมายว่า ธงริ้วแห่งเกียรติศักดิ์) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธงด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้ำเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของผืนธงด้านยาว ภายในบรรจุเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉก ที่มีชื่อว่า "บินตังเปอร์เซกูตัน" ("Bintang Persekutuan") หรือ "ดาราสหพันธ์".

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และธงชาติมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และถนนเพชรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสหพันธ์มาเลเซียหมายเลข 1

ทางหลวงสหพันธ์หมายเลข 1 (Federal Route 1) เป็นทางหลวงสหพันธ์สายแรกในประเทศมาเลเซีย และเป็นทางหลวงสหพันธ์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ ทางหลวงสหพันธ์หมายเลข 1 เป็นเส้นทางที่เป็นกระดูกสันหลังของมาเลเซียตะวันตก ก่อนที่จะมีทางพิเศษเหนือ–ใต้ (E1 และ E2).

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และทางหลวงสหพันธ์มาเลเซียหมายเลข 1 · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ

ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ (Lebuhraya Utara–Selatan Jajaran Utara) ซึ่งมีหมายเลขเป็น E1 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 เป็นทางหลวงในมาเลเซียตะวันตกที่มีการควบคุมการเข้าออก และมีการชำระค่าผ่านทาง มีระยะทาง เป็นเส้นทางในส่วนเหนือของทางด่วนเหนือ–ใต้ของประเทศมาเลเซีย เส้นทางผ่านรัฐทางตะวันตกเฉียงเหนือ ได้แก่ รัฐเกอดะฮ์ รัฐปีนัง รัฐเประก์ และรัฐเซอลาโงร์ มีจุดเริ่มต้นทางทิศเหนือที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองบูกิตกายูฮีตัมในรัฐเกอดะฮ์ ซึ่งตั้งอยู่บนชายแดนมาเลเซีย-ไทย และสิ้นสุดที่บูกิตลันจัน ในรัฐเซอลาโงร์ ซึ่งตัดกับทางด่วนหุบเขากลังใหม่ ทางด่วนสายนี้ดำเนินการโดยพลัสเอกซ์เพรสเวย์ ทางด่วนสายนี้มีแนวเส้นทางจากเหนือไปใต้ ใกล้กับชายฝั่งทะเลทางทิศตะวันเฉียงเหนือของคาบสมุทร เชื่อมเมืองใหญ่ต่าง ๆ ได้แก่ อลอร์สตาร์ บัตเตอร์เวิร์ท ไตปิง อีโปะฮ์ และราวัง และผ่านหมู่บ้านชนบทต่าง ๆ ทางด่วนสายนี้มีเส้นทางขนานไปกับทางหลวงมาเลเซียหมายเลข 1 ที่มีอยู่แล้ว และมีการใช้เส้นทางร่วมกันกับทางด่วนสายนี้จากเมืองบูกิตกายูฮีตัมถึงเมือง Jitra.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบหัวเมือง

ทำเนียบหัวเมือง คือเขตการปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศสยามมีหัวเมืองขึ้นอยู่ 474 หัวเมือง หลักฐานที่ได้จากจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ได้จารึกไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้จารึกไว้ที่คอสอง เฉลียงพระเบียงล้อมพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน หรืออีกอย่างหนึ่งก็คือระเบียงคด ได้เขียนภาพหัวเมืองขึ้นกรุงเทพมหานคร 474 หัวเมือง แต่ในปัจจุบันภาพดังกล่าวได้หายไปหมดแล้ว คงเหลือแต่จารึกที่บอกชื่อหัวเมืองเหล่านั้น กับเจ้าเมืองบางเมืองอยู่ราวครึ่งหนึ่ง ตรวจได้ศิลาจารึก 77 แผ่น ทำเนียบเมือง 194 เมือง แบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และทำเนียบหัวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี

ท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี เป็นท่าอากาศยานนานาชาติบนเกาะลังกาวี รัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองปาดังมัตซิราต ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางระหว่างท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี–ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประมาณ 1 ชั่วโมง ท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี นับว่าเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งบนเกาะลังกาวี เพราะมักถูกใช้เป็นสถานที่จัดงานนิทรรศการเรือ การบินและอวกาศนานาชาติ สถิติปี..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี

ทความนี้เกี่ยวกับความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ เพียง 15 ปีของอาณาจักรธนบุรี.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย (Jata Negara) ประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ ห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบตะวันตกอยู่มาก.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และตราแผ่นดินของมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ตวนกู ซารา ซาลิม

ูลี ยัง มาฮา มูลียา ราจา เปอร์ไมซูรี ตวนกู ซารา ซาลิม (Duli Yang Maha Mulia Raja Permaisuri Tuanku Zara Salim) พระนามเดิม ซารา ซาลิม เดวิดสัน (Zara Salim Davidson; 22 มีนาคม พ.ศ. 2516) เป็นพระอัครมเหสีในสุลต่านนัซริน ชะฮ์ สุลต่านรัชกาลปัจจุบันแห่งรัฐเประก์ พระองค์เป็นลูกครึ่งมาเลเซีย-อังกฤษสืบจากพระราชชนก และมีเชื้อสายแห่งราชวงศ์เกอดะฮ์และเชื้อสายไทย-มอญจากคุณหญิงเนื่อง ฤทธิสงครามรามภักดีในสายพระราชชนนีองค์ บรรจุน (2 ธันวาคม 2560).

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และตวนกู ซารา ซาลิม · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบาโงยซิแน

งยซิแน เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอยะหา จังหวัดยะล.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และตำบลบาโงยซิแน · ดูเพิ่มเติม »

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน ปูตรา อัล-ฮัจ อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชะฮ์ที่ 2 (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj ibni Almarhum Sultan Abdul Hamid Halim Shah II, تونكوعبدالرحمن ڤوترا الهاج ابن المرحوم سلطان عبدالحميد حاليم شه) หรือ ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นผู้นำการเรียกร้องเอกราชและนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และตุนกู อับดุล ระฮ์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง

''ต้นไม้ทอง'' ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง หรือ ต้นไม้ทองเงิน (bunga mas dan perak "ดอกไม้ทองและเงิน") หรือบุหงามาศ (bunga mas "ดอกไม้ทอง") เป็นเครื่องราชบรรณาการที่ประเทศราชของสยามต้องส่งมาถวายพระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ สามปี เพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ นอกจากนี้ยังใช้เป็นสิ่งของคารวะของเจ้านายหรือขุนนางถวายต่อพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานพระอิสริยยศหรือบรรดาศักดิ์ให้สูงขึ้น เรียกว่า "พุ่มไม้เงินพุ่มไม้ทอง" บ้างก็พบว่ามีการใช้ต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องสักการะถวายเป็นพุทธบูชาในวัด ใน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และต้นไม้เงินต้นไม้ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ซาไก

ซาไก เป็นมนุษย์โบราณอาจจะที่มีมาตั้งแต่สมัยยุคหิน ประมาณ 1,500–10,000 ปีมาแล้ว รูปร่างผอมมีผิวดำ ฝีปากหนา ท้องป่อง น่องสั้นเรียว ผมหยิกเป็นก้นหอยติดศีรษะ ชาติพันธุ์นิกรอยด์ หรือเนกริโต ตระกูลออสโตร-เอเชียติก อยู่กระจายกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ราว 7-60 คน ในรัฐเกดะห์ มาเลเซีย ในส่วนลึกของนิวกินี ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะอันดามัน เรียกตนเองว่า “มันนิ” (Mani) ส่วนผู้อื่นเรียกว่า เงาะ เงาะป่า ชาวป่า ซาแก หรือ โอรัง อัสลี (Orang Asli) หรือ กอ.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และซาไก · ดูเพิ่มเติม »

ซูไงเปอตานี

ซูไงเปอตานี หรือ สุไหงปัตตานี (Sungai Petani) หรืออาจรู้จักในชื่อย่อว่า เอสจีเปอตานี หรือ เอสพี เป็นเมืองหนึ่งในรัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู เมืองนี้มีประชากร 456,605 คน ถือว่าเป็นเมืองใหญ่ที่สุดของรัฐเกอดะฮ์ และมีประชากรมากกว่าเมืองอาโลร์เซอตาร์ เมืองเอกของรัฐ ซูไงเปอตานีเป็นที่ตั้งโบราณสถานยุคก่อนอิสลามคือหุบเขาบูจัง อายุกว่าหนึ่งพันปีซึ่งก่อสร้างขึ้นตามคติฮินดู-พุทธ ห่างจากตัวเมืองซูไงเปอตานี 17 กิโลเมตร ภายในหุบเขาได้จัดแสดงพิพิธภัณฑ์ที่แสดงโบราณวัตถุที่ขุดพบจากหุบเขาบูจัง ชื่อเมือง ซูไงเปอตานี แปลว่า แม่น้ำกสิกร มาจากคำว่า ซูไง (Sungai; ไทยเรียก สุไหง) แปลว่าแม่น้ำ กับคำว่า เปอตานี (Petani; ไทยเรียก ปัตตานี) ที่แปลว่า ชาวนาหรือเกษตรกร.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และซูไงเปอตานี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต เดิมคำว่า ภูเก็ต นั้นใช้คำว่า "ภูเก็จ" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2451

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2451 ในประเทศไท.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

นกยูงไทย

นกยูงไทย หรือ นกยูงสีเขียว (Green peafowl; มาจากภาษาละติน Pavo, นกยูง; muticus, เชื่อมต่อ หรือ ตัดทอน) เป็นไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นญาติใกล้ชิดกับนกยูงอินเดียหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่านกยูงสีฟ้า ที่ส่วนมากพบในอนุทวีปอินเดี.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และนกยูงไทย · ดูเพิ่มเติม »

นาซัม

นาซัม (nazam) มาจากภาษาอาหรับแปลว่าบทกวี ในรัฐปะหังใช้คำนี้ในความหมายของเพลง โดยมากจึงเป็นการขับร้องบทกวีเพื่อความบันเทิงในโอกาสต่าง ๆ มีรูปแบบใกล้เคียงกับชาอีร์ มี 4 วรรค วรรคละ 4 คำ สัมผัสท้ายวรรคแบบกลอนหัวเดียว นิยมใช้เป็นเพลงกล่อมเด็กในรัฐเปรัก, เกอดะฮ์, เซอลาโงร์, เนอเกอรีเซิมบีลัน และมะละก.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และนาซัม · ดูเพิ่มเติม »

แอ ม่วงดี

แอ ม่วงดี หรือนายอิสไมแอน เกิดที่ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้เข้ามาเรียนหนังสือในพระนครที่โรงเรียนอันยุมันอิสลาม และหัดมวยไทยกับครูซัน มหานาค เขาขึ้นชกแบบคาดเชือกเป็นครั้งแรกเมื่อ 6 มกราคม..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และแอ ม่วงดี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน เดิมคือโรงเรียนราชวิทยาลัย พระราชทานกำเนิดโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ก่อนจะถูกยุบรวมเป็นวชิราวุธวิทยาลัย ในสมัยรัชกาลที่ 7 และถูกฟื้นฟูใหม่อีกครั้งโดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระมหากรุณารับโรงเรียนไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญอักษรพระปรม.ป.ร. ประกอบกับในนามโรงเรียน และเสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประกอบพิธีเปิดโรงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โทรเลข

การส่งโทรเลขสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โทรเลข อดีตเรียก ตะแล็บแก๊บ (Telegraph) คือระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งข้อความจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เดิมส่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกันและอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ แต่ระยะหลังมีการใช้วิธีการส่งไร้สาย ที่เรียกว่า วิทยุโทรเลข (radio telegraph, wireless telegraph หรือ continuous wave ย่อว่า CW).

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และโทรเลข · ดูเพิ่มเติม »

ไทยใต้

วไทยปักษ์ใต้ หรือ ชาวไทยภาคใต้ เป็นชาติพันธุ์ไทยที่ที่อพยพลงมาสู่คาบสมุทรไทยเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 5 เริ่มแรกมีการอพยพลงมาจำนวนไม่มาก แต่ในครั้งหลังที่อาณาจักรไทยทางตอนเหนือถูกรุกรานคนไทยจึงอพยพลงทางทิศใต้ ตะวันออก และตะวันตกเพิ่มมากขึ้น เมื่ออพยพลงมาถึงที่ราบลุ่มเจ้าพระยา ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้อำนาจของอาณาจักรขอม จึงได้มีการอพยพลงไปทางทิศใต้อีก เพราะไม่อยากตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติอื่น จนมาถึงคาบสมุทรไทยที่มีคนไทยตั้งอาณาจักรไว้อย่างมั่นคง คือ อาณาจักรตามพรลิงก์ ซึ่งมีอาณาเขตตั้งแต่ปะลิส ไทรบุรี(ไซบุรี) ปะหัง (ป่าห้าง) ยะโฮร์ (ยี่หน;ยอฮอ) ไปจรดเกาะเตะมาเซะ (ธรรมศักดิ์) หรือสิงคโปร์ในปัจจุบัน การอพยพครั้งสำคัญเกิดขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น เนื่องจากเกิดโรคระบาดขึ้นทำให้มีผู้คนล้มตายไปมาก จึงได้มีการเกณฑ์ครัวจากภาคเหนือและภาคกลางลงไปเพื่อเป็นกำลังป้องกันข้าศึกจากทางใต้ และชาวไทยใต้นี้เป็นชาติพันธุ์ไทยที่มีส่วนผสมกับชาวมลายู และชาวซาไก เป็นชาวไทที่อาศัยอยู่ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปจนถึงสุดเขตดินแดนประเทศมาเลเซีย ในแถบตุมปัต ในรัฐกลันตัน ซึ่งมีชาวไทยอยู่มาก.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และไทยใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลังกาวี

ัตุรัสอินทรี ที่สร้างตามที่มาของชื่อเกาะคือ ''ฮลัง'' ลังกาวี (Langkawi) หรือ ลังกาวี อัญมณีแห่งไทรบุรี (Langkawi Permata Kedah; ลังกาวีเปอร์มาตาเกอดะฮ์) ตั้งอยู่ในทะเลอันดามันใกล้ฝั่งทะเลตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ขึ้นกับรัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ลังกาวีห่างจากเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูลของประเทศไทยเพียง 4 กิโลเมตร อยู่ห่างจากเมืองกัวลาปะลิสประมาณ 30 กิโลเมตร และเมืองกัวลาเกอดะฮ์ 51 กิโลเมตร ประกอบด้วยกลุ่มเกาะเมืองร้อนจำนวน 99 เกาะ และเป็นที่รู้จักของชาวไทยและมาเลเซียจากตำนานของมะห์สุหรี สตรีผู้ถูกประหารด้วยความอยุติธรรม โดยนางได้สาปแช่งเกาะลังกาวีไว้ก่อนสิ้นใจ และการนำทายาทรุ่นที่ 7 ของเธอมาถอนคำสาป.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และเกาะลังกาวี · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลิบง

ลิบง เป็นชื่อของเกาะซึ่งตั้งอยู่ในน่านน้ำทะเลตรัง บริเวณปากแม่น้ำตรังและแม่น้ำปะเหลียน ห่างจากฝั่งบ้านเจ้าไหมไปทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร และมีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าเกาะใด ๆ ที่อยู่เขตปกครองของจังหวัดนี้ เกาะลิบงที่มีฐานะเป็นตำบล ที่อยู่ในเขตปกครองของอำเภอกันตัง จังหวัดตรัง.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และเกาะลิบง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)

้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) หรือ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี หรือ เจ้าพระยานครน้อย เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชสมัยกรุงรัตนโกสินทร์คนที่ 3 บุตรบุญธรรมในเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) เป็นพระราชโอรสองค์รองสุดท้ายในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาร.

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองเบตง

ตง (勿洞) เป็นเทศบาลเมืองในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งอยู่ใกล้กับเขตแดนประเทศมาเลเซีย ในอำเภอเบตง จังหวัดยะลา มีพื้นที่ทั้งหมด 78 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และเทศบาลเมืองเบตง · ดูเพิ่มเติม »

เนื่อง นนทนาคร

ก์ เมินเจอราลา (Cik Menjelara) เป็นที่รู้จักในนาม หม่อมเนื่อง (สกุลเดิม: นนทนาคร; พ.ศ. 2392–2482) หรือเดิมคือ คุณหญิงเนื่อง ฤทธิสงครามรามภักดี เป็นหนึ่งในหม่อมชาวไทยของสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์ (เดิมคือเจ้าพระยาฤทธิสงครามรามภักดี) เจ้าพระยาไทรบุรีคนสุดท้ายภายใต้การปกครองของสยาม และเป็นพระชนนีของตนกู อับดุล ระห์มัน นายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย ซึ่งได้รับสมญาว่า "บิดาแห่งมาเลเซีย".

ใหม่!!: รัฐเกอดะฮ์และเนื่อง นนทนาคร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รัฐไทรบุรีรัฐเกดะห์รัฐเคดาห์ไทรบุรีเกอดะฮ์เกดะห์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »