โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐอะแลสกา

ดัชนี รัฐอะแลสกา

รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

215 ความสัมพันธ์: บรอบ์ดิงแนกบัวหิมะชาวอะลิวต์ช่องแคบเบริงฟยอร์ดฟอร์ทีนเนอร์ฟิสิกส์พ.ศ. 2410พ.ศ. 2468พ.ศ. 2502พ.ศ. 2532พ.ศ. 2550กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์การสำรวจการจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว 2002การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งการซื้ออะแลสกาการปะทุแบบพลิเนียนการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งภาษาเอสกิโมภูเขาไฟซีนาบุงยอดเขาเดนาลียากุป วากเนร์ยุคแห่งการสำรวจยูคอนระบบทางหลวงอินเตอร์สเตตรัฐมิชิแกนรัฐของสหรัฐรัฐโอไฮโอรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรัฐของสหรัฐเรียงตามลำดับการก่อตั้งรายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิลเดรายชื่อธงในสหรัฐอเมริการายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทรรายชื่อนครในสหรัฐอเมริกาเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อเขตการปกครองรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริการายการแผ่นดินไหวริสก์ร่องลึกก้นสมุทรลัทธิอาณานิคมลิงซ์แคนาดาวาฬหัวคันศรวาฬเพชฌฆาตวุลเวอรีนสหรัฐ...สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐสุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557สุริยุปราคา 30 มีนาคม พ.ศ. 2576สนธิสัญญานาวิกวอชิงตันหมึกฮัมโบลต์หมู่เกาะอะลูเชียนหมีกริซลีหมีสีน้ำตาลหมีขาวหยาดน้ำค้าง (สกุล)อภิธานศัพท์ธุลีปริศนาอักษรอินุกติตุตอันดับของขนาด (ความยาว)อันดับปลาซีกเดียวอาร์กติกอาร์คแองเจิ้ลอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 11ผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัสจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวธงชาติสหรัฐธงรัฐอะแลสกาทรายดำทฤษฎีบทสี่สีทะเลชุกชีทะเลสาบรูปแอกทะเลสาบอิลิแอมนาทะเลสาบปล่องภูเขาไฟทะเลทรายโกบีทะเลโบฟอร์ตดวงอาทิตย์เที่ยงคืนดาร์วิน (เมือง)ดิอะเมซิ่งเรซ 1ดิอะเมซิ่งเรซ 12ดิอะเมซิ่งเรซ 16ดิอะเมซิ่งเรซ 2ดิอะเมซิ่งเรซ 6ดิอะเมซิ่งเรซ 9ดินแดนแทรกและดินแดนส่วนแยกความพิถีพิถัน (จิตวิทยาบุคลิกภาพ)คาบสมุทรอะแลสกาคาบสมุทรซูเอิร์ดคาลีโบตราประธานาธิบดีสหรัฐซีกโลกตะวันตกประชาธิปไตยโดยตรงประเทศรัสเซียประเทศแคนาดาปลาสเตอร์เจียนปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิกปลาฉลามแซลมอนปลาแซลมอนปลาแซลมอนชินูกปลาแซลมอนแปซิฟิกปะการังปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกีปูจักรพรรดินกกะรางหัวขวานนกกานกแสกนกเค้าแมวหิมะนางงามจักรวาล 1952นางงามจักรวาล 1959นิวต์ผิวขรุขระนิวเบดฟอร์ดแพขยะใหญ่แปซิฟิกแม่น้ำยูคอนแลร์รี แซงเจอร์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560แทนะนอแคดโบโรซอรัสแซราห์ เพลินโกฐจุฬาลัมพาไทยโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902ไพโรโซมไมอาซอราไทรออปส์ไซบีเรียนฮัสกีเกาะทะนากาเกาะแอตตูเกาะแคโรไลน์เวลาสากลเชิงพิกัดเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือเส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาเส้นเวลาของยุคใหม่เหยี่ยวออสเปรเหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกาเอฟ-15 อีเกิลเอฟ-22 แร็พเตอร์เจเรมี เวดเทศมณฑลเขตเวลาUTC−08:00UTC−09:001 E+12 m²18 ตุลาคม2 กุมภาพันธ์24 มีนาคม27 มีนาคม3 มกราคม30 มีนาคม9 เมษายน ขยายดัชนี (165 มากกว่า) »

บรอบ์ดิงแนก

รอบ์ดิงแนก (อังกฤษ: Brobdingnag) เป็นดินแดนสมมติของ กัลลิเวอร์ผจญภัย แต่งโดย โจนาธาน สวิฟต์ ประเทศของยักษ์ เลอมูเอล กัลลิเวอร์ ค้นพบมัน หลังจากที่เรือของเขาพลิกคว่ำลง และได้ผจญภัยในดินแดนประหลาดแห่งนี้ คำว่า บรอบ์ดิงแนกเกียน (ชาวบรอบ์ดิงแนก) มีความหมายที่บรรยายถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มาก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและบรอบ์ดิงแนก · ดูเพิ่มเติม »

บัวหิมะ

ัวหิมะ (Snow lotus) เป็นชื่อสามัญของพืชในสกุล Saussurea อยู่ในวงศ์ Compositae เป็นพืชที่ขึ้นในที่สูง มีหิมะปกคลุม ในเอเชียกลาง และจีนเช่น ในทิเบต มณฑลยูนนาน เสฉวน ซินเจียงอุยกูร์ ในทางยาจีน มีฤทธิ์เป็นยาเย็น แก้ข้ออักเสบ แก้ไข้ บำรุงหัวใ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและบัวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอะลิวต์

วอะลิวต์ (Aleut people) เป็นชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะอะลูเชียน ของรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา และแคว้นคัมชัตคา ประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและชาวอะลิวต์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบเบริง

ทางอากาศของช่องแคบเบริง ช่องแคบเบริง (Bering Strait; Берингов пролив Beringov proliv) เป็นช่องทะเลเล็ก ๆ ระหว่างแหลมเดจเนฟ ประเทศรัสเซีย จุดตะวันออกสุดของทวีปเอเชีย (169°43' ตะวันตก) กับแหลมพรินซ์ออฟเวลส์ รัฐอะแลสกา จุดที่อยู่ตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ (168°05' ตะวันตก) อยู่ค่อนมาทางใต้เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลเล็กน้อย เป็นหนึ่งในช่องแคบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อของช่องแคบได้มาจากชื่อนักสำรวจชาวเดนมาร์ก นามว่าไวทัส เบริง นักสำรวจชาวเดนมาร์กในกองทัพเรือรัสเซีย ซึ่งเดินทางข้ามช่องแคบในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและช่องแคบเบริง · ดูเพิ่มเติม »

ฟยอร์ด

ฟยอร์ด เป็นอ่าวเล็ก ๆ บริเวณชายฝั่งทะเลซึ่งถูกน้ำกัดเซาะจนเว้าแหว่งมีลักษณะแคบและยาว เว้าลึกเข้าไปในฝั่งระหว่างแผ่นดินสูงชันหรือระหว่างหน้าผาสูงชันตามเชิงเขา ฟยอร์ดเกิดจากการกัดเซาะของธารน้ำแข็งฟยอร์ดสามารถพบได้หลายที่ในบริเวณชายฝั่งเช่น อะแลสกา, บริติชโคลัมเบีย, ชิลี, กรีนแลนด์, ไอซ์แลนด์, นิวซีแลนด์, นอร์เวย์, สก็อตแลนด์, ลาบราดอร์, นูนาวุต, นิวฟันด์แลนด์รวมถึงรัฐวอชิงตัน ฟยอร์ดสามรถพบได้มากในบริเวณชายฝั่งของประเทศนอร์เวย์ซึ่งมีความยาวประมาณและมีฟยอร์ดกว่า 1,190 แห่ง แต่มีพื้นที่ชายฝั่งประมาณเท่านั้นที่ไม่มีฟยอร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและฟยอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ทีนเนอร์

อดเขาลองส์, ฟอร์ทีนเนอร์ในโคโลราโด ฟอร์ทีนเนอร์เป็นชื่อเรียกในวงการปีนเขาโดย ฟอร์ทีนเนอร์ (Fourteeners หรือ อาจเขียน 14ers) หมายถึงภูเขาที่มีระดับความสูงเกิน 14,000 ฟุต (4,267.2 เมตร) เหนือระดับน้ำทะเล โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา แต่ไม่ใช่ว่าทุกยอดเขาที่สูงเกิน 14,000 ฟุตจะถูกจัดเป็นฟอร์ทีนเนอร์ นักปีนเขาจะนับเฉพาะยอดเขาที่ถือว่าเป็นยอดเขาอิสระ เช่น ยอดเขาควรจะห่างจากยอดที่สูงกว่าไกลพอสมควร (เพื่อให้แน่ในว่าเป็นยอดเขาจริงๆไม่ใช่โคกก่อนถึงยอด).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและฟอร์ทีนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิสิกส์

แสงเหนือแสงใต้ (Aurora Borealis) เหนือทะเลสาบแบร์ ใน อะแลสกา สหรัฐอเมริกา แสดงการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุ และ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ขณะเดินทางผ่านสนามแม่เหล็กโลก ฟิสิกส์ (Physics, φυσικός, "เป็นธรรมชาติ" และ φύσις, "ธรรมชาติ") เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ใช้ในชีววิทยา เป็นต้น นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาล จึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว ในบางครั้ง ฟิสิกส์ ถูกกล่าวว่าเป็น แก่นแท้ของวิทยาศาสตร์ (fundamental science) เนื่องจากสาขาอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ชีววิทยา หรือ เคมี ต่างก็มองได้ว่าเป็น ระบบของวัตถุต่าง ๆ หลายชนิดที่เชื่อมโยงกัน โดยที่เราสามารถสามารถอธิบายและทำนายพฤติกรรมของระบบดังกล่าวได้ด้วยกฎต่าง ๆ ทางฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่าง ๆ สามารถพิจารณาได้จากคุณสมบัติของโมเลกุลที่ประกอบเป็นสารเคมีนั้น ๆ โดยคุณสมบัติของโมเลกุลดังกล่าว สามารถอธิบายและทำนายได้อย่างแม่นยำ โดยใช้ความรู้ฟิสิกส์สาขาต่าง ๆ เช่น กลศาสตร์ควอนตัม, อุณหพลศาสตร์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ในปัจจุบัน วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่มีขอบเขตกว้างขวางและได้รับการพัฒนามาแล้วอย่างมาก งานวิจัยทางฟิสิกส์มักจะถูกแบ่งเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา เช่น ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์อะตอม-โมเลกุล-และทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์พลศาสตร์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น-และเคออส และ ฟิสิกส์ของไหล (สาขาย่อยฟิสิกส์พลาสมาสำหรับงานวิจัยฟิวชั่น) นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทำงานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทำงานด้านทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทำงานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้นเกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ทดลองไว้ หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจำกัดของการสังเกต และประสิทธิภาพของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ทำให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีและกฎที่มีอยู่เดิมทำนายไว้ ทำให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทำให้ความสามารถในการทำนายมีมากขึ้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและพ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์

กลุ่มเกาะอเล็กซานเดอร์ กลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์ (Alexander Archipelago) เป็นกลุ่มเกาะของสหรัฐอเมริกา ที่มีความยาวราว 300 ไมล์ (500 กม.) ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา มีเกาะทั้งสิ้นประมาณ 1,100 เกาะ ซึ่งกลุ่มเกาะนี้เกิดจากการยุบตัวของชายฝั่งเหลือเฉพาะยอดเขาที่โผล่พ้นน้ำ ทำให้มีร่องน้ำลึกและชายฝั่งมีลักษณะเว้าแหว่ง เกาะที่สำคัญได้แก่ เกาะชิชากอฟ แอดมิรัลตี บารานอฟ คูพรีนอฟ พรินซ์ออฟเวลส์ และริวิลลากิกีโด เมืองที่ใหญ่ที่สุดได้แก่เมืองเคตซิแกนบนเกาะริวิลลากิกีโด และเมืองซิตกาบนเกาะบารานอฟ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว 2002

การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว 2002 เป็นการจุดคบเพลิงโอลิมปิกครั้งที่ 14 ที่ซอล์ตเลกซิตี้ รัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา คบเพลิงโอลิมปิก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและการจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว 2002 · ดูเพิ่มเติม »

การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง

thumb การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง (recall) คือ กระบวนการที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งจากตำแหน่ง.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

การซื้ออะแลสกา

็ค 7.2 ล้านดอลลาร์ที่ใช้ซื้ออะแลสกา (คิดเป็น 119 ล้านดอลลาร์ ตามค่าเงินในปี 2014) การซื้ออะแลสกา (Alaska Purchase; Продажа Аляски) เป็นการที่สหรัฐอเมริกาได้มาซึ่งรัชเชียนอเมริกาจากจักรวรรดิรัสเซีย ใน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและการซื้ออะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุแบบพลิเนียน

แผนภาพการปะทุแบบพลิเนียน(1) เถ้าปะทุ(2) ปล่องหินหนืด(3) เถ้าตก(4) ชั้นทับถมของหินหลอมและเถ้า(5) ชั้นหิน(6) โพรงหินหนืด การปะทุแบบพลิเนียน (Plinian eruption) คือ รูปแบบการปะทุของภูเขาไฟที่มีต้นแบบจากการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสเมื่อปี ค.ศ. 79 ซึ่งทำลายเมืองปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียมของจักรวรรดิโรมัน คำว่าพลิเนียนถูกตั้งตามชื่อพลินีผู้เยาว์ ผู้บรรยายลักษณะการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสไว้ในจดหมายฉบับหนึ่ง และผู้ซึ่งลุงของเขา พลินีผู้อาวุโส เสียชีวิตจากเหตุการณ์ครั้งนี้ การปะทุแบบพลิเนียนมีลักษณะเด่น ได้แก่ การเกิดลำก๊าซและเถ้าภูเขาไฟตั้งสูงขึ้นไปในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์ ซึ่งเป็นบรรยากาศชั้นที่สองของโลก การขับหินพัมมิสออกจากปากปล่องในปริมาณมาก และการปะทุเป่าก๊าซออกมาอย่างต่อเนื่องและรุนแรง เมื่อเทียบระดับความรุนแรงตามดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ (Volcanic Explosivity Index; VEI) การปะทุแบบพลิเนียนจะมีค่าดัชนีอยู่ระหว่าง 4-6 นอกจากนี้ยังมีการกำหนดการปะทุแบบ "ซับพลิเนียน" (sub-Plinian) มีระดับความรุนแรง 3 หรือ 4 และแบบ "อัลตราพลิเนียน" (ultra-Plinian) มีระดับความรุนแรง 6-8 การปะทุแบบสั้นอาจจบได้ภายในวันเดียว การปะทุแบบยาวอาจดำเนินตั้งแต่หลายวันจนถึงหลายเดือน ซึ่งการปะทุแบบยาวจะเริ่มต้นด้วยการก่อตัวของเมฆเถ้าภูเขาไฟและบางครั้งก็เกิดการไหลไพโรคลาสติก หินหนืด (แมกมา) อาจถูกพ่นออกมาจากโพรงหินหนืดใต้ภูเขาไฟจนหมด ทำให้ยอดภูเขาไฟยุบตัวลงเกิดเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (caldera) ส่วนเถ้าละเอียดอาจตกลงมาทับถมกันเป็นบริเวณกว้าง และบ่อยครั้งที่การปะทุแบบพลิเนียนทำให้เกิดเสียงดังมาก เช่นจากการปะทุของภูเขาไฟกรากะตัวในอินโดนีเซียเมื่อปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและการปะทุแบบพลิเนียน · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสกิโม

ษาเอสกิโม (Inuit languages; เอสกิโม: ไฟล์:nm_inuit.gif) เป็นภาษาเฉพาะของเอสกิโมเชื้อชาติสเปนอยู่ส่วนเหนือสุดของทวีปอเมริกาเหนือ,กรีนแลนด์,ประเทศแคนาดา,อะแลสกา ฯลฯ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและภาษาเอสกิโม · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟซีนาบุง

ูเขาไฟซีนาบุง (Gunung Sinabung) เป็นภูเขาไฟในสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย การไหลของลาวาที่เย็นตัวแล้วด้านข้างของภูเขา การปะทุครั้งล่าสุดก่อนหน้..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและภูเขาไฟซีนาบุง · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเดนาลี

right ยอดเขาเดนาลี (Mount Denali) หรือ ยอดเขาแมกคินลีย์ ตั้งอยู่ในรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา อยู่ในแนวเทือกเขาอะแลสกา ซึ่งเป็นแนวต่อเนื่องมาจากแนวเทือกเขาร็อกกี เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ สูงถึง 6,194 เมตร จากระดับน้ำทะเล ยอดเขาแห่งนี้เป็นจุดเด่นกลางอุทยานแห่งชาติเดนาลีด้ว.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและยอดเขาเดนาลี · ดูเพิ่มเติม »

ยากุป วากเนร์

กุป วากเนร์ กับปลาแค้ยักษ์ (''Bagarius yarrelli'') ยากุป วากเนร์ (Jakub Vágner) เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1981 ที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย เป็นนักดนตรี, นักสำรวจ, นักตกปลาแบบสุดเหวี่ยง และพิธีกรรายการโทรทัศน์สารคดีชุด Fish Warrior (ออกอากาศทางช่องเนชั่นแนล จีโอกราฟิก ในประเทศไทยออกอากาศทางทรูวิชันส์) ในอดีตเคยทำงานเป็นมัคคุเทศน์นำตกปลาในหลายประเทศของยุโรป ในสารคดีชุดนี้วากเนร์ต้องเดินทางไปทั่วโลกเพื่อตกปลาน้ำจืดขนาดใหญ่หลายชนิด ทั้งแม่น้ำแอมะซอน, แอฟริกากลาง, อะแลสกา ซึ่งวากนอร์ได้ทำลายสถิติการตกปลาได้หลายชนิด โดยสามารถจับปลาที่มีความยาวและน้ำหนักทำลายสถิติโลกได้หลายตัว ทำให้กลายเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงระดับเดียวกับดารานักแสดงคนหนึ่งในสาธารณรัฐเช็ก ได้ให้สัมภาษณ์ทางโทรทัศน์ วิทยุ และหนังสือพิมพ์นิตยสารหลายฉบับในประเทศ รวมทั้งได้เขียนหนังสือบันทึกการตกปลา และเป็นผู้ออกความเห็นเพื่อเสนอต่อการประชุมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อในระดับนานาชาติอีกด้ว.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและยากุป วากเนร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคแห่งการสำรวจ

แห่งการสำรวจ หรือ ยุคแห่งการค้นพบ (Age of Exploration หรือ Age of Discovery) เป็นช่วงระยะเวลาในประวัติศาสตร์โลกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงที่ชาวยุโรปออกเดินทางไปสำรวจทางทะเลในโลกที่กว้างออกไปจากตัวทวีปยุโรปเองโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ สินค้าที่เป็นที่ต้องการกันมากในยุโรปในขณะนั้นคือทอง เงิน และ เครื่องเทศ ยุคแห่งการสำรวจประจวบกับช่วงที่ชาวยุโรปตะวันตกเริ่มใช้เข็มทิศในการกำหนดและระบุเส้นทาง, การใช้วิธีการเดินเรือเดินทะเลแบบใหม่, การมีแผนที่ใหม่ และความก้าวหน้าทางดาราศาสตร์ ความก้าวหน้าเหล่านี้ช่วยในการแสวงหาเส้นทางการค้าขายใหม่ไปยังเอเชียโดยเลี่ยงอุปสรรคถ้าการใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของมหาอำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่วิวัฒนาการขึ้นสำหรับการเดินทางทางทะเลคือเรือชนิดใหม่สองแบบที่ออกแบบโดยโปรตุเกส--เรือคาร์แร็ค (Carrack) และ เรือคาราเวล (Caravel) ที่วิวัฒนาการมาจากการออกแบบเรือในยุคกลางที่ใช้ในการเดินเรือในทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เรือสองชนิดนี้เป็นเรือสองชนิดแรกที่ให้ความปลอดภัยพอที่จะฝ่าคลื่นฝ่าลมในมหาสมุทรแอตแลนติกได้เมื่อเทียบกับเรือรุ่นก่อนหน้านั้นที่ใช้กันเฉพาะในบริเวณที่คลื่นลมไม่รุนแรงเทียบเท่ากับการเดินทางกลางมหาสมุทร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและยุคแห่งการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

ยูคอน

ูคอน (Yukon) เป็นดินแดนทางตะวันตกสุดและเป็นดินแดน ใน 3 ดินแดนที่เล็กที่สุดของประเทศแคนาดา ตั้งชื่อตามแม่น้ำยูคอน ซึ่งคำว่ายูคอนมีความหมายว่า "แม่น้ำใหญ่" ในภาษา Gwich’in ดินแดนนี้ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและยูคอน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต

ระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต ดไวต์ ดี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมิชิแกน

มืองดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน มิชิแกน (Michigan) เป็นรัฐตั้งอยู่บริเวณส่วนเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยชื่อของรัฐมาจาก ชื่อทะเลสาบมิชิแกน ซึ่งตั้งโดยชาวอินเดียนแดงเผ่าชิปเปวา จากคำว่า มิชิ-กามิ ซึ่งหมายถึง น้ำอันกว้างใหญ่ รัฐมิชิแกนห้อมล้อมด้วยทะเลสาบขนาดใหญ่ 4 ทะเลสาบในด้านเหนือ ด้านตะวันตกและด้านตะวันออก ทำให้รัฐมิชิแกนมีชายฝั่งทะเลน้ำจืดที่ยาวที่สุดอันดับสองในประเทศรองจากรัฐอะแลสกา ทำให้มิชิแกนมีกิจกรรมนันทนาการทางน้ำมากที่สุดอันดับต้นของประเทศ รัฐมิชิแกนเป็นรัฐเดียวในสหรัฐอเมริกาที่มีพื้นที่แยกออกจากกันเป็นสองฝั่ง โดยจุดเชื่อมระหว่างสองที่อยู่บริเวณ แมกคีนอก์ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของมิชิแกน รัฐมิชิแกนมีเมืองที่สำคัญคือ ดีทรอยต์ ฟลินต์ วอลเลน แกรนด์แรพิดส์ แมกคินอก์ แลนซิง และ แอนอาร์เบอร์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญได้แก่ มหาวิทยาลัยมิชิแกน และมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ทีมกีฬาที่สำคัญที่มีชื่อเสียงคือ ดีทรอยต์ ไลออนส์ ในปี 2551 มิชิแกนมีประชากร 10,071,822 คน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรัฐมิชิแกน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐของสหรัฐ

แผนที่ สหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งชื่อรัฐ (อะแลสกา และ ฮาวาย ไม่ได้จัดตามมาตราส่วน) รัฐ (State, แต่สำหรับ รัฐเคนทักกี รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐเพนซิลเวเนีย และ รัฐเวอร์จิเนีย ใช้คำว่า Commonwealth) ในสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีอธิปไตยในการปกครองตนเองร่วมกับรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรัฐทั้งหมด 50 รัฐ ในแต่ละรัฐแบ่งเป็นหลายเคาน์ตี (county) แต่ละเคาน์ตีแบ่งเป็นหลายเมือง (city) แต่ละรัฐมีผู้ว่าการรัฐหนึ่งคน และมีสภานิติบัญญัติประจำรั.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรัฐของสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอไฮโอ

ป้ายต้อนรับ รัฐโอไฮโอ (Ohio) รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับที่ 17 ในปี พ.ศ. 2346 อักษรย่อของที่ทำการไปรษณีย์สหรัฐคือ OH และเป็นรัฐที่มีป่าไม้มากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของสหรัฐอเมริกา รองจากรัฐอะแลสก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรัฐโอไฮโอ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐของสหรัฐเรียงตามลำดับการก่อตั้ง

ลำดับการก่อตั้งซึ่งเรียงตามรัฐ 13 รัฐเดิมซึ่งได้ให้สัตยาบันในรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้นเป็นรัฐอื่น ๆ ซึ่งเข้าร่วมในสหภาพ ด้านล่างนี้คือ รายชื่อรัฐในสหรัฐอเมริกา เรียงตามลำดับการก่อตั้ง ซึ่งก็คือวันที่รัฐแต่ละรัฐได้เข้าร่วมในสหภาพ ถึงแม้ว่าอาจจะพิจารณารัฐ 13 รัฐแรกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกานับตั้งแต่วันประกาศอิสรภาพในวันที่วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 แต่วันที่ที่ยึดถือด้านล่างนี้เป็นวันที่ที่แต่ละรัฐให้สัตยาบันในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ส่วนรัฐที่ก่อตั้งภายหลังยึดถือตามวันที่กฎหมายรับรองยกเว้นโอไฮโอซึ่งยึดถือวันก่อตั้งตามวันที่สภาคองเกรสรับรองในปี ค.ศ. 1953 ปัจจุบันนี้ สหรัฐอเมริกามีรัฐทั้งหมด 50 รัฐในประเทศ แต่เมื่อครั้งตั้งเป็นประเทศใหม่ ๆ นั้น ส่วนใหญ่ยังปักหลักกันอยู่ที่บริเวณตะวันออกของสหรัฐอเมริการิมมหาสมุทรแอตแลนติก จนกระทั่งเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น และดินแดนส่วนอื่นที่ห่างไปทางตะวันตกก็ยังไม่มีผู้ใดบุกเบิก ดังนั้นชาวอเมริกันจึงเริ่มขยายอาณาเขตไปทางตะวันตก จนกระทั่งเมื่อขยายไปสุดเขตแดนตะวันตก สหรัฐอเมริกามีทั้งสิ้น 48 รัฐ แต่ต่อมาก็ได้ซื้อดินแดนอะแลสกาและฮาวาย และตั้งเป็นรัฐที่ 49 และ 50 ตามลำดับ นอกจาก 50 รัฐที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีดินแดนอิสระที่เป็นเขตปกครองตนเอง ชื่อว่า ดิสตริกต์ออฟโคลัมเบีย (District of Columbia) ซึ่งแม้มิได้เป็นรัฐเต็มตัวเหมือนรัฐอื่น ๆ แต่ก็มีฐานะเทียบเท่ารัฐในการออกเสียงต่าง ๆ รวมทั้งการเลือกตั้งประธานาธิบดี ก็ต้องส่งตัวแทนลงเลือกตั้งตามอัตราส่วนที่ได้รับ รวมถึงมีผู้ว่าการเขตปกครองของตนเองเทียบเท่ากับผู้ว่าการของรัฐอื่น ๆ และประธานาธิบดีก็ต้องประจำอยู่ที่นี่ ดิสตริกต์ออฟโคลัมเบียนี้เรียกย่อ ๆ ว่า ดี.ซี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อรัฐของสหรัฐเรียงตามลำดับการก่อตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิลเด

รายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิล.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิลเด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในสหรัฐอเมริกา

นื้อหาในหน้านี้ว่าด้วยธงต่างๆ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ซึ่งใช้อยู่ในสหรัฐอเมริกา 300px.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อธงในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร ซึ่งรวมถึงรัฐเอกราชและดินแดนในภาวะพึ่งพิง.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครในสหรัฐอเมริกาเรียงตามจำนวนประชากร

รายชื่อเมืองในสหรัฐอเมริกาเรียงตามจำนวนประชากร ที่มีจำนวนประชากรมากกว่า 100,000 คน ข้อมูลจากปี..2008 นิวยอร์กซิตี รัฐนิวยอร์ก ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ฮิวสตัน รัฐเทกซัส ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย แซนแอนโทนีโอ รัฐเทกซัส แซนดีเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย แดลลัส รัฐเทกซัส แซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย ดิทรอยต์ รัฐมิชิแกน แจ็กสันวิลล์ รัฐฟลอริดา แซนแฟรนซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย โคลัมบัส รัฐโอไฮโอ ฟอร์ตเวิร์ท รัฐเทกซัส เอลแพโซ รัฐเทกซัส ซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน วอชิงตัน ดี.ซี. มิลวอกี รัฐวิสคอนซิน เดนเวอร์ รัฐโคโลราโด แนชวิลล์ รัฐเทนเนสซี โอคลาโฮมาซิตี รัฐโอคลาโฮมา แอลบูเคอร์คี รัฐนิวเม็กซิโก แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ลองบีช รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟรสโน รัฐแคลิฟอร์เนีย แซคราเมนโต รัฐแคลิฟอร์เนีย เมซา รัฐแอริโซนา เวอร์จิเนียบีช รัฐเวอร์จิเนีย โอมาฮอ รัฐเนแบรสกา โอกแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ทัลซา รัฐโอคลาโฮมา.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อนครในสหรัฐอเมริกาเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา

รายพระนามพระมหากษัตริย์และกษัตรีพระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายการแผ่นดินไหว

นี่เป็นเนื้อหาของรายการแผ่นดินไหวและอันดับแผ่นดินไหวแบ่งตามแมกนิจูดและผู้เสียชีวิต.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและรายการแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

ริสก์

ริสก์ (Risk) เกมกระดานลักษณะการวางแผนในการรบ คิดค้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดย Albert Lamorisse ชาวฝรั่งเศส จัดจำหน่ายโดยบริษัทพาร์เกอร์บราเธอรส์บริษัทลูกของบริษัทแฮสโบร ลักษณะเกมของริสก์เป็นการวางแผนในการวางทหารในเขตประเทศต่างๆ และทำการบุกยึดดินแดนข้างเคียง โดยผู้เล่นแต่ละคนจะได้ภารกิจมา เมื่อทำภารกิจสำเร็จ จะเป็นผู้ชนะของเกม ภารกิจจะมีหลายรูปแบบ เช่น ยึดครอง 2 ทวีป หรือปราบผู้เล่นสีใดสีหนึ่ง ลักษณะการเล่นเกมจะใช้ลูกเต๋าสู้กันในการโจมตีและการป้องกันดินแดน เกมได้มีการทำออกมาหลายรุ่นนอกจากแผนที่โลก ยังได้มีการทำแผนที่และตัวละครอื่นเช่น ริสก์รุ่นเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ นาร์เนียและรุ่นสตาร์วอร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและริสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกก้นสมุทร

ปลือกโลกใต้มหาสมุทรจะเกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทรขณะที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจะถูกมุดกลับเข้าไปในชั้นฐานธรณีภาคที่ร่องลึกก้นสมุทร ร่องลึกก้นสมุทร (oceanic trench) เป็นร่องหลุมลึกของพื้นผิวท้องทะเลที่มีลักษณะภูมิประเทศยาว แคบ และโค้ง และถือว่าเป็นส่วนของมหาสมุทรที่ลึกที่สุด ร่องลึกก้นสมุทรถือเป็นหนึ่งในขอบเขตทางธรรมชาติที่สำคัญที่สุดบนพื้นผิวในส่วนที่เป็นของแข็งของโลกระหว่างแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ขอบเขตระหว่างแผ่นธรณีภาคชั้นนอกมี 3 ประเภท คือ ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว (divergent boundary) (เป็นขอบเขตที่เกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร) ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (convergent boundary) (เป็นขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจมลงไปใต้อีกแผ่นหนึ่งกลับลงไปสู่ชั้นเนื้อโลก) และขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกันและกัน (transform boundary) ร่องลึกก้นสมุทรเป็นลักษณะของขอบเขตระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่โดดเด่นชัดเจน โดยเป็นบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราการลู่เข้าหากันที่แปรผันจากปีละไม่กี่มิลลิเมตรจนไปถึงสิบเซนติเมตรหรือมากกว่า ร่องลึกก้นสมุทรหนึ่งๆเป็นตำแหน่งที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกหนึ่งมีการโค้งมุดลงไปใต้แผ่นธรณีภาคชั้นนอกอีกแผ่นหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วร่องลึกก้นสมุทรจะขนานไปกับแนวหมู่เกาะรูปโค้ง (volcanic arc) และอยู่ห่างจากแนวหมู่เกาะรูปโค้งออกไปประมาณ 200 กิโลเมตร โดยทั่วไปร่องลึกก้นสมุทรจะมีความลึกประมาณ 3 ถึง 4 กิโลเมตรลงไปจากพื้นมหาสมุทรรอบข้าง ส่วนที่ลึกที่สุดอยู่ที่ร่องลึกชาลเลนเจอร์ของร่องลึกก้นสมุทรมาเรียน่าซึ่งมีความลึก 10,911 เมตรใต้ระดับทะเล แผ่นธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทรจะเคลื่อนที่หายเข้าไปในร่องลึกก้นสมุทรด้วยอัตราประมาณ 10 ตารางเมตรต่อวินาที.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและร่องลึกก้นสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลิงซ์แคนาดา

ลิงซ์แคนาดา (Canada lynx, Canadian lynx) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Felidae เป็นญาติใกล้ชิดกับลิงซ์ยุโรป มีขนหนาสีเงิน-น้ำตาล มีแผงขนที่หน้าและกระจุกขนที่หู มีขนาดพอๆ กับลิงซ์ชนิดอื่นในสกุล มีขนาดเป็นสองเท่าของแมวบ้าน พบในประเทศแคนาดาและรัฐอะแลสกา รวมทั้งบางส่วนทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและลิงซ์แคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

วาฬหัวคันศร

วาฬหัวคันศร หรือ วาฬโบว์เฮด (bowhead whale) เป็นสัตว์เลี้ยงด้วยนมในทะเลขนาดใหญ่ จำพวกวาฬชนิดหนึ่ง จัดเป็นวาฬไม่มีฟัน หรือวาฬบาลีนชนิดหนึ่ง วาฬหัวคันศร จัดเป็นวาฬที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่ง ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีความยาวได้ถึง 20 เมตร น้ำหนักกว่า 100 ตัน วาฬหัวคันศรมีจุดเด่น คือ มีส่วนหัวที่ใหญ่ ใต้คางหรือกรามเป็นสีขาว มีปากกว้างใหญ่คล้ายหัวคันธนู มีรูจมูกขนาดใหญ่อยู่ด้านบนหัว ส่วนหัวที่ใหญ่นี้สามารถใช้กระแทกน้ำแข็งที่หนาเป็นเมตรให้แตกแยกออกจากกันได้ ซึ่งต้องใช้แรงมากถึง 30 ตัน เพราะเป็นวาฬที่อาศัยอยู่แถบอาร์กติก ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ หนาวเย็นและห่างไกลมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก นอกจากนี้แล้ววาฬหัวคันศรยังถือเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีอายุยืนที่สุดในโลกอีกด้วย โดยตัวที่มีอายุมากที่สุดมีบันทึกว่ามากถึง 211 ปี ลูกวาฬหัวคันศร เมื่อแรกเกิดจะมีผิวหนังที่ย่นและมีสีอ่อนกว่าตัวเต็มวัย มีน้ำหนักราว 3-4 ตัน ลูกวาฬจะดูดกินนมแม่ภายในขวบปีแรก โดยหัวนมแม่จะอยู่ใกล้กับหาง แม่วาฬและลูกวาฬจะมีสายสัมพันธ์ที่เหนียวแน่น ลูกวาฬบางครั้งจะกลัวแผ่นน้ำแข็งซึ่งที่จริงแล้วใช้เป็นแหล่งกำบังตัวจากศัตรูได้ดีที่สุด แม่วาฬจะว่ายนำลูก เพื่อให้ลูกวาฬหายกลัว ภายใน 1 ปี ลูกวาฬจะมีความยาวเพิ่มขึ้น 2 เท่า (ราว 10 เมตร) จากแรกเกิด และเข้าวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 25 ปี วาฬหัวคันศร กินแพลงก์ตอนสัตว์ เช่น ไรทะเล หรือเคย เป็นอาหาร โดยกินได้เป็นปริมาณมากถึง 30 ตันภายในเวลา 1-2 เดือน และจะกินเช่นนี้ไปตลอดทั้งปี สามารถดำน้ำได้ลึกถึง 500 เมตร และกลั้นหายใจได้นานถึง 50 นาที วาฬหัวศร เป็นวาฬที่มีพฤติกรรมว่ายอพยพไปมาระหว่างทะเลและมหาสมุทรต่าง ๆ ตามแต่ละฤดูกาล ปริมาณของวาฬหัวคันศรในช่วงฤดูหนาวในอ่าวฮัดสัน มีจำนวนนับพัน และจะว่ายน้ำออกสู่มหาสมุทรเปิดไปยังน่านน้ำแคนาดาเพื่อหาอาหาร เช่น อ่าวแลงคาสเตอร์ซาวด์ ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงจะว่ายลงใต้เพื่อหาอาหารในช่วงฤดูหนาว รวมระยะทางราว 4,000-5,000 กิโลเมตร สามารถว่ายน้ำได้นับพันกิโลเมตรภายในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ โดยพักเป็นระยะ ๆ โดยลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ เหมือนว่าหลับ ในฤดูใบไม้ผลิเมื่อน้ำแข็งแตกออก จะว่ายข้ามอ่าวดิสโค เพื่อไปใช้ชีวิตในช่วงฤดูร้อนที่น่านน้ำแคนาดา อาจจะมีจำนวนประชากรวาฬที่มาจากอ่าวอลาสกาเข้ามาผสมรวมอยู่กับวาฬที่อาศัยอยู่บริเวณอาร์กติกด้วย ทำให้เหมือนมีปริมาณวาฬที่มากขึ้น คาดการว่ามีประชากรวาฬหัวคันศรนอกอลาสกาประมาณ 12,000 ตัว วาฬหัวคันศร เมื่อโตเต็มที่บางครั้งจะมีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นกลุ่มอย่างมีแบบแผน โผขึ้นเหนือผิวน้ำ รวมถึงสะบัดครีบหาง ดำผุดดำว่ายเช่นนั้นเหมือนเล่นหรือเกี้ยวพาราสีกัน แม้กระทั่งพ่นลมจากรูบนหัว วาฬหัวคันศรเป็นวาฬที่สื่อสารกันเองและนำทางโดยใช้เสียง สามารถที่รับฟังเสียงของวาฬชนิดอื่นรวมถึงพวกเดียวกันเองได้ไกลนับหลายร้อยหรือพันกิโลเมตร เนื่องจากเสียงสามารถเดินทางไปได้ไกลกว่าในอากาศ จากการศึกษาพบว่าวาฬหัวคันศรสามารถส่งเสียงร้องได้มากถึง 2 เสียงในเวลาเดียวกัน และยังสามารถเลียนเสียงวาฬชนิดอื่น เช่น วาฬเบลูกา ได้อีกด้วย รวมถึงเปลี่ยนเสียงร้องไปในทุก ๆ ปี แต่ก็เป็นวาฬที่มีพฤติกรรมการระแวดระวังภัยสูง แม้ได้ยินเสียงน้ำกระเพื่อมเพียงเล็กน้อยก็จะหลบหนีไปจากบริเวณนั้นเพื่อความปลอดภัย จึงทำให้มนุษย์เข้าใกล้ได้ยากมาก วาฬหัวคันศร ลักษณะของกรามที่เป็นสีขาว วาฬหัวคันศร ถือเป็นวาฬชนิดหนึ่งที่มีการล่าเป็นอย่างหนัก โดยเฉพาะในช่วงศตวรรษที่ 19 แม้จะมีรูปร่างที่ใหญ่โตและมีพละกำลังมหาศาล แต่วาฬหัวคันศรเมื่อถูกล่าจะหนีเพียงอย่างเดียว โดยนักล่าจะใช้ฉมวกยิงพุ่งไปยังหลังวาฬเพื่อให้มันลากเรือไป จนกระทั่งหมดแรงและลอยน้ำอยู่นิ่ง ๆ หรือกระทั่งถูกยิงอย่างรุนแรง ก็สามารถทำให้ส่วนหัวตกลงกระแทกกับพื้นทะเลทำให้กรามหักและตายลงได้ โดยนักล่าวาฬจะดักรอวาฬที่ว่ายอพยพไปมาในทะเลแถบอาร์กติก ซึ่งวาฬหัวคันศรสามารถให้ไขมันและน้ำมันเพื่อการบริโภคและนำไปทำเป็นสบู่หรือเนยเทียม รวมถึงไขวาฬต่าง ๆ โดยวาฬหัวคันศรถือเป็นวาฬชนิดที่มีไขมันมากที่สุด เป็นวาฬที่มีรูปร่างอ้วนที่สุด มีชั้นไขมันที่หนามาก น้ำหนักตัวกว่าร้อยละ 50 เป็นไขมัน ในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและวาฬหัวคันศร · ดูเพิ่มเติม »

วาฬเพชฌฆาต

วาฬเพชฌฆาต หรือ วาฬออร์กา (Killer whale, Orca) เป็นสปีชี่ส์ที่ใหญ่ที่สุดในในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) สามารถพบเห็นได้ในมหาสมุทรทั่วโลก ตั้งแต่แถบอาร์กติกและแอนตาร์กติกา จนถึงทะเลในแถบเขตร้อน จนอาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถพบเห็นได้ทั่วโลกมากที่สุดนอกเหนือจากมนุษ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและวาฬเพชฌฆาต · ดูเพิ่มเติม »

วุลเวอรีน

ำหรับตัวละครในมาร์เวลคอมิกส์ ดูที่ วูล์ฟเวอรีน (ตัวละคร) วุลเวอรีน (wolverine)Wozencraft, W. C. (16 November 2005).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและวุลเวอรีน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ

ำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection Agency -EPA) หรือ "อีพีเอ" เป็นหน่วยงานระดับประเทศ หรือระดับรัฐบาลกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่ดูแลปกป้องสุขภาพของมวลมนุษย์และปกป้องสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ซึ่งได้แก่อากาศ น้ำและแผ่นดิน EPA เริ่มปฏิบัติงานเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2513 จัดตั้งโดยประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน โดยมีผู้อำนวยการสำนักเป็นผู้บังคับบัญชา หน่วยงานนี้ไม่ใช่กระทรวงแต่ผู้อำนวยการได้รับการเทียบเท่ากับรัฐมนตรี ผู้อำนวยการคนปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) คือนายสตีเฟน แอล จอห์นสัน (Stephen L. Johnson) และผู้ช่วยผู้อำนวยการคือนายมาร์คัส พีคอค พนักงานเต็มเวลาในหน่วยงานนี้มีจำนวนประมาณ 18,000 คนAlso see.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและสุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 30 มีนาคม พ.ศ. 2576

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและสุริยุปราคา 30 มีนาคม พ.ศ. 2576 · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน

นธิสัญญานาวิกวอชิงตัน (Washington Naval Treaty) หรือ สนธิสัญญาห้ามหาอำนาจ (Five-Power Treaty) เป็นสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธภัณฑ์ทางนาวีของประเทศที่ร่วมลงนาม 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา, จักรวรรดิบริติช, จักรวรรดิญี่ปุ่น, สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3, และราชอาณาจักรอิตาลี โดยเป็นผลพวงจากการประชุมนาวิกวอชิงตันที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและสนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

หมึกฮัมโบลต์

การจับหมึกฮัมโบลต์ที่ชิลี หมึกฮัมโบลต์, หมึกจัมโบ หรือ หมึกบินจัมโบ (Humboldt squid, Jumbo squid, Flying jumbo squid) หรือ เดียโบลโรโค (Diablo rojo, "ปีศาจแดง")) เป็นหมึกประเภทหมึกกล้วยชนิดหนึ่ง เป็นหมึกกล้วยที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมึกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Dosidicus หมึกฮัมโบลต์มีความยาวได้ถึง 9 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 150 ปอนด์ มีรูปร่างเพรียวยาว อ้วนป้อมออกด้านข้าง มีหนวดทั้งสิ้น 8 หนวด โดยมี 2 เส้นยาว ที่มีอวัยวะเหมือนฟันแหลมคมข้าง ๆ ปุ่มดูด ซึ่งมีไว้สำหรับจับและฉีกอาหาร มีดวงตากลมโตขนาดใหญ่ หมึกฮัมโบลต์กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก ตั้งแต่อเมริกาเหนือ เช่น ออริกอน, วอชิงตัน, บริติชโคลัมเบีย และอะแลสกา จนถึงอเมริกากลาง เช่น ทะเลกอร์เตซ จนถึงอเมริกาใต้ เช่น เปรู ชิลีZeidberg, L. & B.H. Robinson 2007.. PNAS 104(31): 12948–12950. หมึกฮัมโบลต์สามารถว่ายน้ำได้เร็ว 24 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยวิธีการพ่นน้ำและใช้ครีบ สามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ อีกทั้งสามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่สีขาวจนถึงแดงเข้ม และดำน้ำได้ลึกถึง 1,000 ฟุต เพื่อพักผ่อน ย่อยอาหาร และหลบเลี่ยงสัตว์นักล่า มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ออกหากินบริเวณกลางน้ำทั้งเวลากลางวันและกลางคืน ออกหากินตลอดเวลา จะกินอาหารทุกที่เมื่อสบโอกาส ถือเป็นสัตว์ที่ต้องการแคลอรีมากที่สุดชนิดหนึ่งในทะเล มีพฤติกรรมแย่งอาหาร และกินแม้แต่พวกเดียวกันเอง เมื่อชาวประมงจับหมึกฮัมโบลต์ได้ ตัวแรกจะถูกหั่นออกเป็นชิ้น ๆ แล้วโยนลงทะเล เพื่อใช้เป็นเหยื่อล่อหมึกตัวอื่น ๆ ให้ตามมา เมื่อหมึกตัวหนึ่งจับอาหารได้จะพ่นหมึกออกมา หมึกตัวอื่น ๆ ก็จะเข้ามารุมล้อมแย่งกิน และเมื่อจับอาหารได้ชิ้นใหญ่กว่าปากของตัวเอง จะใช้หนวดดูดและใช้ปากที่แหลมคมเหมือนปากนกแก้ว ฉีกอาหารเป็นชิ้น ๆ ให้พอกับคำ หมึกฮัมโบลต์เมื่อแรกเกิดมีความยาวเพียง 1.8 นิ้ว แต่สามารถโตได้ถึง 7 ฟุต ด้วยเวลาเพียง 2 ปี นับว่าเป็นอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากชนิดหนึ่งในบรรดาสัตว์ทั้งหมด แต่อายุขัยยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด คาดว่าประมาณ 1-2 ปี หมึกฮัมโบลต์นับว่าเป็นสัตว์นักล่าที่สมบูรณ์แบบมากชนิดหนึ่งในทะเล เป็นสัตว์ที่ฉลาดและคล่องแคล่วว่องไว อีกทั้งมีหนวดที่แข็งแรงและแหลมคมเป็นอาวุธ ถือเป็นสัตว์ทะเลอีกชนิดหนึ่งที่สามารถทำร้ายโจมตีมนุษย์ได้ สามารถใช้หนวดดึงบ่าของนักประดาน้ำให้หลุดและลากลงไปในที่ลึกได้ หากสวมชุดประดาน้ำแบบธรรมดาไม่มีเครื่องป้องกันแบบเดียวกับเครื่องป้องกันปลาฉลาม จะถูกทำอันตรายจากปากและหนวดได้เหมือนกับการกัดของสุนัขขนาดใหญ่อย่างเยอรมันเชเพิร์ด จนมีเรื่องเล่าขานกันในหมู่ชาวประมงแถบทะเลกอร์เตซว่าหมึกฮัมโบลต์ทำร้ายและกินมนุษย์เป็นอาหาร ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009 มีนักประดาน้ำ 3 คน เสียชีวิตในทะเลกอร์เตซ โดยศพถูกคลื่นซัดขึ้นฝั่งพบว่าชุดประดาน้ำฉีกขาด และเปื้อนไปด้วยหมึก และภายหลังพิสูจน์ว่าเป็นหมึกจากหมึกฮัมโบลต์ หมึกฮัมโบลต์จัดเป็นหมึกอีกชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานและบริโภคกันอย่างมากเช่นเดียวกับหมึกและมอลลัสคาชนิดอื่น ๆ มีมูลค่าในการตลาดสูงมาก โดยเฉพาะในทวีปเอเชีย มีอัตราการส่งออกสูงถึง 500,000 ตัน ในแต่ละปีSquid, "Rouge Nature With Dave Salmoni" โดย อนิมอลพลาเน็ต สารคดีทางทรูวิชั่นส์: อังคารที่ 25 ธันวาคม 2555.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและหมึกฮัมโบลต์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอะลูเชียน

หมู่เกาะอะลูเชียน (Aleutian Islands) เป็นหมู่เกาะในสหรัฐอเมริกา ครอบคลุมพื้นที่ 6,821 ตร.ไมล์ (17,666 กม²) ทอดตัวไปทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอะแลสกายาว 1,200 ไมล์ (1,931 กม.) สหรัฐอเมริกาซื้อหมู่เกาะนี้จากรัสเซีย เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและหมู่เกาะอะลูเชียน · ดูเพิ่มเติม »

หมีกริซลี

หมีกริซลี (grizzly bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) จัดเป็นชนิดย่อยของหมีสีน้ำตาล (U. arctoc) หมีกริซลี จัดได้ว่าเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และถือว่าเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกด้วย เมื่อตัวผู้ที่มีขนาดโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักได้ถึง 180-980 กิโลกรัม หรือ 1 ตัน และยืนด้วยสองขามีความสูงถึง 2.5 เมตร หรือ 3 เมตร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและหมีกริซลี · ดูเพิ่มเติม »

หมีสีน้ำตาล

หมีสีน้ำตาล (Brown bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่มาก โดยตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย เมื่อยืน 4 เท้ามีความสูงถึง 5 ฟุต และเมื่อยืนด้วย 2 เท้า อาจสูงถึง 9 ฟุต แต่ยืนได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักมากถึง 1,000 ปอนด์ ส่วนตัวเมียอาจมีน้ำหนักมากกว่า 450 ปอนด์ มีขนสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ปุ่มหรือเนินตรงหัวไหล่ มีขนและเล็บยาว มีจมูกที่ใหญ่ แต่มีใบหูขนาดเล็ก แต่จะมีขนสีเข้มหรืออ่อนไปตามสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศที่อาศัย รวมถึงขนาดตัวด้วย ซึ่งถือเป็นชนิดย่อย (ดูในตาราง) โดยกระจายพันธุ์ไปในพื้นที่ ๆ กว้างไกลมาก ตั้งแต่อะแลสกา, แคนาดา, รัสเซีย, หลายพื้นที่ในยุโรป และตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย, เนปาล และจีน และตะวันออกกลาง หมีสีน้ำตาลกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้งพืชและสัตว์ โดยหากเป็นพืชมักจะเป็นผลไม้ประเภทเบอร์รี่ บางครั้งกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง หรือ หนู แต่บางครั้งก็กินสัตว์ใหญ่ เช่น ม้า, วัวป่า, กวาง รวมถึงซากสัตว์ ในช่วงฤดูกาลที่มีอาหารสมบูรณ์ อาหารที่หมีสีน้ำตาลชอบมาก คือ ปลาแซลมอน และปลาเทราท์ หมีสีน้ำตาลตัวเมียต้องมีอายุ 4 ถึง 10 ปี จึงจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และให้กำเนิดลูกโดยเฉลี่ย 2 ตัว ในระยะเวลา 4 ปี ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิถึงต้นฤดูร้อน แม่หมีจะให้กำเนิดลูกในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ปกติ 2-3 ตัว โดยลูกหมีที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และยังไม่มีขน ลูกหมีจะอาศัยอยู่ในถ้ำที่แม่หมีขุดขึ้นมาจนกระทั่งถึงเดือนเมษายน หรืออาจถึงเดือนมิถุนายน และเริ่มหย่านมเมื่ออายุประมาณ 5 เดือน และเริ่มเรียนรู้ว่า พืชหรือสัตว์ประเภทไหนที่ใช้เป็นอาหาร ลูกหมีจะอยู่กับแม่อย่างน้อยอีก 1 ปี หรือมากกว่านั้น จากนั้นจึงเริ่มแยกตัวออกไป ส่วนในฤดูหนาว หมีสีน้ำตาลจะจำศีลในถ้ำเป็นระยะเวลาราว 2 เดือน โดยใช้พลังงานจากไขมันที่สะสมไว้.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและหมีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

หมีขาว

หมีขาว หรือ หมีขั้วโลก (polar bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) จัดเป็นหมีชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและหมีขาว · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและหยาดน้ำค้าง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

อภิธานศัพท์ธุลีปริศนา

ทความนี้เป็นบทความที่เกี่ยวข้องกับการใช้คำศัพท์ต่างๆ ในวรรณกรรมเยาวชนไตรภาค ธุลีปริศนา ซึ่งเขียนโดยฟิลิป พูลแมน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอภิธานศัพท์ธุลีปริศนา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอินุกติตุต

อักษรอินุกติตุต พัฒนามาจากอักษรครี ซึ่งมาจากอักษรโอจิบเวอีกต่อหนึ่ง อักษรทั้ง 2 ชนิดประดิษฐ์โดย เจมส์ อีวาน มิชชันนารีชาวตะวันตก เมื่อราว..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอักษรอินุกติตุต · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความยาว)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอันดับของขนาด (ความยาว) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาซีกเดียว

อันดับปลาซีกเดียว (Flatfish) ปลากระดูกแข็งในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ พบได้ทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ในภาษาไทยมักเรียกปลาในอันดับนี้รวม ๆ กัน เช่น "ลิ้นหมา", "ซีกเดียว", "ยอดม่วง", "ลิ้นเสือ", "ลิ้นควาย", "ใบไม้" หรือ "จักรผาน" เป็นต้น โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pleuronectiformes.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอันดับปลาซีกเดียว · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กติก

้นสีแดงในภาพเป็นบริเวณของอาร์กติกที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่าๆกัน อาร์กติก (Arctic) เป็นพื้นที่ในบริเวณขั้วโลกเหนือ ซึ่งบริเวณของอาร์กติกนี้ประกอบไปด้วยพื้นที่บางส่วนของประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา, กรีนแลนด์ (ดินแดนของเดนมาร์ก), รัสเซีย, สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), ไอซ์แลนด์, นอร์เวย์, สวีเดน และฟินแลนด์ รวมถึงบริเวณของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาร์กติกจะเป็นพื้นที่กว้าง มหาสมุทรปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง พื้นที่รอบ ๆ ปราศจากพืชพันธุ์และผืนดินก็ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งเช่นเดียวกัน แต่กลับอุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ทั้งที่อาศัยอยู่ในน้ำแข็ง, ปลา,สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, นก และรวมถึงมนุษย์ด้วย ตามธรรมชาติของบริเวณอาร์กติกจะเป็นที่ที่แตกต่างจากที่อื่นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนที่อาศัยอยู่ในอาร์กติกจะมีการปรับตัวและใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความหนาวเหน็บและธรรมชาติอันโหดร้าย อาร์กติกจะมีความอ่อนไหวได้ง่ายมากจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา เช่น อุณหภูมิบนโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ความอ่อนไหวได้ง่ายนี้ทำให้อาร์กติกนี้ถูกมองเสมือนเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้แก่โลกของเรา คำว่า อาร์กติก มากจากภาษากรีกโบราณ αρκτος ซึ่งมีความหมายว่า หมี และยังอ้างอิงไปถึงกลุ่มดาวหมีใหญ่และหมีเล็กที่อยู่ใกล้กับดาวเหนือด้ว.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คแองเจิ้ล

อาร์คแองเจิ้ล (ASSAULT MOVEMENT SPECIAL EQUIPMENT WARSHIP) เป็นยานรบที่ปรากฏในอะนิเมะเรื่องกันดั้มซี้ด สร้างโดยกองทัพโลก (OMNI Enforcer) เดิมทียานลำนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำการรบในขั้นแตกหักกับฝ่ายซาฟท์ โดยตัวยานนั้นนับว่าใหญ่โตกว่ายานรบมาตรฐานทั่วไป เนื่องจากมีที่เก็บโมบิลสูทถึง 5 เครื่อง แถมยังสามารถเก็บโมบิลอาร์เมอร์ได้อีก 3 เครื่อง แต่ทว่าผู้ที่ตั้งใจจะใช้ยานลำนี้กลับเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก จากการจารกรรมอาวุธลับ (กันดั้ม) ของทหารฝ่ายซาฟท์ ผู้ที่เหลือรอดจึงเป็นนายทหารที่มียศไม่สูง แถมยังมาจากหลายหน่วยงานอีกด้วย แต่กัปตันเมอร์ริว และเหล่าลูกเรือก็ไม่ยอมปล่อยให้ยานลำนี้จมลง.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอาร์คแองเจิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 11

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 11 (America's Next Top Model, Cycle 11) เป็นฤดูกาลที่ 11 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลโดยความคิดริเริ่มของสุดยอดนางแบบและพิธีกรรายการโทรทัศน์ ไทรา แบงส์ ซึ่งทางรายการได้ออกอากาศเป็นครั้งที่ห้า ทางช่อง CW ในวันที่ 3 กันยายน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

ผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัส

ผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัส เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

'''จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว'''คือตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือจุดโฟกัสของการเกิดแผ่นดินไหว (ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว) จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (epicenter, epicentre จาก epicentrum หรือ ἐπίκεντρος) คือจุดบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว หรือจุดโฟกัส (ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางที่เกิดการถ่ายเทพลังงานเมื่อเกิดแผ่นดินไหว) ตามที่ได้นิยามไปข้างต้น จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเป็นจุดบนผิวโลกที่อยู่ในแนวดิ่งเหนือจุดที่รอยเลื่อนเกิดจากแตกหัก โดยทั่วไปจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวนี้จะเป็นจุดที่เกิดความเสียหายสูงสุดเนื่องจากแผ่นดินไหว อย่างไรก็ดีสำหรับในแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ๆ ความยาวของการแตกหักของรอยเลื่อนสามารถกินระยะทางที่ยาวกว่าและก่อให้เกิดความเสียหายตลอดรอยเลื่อน ตัวอย่างเช่นแผ่นดินไหวขนาด 7.9 ในปี 2545 ที่เดนาลี อะแลสกา ซึ่งมีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในบริเวณตะวันตกของรอยแตก แต่ความเสียหายสูงสุดกลับพบที่ระยะห่างออกไป 330 กิโลเมตรที่จุดสิ้นสุดของบริเวณรอยแตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหรัฐ

23x15px '''"ธงยูเนียนแจ็ค" (Union Jack)''' (50 ดาว) ใช้เป็นธงฉานกองทัพเรือสหรัฐ ค.ศ. 1777–2002 23x15px '''"ธงเฟิร์สเนวีแจ็ค" (First Navy Jack)''' ธงฉานกองทัพเรือสหรัฐในปัจจุบัน ธงชาติสหรัฐ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 10 ส่วน ยาว 19 ส่วน ภายในเป็นแถบสีแดงสลับขาวรวมกัน 13 ริ้ว เป็นริ้วสีแดง 7 ริ้ว สีขาว 6 ริ้ว ที่มุมบนด้านคันธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวจำนวน 50 ดวง เรียงกันตามแนวตั้งเป็นแถวดาว 6 ดวงสลับกับแถวดาว 5 ดวง รวมจำนวนทั้งหมด 9 แถว ธงนี้มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก 3 ชื่อ คือ "The Stars and Stripes" (ธงดาวและริ้ว) "Old Glory", และ "The Star-Spangled Banner" ซึ่งชื่อหลังสุดนี้ ยังเป็นชื่อของเพลงชาติสหรัฐอีกด้วย จำนวนของดาว 50 ดวงในพื้นสีน้ำเงิน หมายถึงรัฐต่าง ๆ สหรัฐทั้ง 50 รัฐ โดยจำนวนดาวจะเปลี่ยนแปลงทุกครั้งเมื่อมีการเพิ่มจำนวนรัฐในความปกครอง ริ้วสีแดงสลับขาวทั้ง 13 ริ้ว หมายถึงอาณานิคม 13 แห่งของสหราชอาณาจักรในอเมริกา ซึ่งได้ร่วมกันประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร และสถาปนาประเทศสหรัฐขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและธงชาติสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ธงรัฐอะแลสกา

งรัฐอะแลสกา เป็นธงพื้นหลังสีน้ำเงินเข้ม ประกอบด้วยดาวสีทอง 8 ดวง เรียงตัวกันตามกลุ่มดาวหมีใหญ่ โดยดาวเหนือ (ดวงที่อยู่มุมขวาบน) มีขนาดใหญ่กว่าดาวอีก 7 ดวงที่เหลือ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและธงรัฐอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบทสี่สี

แผนที่ที่ระบายด้วยสี 4 สี ทฤษฎีบทสี่สี (Four color theorem) กล่าวว่า แผนที่ทางภูมิศาสตร์สามารถระบายด้วยสี 4 สี ซึ่งไม่มีพื้นที่ที่อยู่ติดกันมีสีเดียวกันได้เสมอ เราเรียกพื้นที่ว่าติดกันก็ต่อเมื่อมันมีส่วนของขอบร่วมกัน ไม่ใช่แค่จุดร่วมกัน และพื้นที่แต่ละชิ้นจะต้องติดเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่ใช่แยกเป็นหลายๆ ส่วน อย่างมิชิแกน หรืออาเซอร์ไบจาน เป็นที่ประจักษ์ว่าสี 3 สีนั้นไม่เพียงพอ ซึ่งพิสูจน์ได้ไม่ยาก นอกจากนั้น เราสามารถพิสูจน์ได้ว่าสี 5 สีนั้นเพียงพอในการระบายแผนที่ ทฤษฎีบทสี่สี เป็นทฤษฎีบทแรกที่ถูกพิสูจน์ด้วยคอมพิวเตอร์ แต่การพิสูจน์นี้ไม่เป็นที่ยอมรับจากนักคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่ เพราะว่ามันไม่สามารถตรวจสอบด้วยคนได้ และบางคนถึงกับกังวลในความถูกต้องของตัวแปลภาษา (คอมไพเลอร์) และฮาร์ดแวร์ที่ใช้ทำงานโปรแกรมสำหรับการพิสูจน์ การขาดความสง่างามทางคณิตศาสตร์ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่ง ดังคำกล่าวอันหนึ่งว่า "บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ที่ดีเป็นดั่งบทกวี — แต่นี่มันคือสมุดจดเบอร์โทรศัพท์ชัดๆ!".

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทฤษฎีบทสี่สี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลชุกชี

แผนที่ตั้งทะเลชุกชี นักวิทยาศาสตร์บนน้ำแข็งในทะเลชุกชี ทะเลชุกชี (Чукотское мо́ре; Chukchi Sea) ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของทะเลทั้งหมดในประเทศรัสเซีย ทางตะวันออกติดกับอะแลสกา ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดกับทะเลเบริง กิจกรรมที่สำคัญบริเวณทะเลแห่งนี้คือการล่าแมวน้ำเพื่อการประมง และการล่าปลาคอร์ท.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทะเลชุกชี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบรูปแอก

ทะเลสาบรูปแอกคดเคี้ยว (สแกนดิเนเวีย) การก่อตัวของทะเลสาบรูปแอกในแม่น้ำโนวิทนาในอะแลสกา ทะเลสาบรูปแอก, บึงโค้ง หรือ กุด (oxbow lake) เป็นทะเลสาบหรือบึงที่มีรูปร่างโค้งเข้าหากัน เกิดจากการที่โค้งน้ำตวัดเปลี่ยนเส้นทางการไหลจากแนวโค้งเดิมเป็นลำน้ำสายใหม่ที่ตรง ทำให้ที่ดินบริเวณนั้นเป็นเกาะระยะหนึ่ง ต่อมาลำน้ำสายเก่าถูกตะกอนมาทับถมปิดหัวและท้ายจึงถูกตัดขาดกลายเป็นบึงที่มีลักษณะเป็นรูปแอก และทะเลสาบรูปแอกนี้จะถูกทำลายจากการทับถมของตะกอนชายฝั่งกลายมาเป็นที่ราบน้ำท่วมถึงเรียกว่า รอยบึงโค้ง (oxbow scar) ซึ่งเป็นที่ลุ่มน้ำขังชื้นแฉะต่อไป คำว่า "รูปแอก" ยังอาจใช้เรียกส่วนโค้งรูปตัวยูของแม่น้ำลำธาร โดยที่ส่วนโค้งนั้นไม่จำเป็นต้องถูกตัดขาดจากลำน้ำสายหลักก็ได้.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทะเลสาบรูปแอก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบอิลิแอมนา

ฝั่งทะเลสาบอิลิแอมนา ทะเลสาบอิลิแอมนา (Iliamna Lake, Lake Iliamna) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ทะเลสาบอิลิแอมนาตั้งอยู่ในทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา ทางเหนือจรดคาบสมุทรอะแลสกา ตั้งอยู่ระหว่างอ่าวควีแจ็กกับเวิ้งคุก ทะเลสาบอิลิแอมนา เป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดที่พบได้ในอะแลสกา และถือเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่เป็นอันดับแปดของสหรัฐอเมริกา และเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของทวีปอเมริกาเหนือ พื้นที่ทะเลสาบครอบคลุมพื้นที่กว่า 1,000 ตารางไมล์ มีความยาว 77 ไมล์ ความกว้าง 22 ไมล์ และจุดที่ลึกที่สุดลึกถึง 1,000 ฟุต โดยเฉลี่ยน้ำในทะเลสาบจะมีอุณหภูมิประมาณ 50 องศาฟาเรนไฮต์ (10 องศาเซลเซียส) ได้รับน้ำจากแม่น้ำควีแจ็ก และไหลออกสู่อ่าวบริสตอล คำว่า "อิลิแอมนา" มีความหมายว่า "ทะเลสาบปลาดำ" รอบ ๆ ทะเลสาบเป็นถิ่นที่อยู่ชนพื้นเมืองอะแลสกามานานกว่า 7,000 ปี โดยพื้นที่นี้เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและสัตว์น้ำนานาชนิด เช่น หมีกริซลีย์, ปลาแซลมอนซ็อกอาย เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นไม่กี่แห่งในโลกที่พบแมวน้ำน้ำจืดอยู่ด้วย โดยแมวน้ำจะว่ายมาจากทะเลมาทางอ่าวบริสตอล รวมทั้งอาจพบวาฬเบลูกา หรือวาฬขาวว่ายเข้ามาได้ด้วย ชนพื้นเมืองอะแลสกา มีความเชื่อว่า ณ ทะเลสาบแห่งนี้เป็นที่อยู่ของสัตว์ประหลาดขนาดใหญ่ ที่ลำตัวใหญ่พอที่จะชนเรือให้จม และทำให้ผู้คนจมน้ำตายได้ ซึ่งถ้าหากใครพบเจอสัตว์ประหลาดจะพบกับความอัปมงคลหรือถึงแก่ชีวิตในไม่ช้า ซึ่งมีผู้เคยตกปลา ณ ทะเลสาบแห่งนี้ ผูกสายเบ็ดของตนไว้กับตอไม้ขนาดใหญ่ ปรากฏว่า เมื่อปลาติดเบ็ดมันลากตอไม้นั้นทั้งตอลงในน้ำในแบบที่ทวนกระแสน้ำ รวมถึงมีผู้ที่เคยมองเห็นเงาดำของสัตว์ในน้ำขนาดใหญ่ เมื่อมองจากเครื่องบินด้วย ซึ่งสัตว์ประหลาดในทะเลสาบอิลิแอมนานี้ เชื่อว่า คือ ปลาไพก์เหนือ ซึ่งเป็นปลากินเนื้อขนาดใหญ่ที่มีฟันแหลมคมในปาก ที่อาศัยอยู่ในทะเลสาบ และปลาสเตอร์เจียนขาว ซึ่งเป็นปลาสองน้ำขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ที่เมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 20 ฟุต ก็อาศัยอยู่ในทะเลสาบแห่งนี้Alaskan Horror, "River Monsters" สารคดีทางแอนิมอลแพลเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: ศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทะเลสาบอิลิแอมนา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟ

ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟ (Crater lake) เป็นทะเลสาบที่เกิดขึ้นภายในปล่องภูเขาไฟ อย่างเช่น Maar หรือแคลดีรา บางครั้งอาจเรียกว่า ทะเลสาบแคลดีรา แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะไม่เรียกเช่นนั้น ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่อยู่ในปล่องของภูเขาไฟมีพลังอาจเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า Volcanic lakes และน้ำในทะเลสาบลักษณะนี้มักจะมีสภาพเป็นกรด เต็มไปด้วยแก๊สภูเขาไฟ และมีสีเขียวเข้ม ขณะที่ทะเลสาบที่ตั้งอยู่ในปล่องภูเขาไฟสงบหรือภูเขาไฟดับสนิทมักจะมีน้ำที่ใส และจะยิ่งใสมากเป็นพิเศษถ้าไม่มีธารน้ำและตะกอนไหลเข้ามา ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟเกิดขึ้นเมื่อหยาดน้ำฟ้าตกลงมาในแอ่ง ความลึกจะเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่งเกิดสมดุลระหว่างอัตราของน้ำที่เข้ามาและอัตราของน้ำที่เสียไปซึ่งอาจเกิดจากการระเหย การซึมลงใต้ดิน และอาจรวมถึงการไหลออกบนผิวดินหากระดับน้ำในทะเลสาบสูงถึงจุดที่ต่ำที่สุดของขอบแอ่ง ซึ่งการไหลออกบนผิวดินนี้อาจกัดเซาะสิ่งทับถมที่กั้นทะเลสาบไว้ และถ้าสิ่งทับถมนี้ถูกกัดเซาะอย่างรวดเร็ว ก็จะทำให้เกิด Lake breakout ขึ้นได้ ตัวอย่างของทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่มีชื่อเสียงคือ Crater Lake ซึ่งมีชื่อเดียวกับศัพท์ทางธรณีวิทยา ตั้งอยู่ในแคลดีราของ Mount Mazama (ดังนั้นชื่อ "Crater Lake" จึงเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นอย่างไม่ถูกต้อง) ในรัฐออริกอน สหรัฐอเมริกา จัดเป็นทะเลสาบที่ลึกที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีความลึก 594 เมตร น้ำใน Crater Lake มาจากฝนและหิมะเท่านั้น โดยไม่มีการไหลเข้าและออกที่ระดับผิวดิน ดังนั้นจึงเป็นทะเลสาบที่มีความใสมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก ภูเขาไฟที่สูงที่สุดในโลกคือ Ojos del Salado ซึ่งมีความสูง 6,893 เมตร มีทะเลสาบปล่องภูเขาไฟขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100 เมตร อยู่ที่ระดับความสูง 6,390 เมตรทางด้านตะวันออกของภูเขาไฟ อาจถือได้ว่าเป็นทะเลสาบที่อยู่ที่ระดับความสูงมากที่สุดในโลก ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟบางแห่งจะคงตัวอยู่เป็นพักๆเท่านั้นเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ผันแปร ขณะที่ทะเลสาบแคลดีราสามารถคงตัวอยู่ได้นานมาก ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบโทบาที่เกิดขึ้นเมื่อหลังจากภูเขาไฟระเบิดเมื่อประมาณ 70,000 ปีก่อน และมีพื้นที่มากกว่า 1,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟหลายแห่งอาจมีความงดงามดั่งวาด แต่ก็มีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่นแก๊สที่ปล่อยออกจาก Lake Nyos ทำให้มีผู้เสียชีวิตจากการขาดอากาศหายใจราว 800 คนเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทะเลสาบปล่องภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายโกบี

right ทะเลทรายโกบี (Говь, Gobi; 戈壁) ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศมองโกเลียตอนใต้กับเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ทางตอนเหนือของประเทศจีน โกบีเป็นทะเลทรายที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ทอดตัวเป็นแนวโค้งยาว 1,600 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 1.3 ล้านตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่พอ ๆ กับรัฐอะแลสกาของสหรัฐอเมริกา ทะเลทรายแห่งนี้ตั้งอยู่บนที่ราบสูงเหนือระดับน้ำทะเล 900-1,500 เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหินล้วนทางด้านตะวันออก ส่วนด้านตะวันตกเป็นทร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทะเลทรายโกบี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลโบฟอร์ต

ทะเลโบฟอร์ต (สีน้ำเงิน) ทะเลโบฟอร์ต (mer de Beaufort; Beaufort Sea) เป็นทะเลชายอาณาเขต ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางเหนือของยูคอนและรัฐอะแลสกา และทางตะวันตกของเกาะแบงส์ในกลุ่มเกาะอาร์กติก ทะเลตั้งชื่อตามนักอุทกศาสตร์ เซอร์ฟรานซิส โบฟอร์ต ทะเลมีส่วนลึกสุดที่ 4,683 เมตร หมวดหมู่:มหาสมุทรอาร์กติก หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในสหรัฐอเมริกา.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและทะเลโบฟอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน

วงอาทิตย์เที่ยงคืนที่ประเทศนอร์เวย์ ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน คือ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในฤดูร้อนของทวีปยุโรปและบริเวณใกล้เคียง ทางตอนเหนือของเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และตอนใต้ของเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ที่ดวงอาทิตย์ยังคงมองเห็นในเวลาเที่ยงคืน โดยมีโอกาสตามสภาพอากาศ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้สำหรับอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลและตอนใต้ของแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ดวงอาทิตย์เที่ยงคืนที่อาจเกิดขึ้นในจำนวนวันที่ไม่แน่นอน ไม่มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ถาวรทางตอนใต้ของขั้วโลกเหนือ ดังนั้นประเทศและดินแดนที่สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์เที่ยงคืนได้จะจำกัดให้คนข้ามเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล เช่น แคนาดา (ยูคอน, นูนาวุต), สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), เดนมาร์ค (กรีนแลนด์), นอร์เวย์, สวีเดน, ฟินแลนด์, รัสเซีย, ไอซ์แลนด์ โดยดินแดนของ นอร์เวย์ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลเป็นจุดที่ดวงอาทิตย์ไม่ได้ตกดินเป็นเวลายาวนานที่สุด (73 วัน) ในช่วงฤดู​​ร้อนในสฟาลบาร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดวงอาทิตย์เที่ยงคืน · ดูเพิ่มเติม »

ดาร์วิน (เมือง)

มืองดาร์วิน (Darwin) เป็นเมืองหลวงของดินแดนนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี ประเทศออสเตรเลีย เมืองดาร์วินนั้นเป็นย่านธุรกิจใจกลางเมืองของธุรกิจต่างๆ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 112 กม.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดาร์วิน (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 1

อะเมซิ่ง เรซ 1 (The Amazing Race 1) เป็นฤดูกาลที่ 1 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับฤดูกาลที่ 1 นี้ออกอากาศวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดิอะเมซิ่งเรซ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 12

อะเมซิ่ง เรซ 12 (The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยแทนที่รายการ Viva Laughlin ที่ถูกยกเลิก และตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดิอะเมซิ่งเรซ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 16

อะเมซิ่ง เรซ 16 (The Amazing Race 16) เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดิอะเมซิ่งเรซ 16 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 2

อะเมซิ่ง เรซ 2 (The Amazing Race 2) เป็นฤดูกาลที่ 2 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดิอะเมซิ่งเรซ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดิอะเมซิ่งเรซ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 9

อะเมซิ่ง เรซ 9 (The Amazing Race 9) เป็นฤดูกาลที่ 9 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดิอะเมซิ่งเรซ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนแทรกและดินแดนส่วนแยก

ดินแดนแทรก (enclave) หมายถึง ส่วนใด ๆ ของรัฐที่ถูกดินแดนของรัฐอื่นล้อมไว้ทั้งหมด ดินแดนส่วนแยก (exclave) คือ ส่วนของรัฐที่ถูกแยกทางภูมิศาสตร์จากส่วนหลักโดยดินแดนโดยรอบ ดินแดนส่วนแยกหลายแห่งยังเป็นดินแดนแทรกด้วย บางทีคำว่า ดินแดนแทรก ใช้อย่างไม่เหมาะสมหมายความถึงดินแดนที่ถูกรัฐอื่นล้อมไว้บางส่วน ตัวอย่างประเทศที่เป็นดินแดนแทรก คือ ซานมารีโนและเลโซโท ตัวอย่างดินแดนส่วนแยกมีสาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีชีวันและกัมปีโอเนดีตาเลีย (Campione d'Italia) ซึ่งกัมปีโอเนดีตาเลียยังเป็นดินแดนแทรกด้วย เกือบดินแดนแทรก (pene‑enclave) คือ ส่วนใด ๆ ของรัฐซึ่งมีเขตแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่นแต่ไม่ถูกรัฐอื่นหรือน่านน้ำอาณาเขตของรัฐอื่นล้อมไว้ทั้งหมด เกือบดินแดนส่วนแยก (pene‑exclave) เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐที่ถูกแยกทางภูมิศาสตร์จากส่วนหลักโดยพรมแดนทางบกกับอาณาเขตต่างด้าวแต่ไม่ถูกอาณาเขตหรือน่านน้ำอาณาเขตต่างด้าวล้อมไว้ทั้งหมด ตัวอย่างประเทศเกือบดินแดนแทรก เช่น โปรตุเกส, แคนาดา ตัวอย่างเกือบดินแดนส่วนแยก เช่น เฟรนช์เกียนา, มณฑลคาลินินกราด, รัฐอะแลสกา ซึ่งรัฐอะแลสกายังเป็นเกือบดินแดนแทรกด้วย คำว่า เขตเข้าไม่ถึง (inaccessible district) ในที่นี้ เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ถูกแยกจากส่วนหลักอย่างสมบูรณ์โดยดินแดนต่างด้าว แต่สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายเฉพาะโดยผ่านดินแดนต่างด้าว หมวดหมู่:ดินแดนแทรกและดินแดนส่วนแยก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและดินแดนแทรกและดินแดนส่วนแยก · ดูเพิ่มเติม »

ความพิถีพิถัน (จิตวิทยาบุคลิกภาพ)

วามพิถีพิถัน (Conscientiousness)) เป็นลักษณะบุคลิกภาพ (personality trait) ที่บุคคลแสดงความละเอียดลออ ความระมัดระวัง หรือความรอบคอบ เป็นลักษณะที่แสดงถึงความต้องการที่จะทำอะไรให้ดี คนที่พิถีพิถันจะมีประสิทธิภาพและมีระเบียบ เปรียบเทียบกับคนทำอะไรง่าย ๆ หรือไม่มีระเบียบ จะโน้มเอียงไปในการมีวินัย การทำตามหน้าที่ และการตั้งเป้าหมายเพื่อความสำเร็จ จะมีพฤติกรรมแบบวางแผนแทนที่จะทำอะไรแบบทันทีทันใด และโดยทั่วไปเป็นคนที่เชื่อถือไว้ใจได้ เป็นลักษณะที่มักจะแสดงออกเป็นความเรียบร้อย การทำอะไรอย่างเป็นระบบ ความระมัดระวัง และความละเอียดรอบคอบ ความพิถีพิถันเป็นลักษณะหนึ่งในลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือที่เรียกว่าแบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (Five Factor) คนที่พิถีพิถันมักจะขยันทำงานและเชื่อถือได้ และมักจะเป็นคนทำตามกฎระเบียบประเพณีด้วย แต่ถ้าเป็นอย่างนี้อย่างสุด ๆ ก็อาจจะเป็นคนบ้างาน เป็นคนทุกอย่างต้องเพอร์เฝ็กต์ และเป็นคนย้ำคิดย้ำทำ โดยเปรียบเทียบ คนที่ไม่พิถีพิถันมักจะเป็นคนง่าย ๆ ไม่มีเป้าหมาย และไม่มีแรงจูงใจจะทำอะไรให้สำเร็จ และมีโอกาสที่จะมีพฤติกรรมต่อต้านสังคมและก่ออาชญากรรม.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและความพิถีพิถัน (จิตวิทยาบุคลิกภาพ) · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรอะแลสกา

มุทรอะแลสกา คาบสมุทรอะแลสกา (Alaska Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่มีความยาวราว 800 กม.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและคาบสมุทรอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรซูเอิร์ด

คาบสมุทรซูเอิร์ด คาบสมุทรซูเอิร์ด (Seward Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางฝั่งตะวันตกของรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ระหว่างอ่าวคอตเซบิวซาวนด์ทางตอนเหนือกับอ่าวนอร์ตันซาวนด์ทางตอนใต้ ยาว 330 กิโลเมตร กว้าง 145-225 กิโลเมตร แหลมพรินซ์ออฟเวลส์ซึ่งอยู่ทางตอนปลายสุดด้านตะวันตกของคาบสมุทรยื่นออกไปในทะเลเบริง ถือเป็นจุดตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:คาบสมุทร.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและคาบสมุทรซูเอิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

คาลีโบ

ลีโบ, (อักลัน: Banwa it Kalibo; ฮีลีไกโนน: Banwa sang Kalibo; Bayan ng Kalibo) เป็นเทศบาลระดับที่ 1 และเป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดอักลัน ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและคาลีโบ · ดูเพิ่มเติม »

ตราประธานาธิบดีสหรัฐ

ตราประธานาธิบดีสหรัฐ (Seal of the President of the United States) เป็นตราที่ใช้บนหนังสือโต้ตอบจากประธานาธิบดีสหรัฐไปถึงรัฐสภาสหรัฐ และใช้เป็นเครื่องหมายแทนความเป็นประธานาธิบดี รูปตรงกลางออกแบบตามมหาลัญจกรสหรัฐ ถือเป็นตราอาร์มอย่างเป็นทางการสำหรับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ และใช้บนธงประธานาธิบดีสหรัฐ ตราประธานาธิบดีนี้พัฒนาขึ้นด้วยประเพณีผ่านห้วงเวลายาวนาน ก่อนจะกำหนดไว้ในกฎหมาย ความเป็นมาแต่แรกเริ่มของตราดวงนี้ยังไม่อาจชี้ชัดได้The Eagle and the Shield, p. 409 ประวัติการนำมาใช้งานสามารถย้อนหลังไปได้ถึง..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและตราประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกตะวันตก

ซีกโลกตะวันตก ซีกโลกตะวันตกเป็นคำทางภูมิศาสตร์หมายถึง ครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่ทางตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรก (ลากผ่านกรีนิช สหราชอาณาจักร) และทางตะวันออกของเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา (แอนติเมอริเดียน) ส่วนอีกครึ่งหนึ่งเรียก ซีกโลกตะวันออก ในความหมายนี้ ซีกโลกตะวันตกประกอบด้วยทวีปอเมริกา ส่วนตะวันตกของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปลายสุดฝั่งตะวันออกของประเทศรัสเซีย ดินแดนต่าง ๆ ในโอเชียเนียและบางส่วนของแอนตาร์กติกา แต่ไม่รวมบางส่วนของหมู่เกาะอะลูเชียนที่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา ในความพยายามนิยามซีกโลกตะวันตกว่าเป็นส่วนของโลกซึ่งมิใช่ส่วนหนึ่งของโลกเก่า ยังมีการใช้เส้นเมอริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก และเส้นเมอริเดียนที่ 160 องศาตะวันออกซึ่งอยู่ตรงข้ามนิยามซีกโลกตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและซีกโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยโดยตรง

การชุมนุมตามกระบวนการประชาธิปไตยโดยตรงที่เรียกว่า Landsgemeinde ในแคนทอนกลารุสปี พ.ศ. 2549 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประชาธิปไตยโดยตรง (direct democracy) หรือ ประชาธิปไตยบริสุทธิ์ (pure democracy.) เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ประชาชนตัดสินการริเริ่มออกกฎหมาย/นโยบายต่าง ๆ โดยตรง ไม่ว่าจะโดยออกเสียงลงคะแนนหรือลงประชามติเป็นต้น ซึ่งต่างจากรัฐประชาธิปไตยปัจจุบันโดยมากอันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ที่ประชาชนออกเสียงเลือกผู้แทนเพื่อทำหน้าที่ริเริ่มแล้วออกเสียงตัดสินนโยบายอีกทอดหนึ่ง ในระบอบนี้ ประชาชนอาจมีอำนาจการตัดสินใจทางฝ่ายบริหาร ริเริ่มแล้วตัดสินการออกกฎหมายทางฝ่ายนิติบัญญัติ เลือกตั้งและถอดถอนเจ้าหน้าที่ และดำเนินการทางฝ่ายตุลาการ ประชาธิปไตยโดยตรงมีรูปแบบหลัก ๆ สองอย่างคือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและประชาธิปไตยโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียน

ปลาสเตอร์เจียน (Sturgeon, Oсетр, 鱘) ปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่ในวงศ์ Acipenseridae ในอันดับ Acipenseriformes อาศัยได้อยู่ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เมื่อยังเล็กจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ทะเลสาบหรือตามปากแม่น้ำ แต่เมื่อโตขึ้นจะว่ายอพยพสลงสู่ทะเลใหญ่ และเมื่อถึงฤดูวางไข่ก็จะว่ายกลับมาวางไข่ในแหล่งน้ำจืด ปลาสเตอร์เจียน เป็นปลาที่มนุษย์ใช้เป็นอาหารมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งไข่ปลา ที่เรียกว่า คาเวียร์ ซึ่งนับเป็นอาหารราคาแพงที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ปลาสเตอร์เจียน มีรูปร่างคล้ายปลาฉลาม มีหนามแหลมสั้น ๆ บริเวณหลัง หัว และเส้นข้างลำตัวไว้เพื่อป้องกันตัว มีหนวดทั้งหมด 2 คู่อยู่บริเวณปลายจมูก ปลายหัวแหลม ปากอยู่ใต้ลำตัว ลำตัวไม่มีเกล็ด ภายในปากไม่มีฟัน ตามีขนาดเล็ก ซึ่งหนวดของปลาสเตอร์เจียนนี้มีหน้าที่สัมผัสและรับคลื่นกระแสไฟฟ้าขณะที่ว่ายน้ำ เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่ด้านใต้ของลำตัว เพราะฉะนั้นหนวดเหล่านี้มีหน้าที่เหมือนมือที่คอยสัมผัสกับสิ่งของที่อยู่ข้างใต้ของตัวเอง หากินตามพื้นน้ำโดยอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ สเตอร์เจียนจะพบแต่เฉพาะซีกโลกทางเหนือซึ่งเป็นเขตหนาวเท่านั้น ได้แก่ ทวีปเอเชียตอนเหนือและตะวันออก, ทวีปยุโรปตอนเหนือ และทวีปอเมริกาเหนือตอนบน เช่น อะแลสกา, แคนาดา และบางส่วนในสหรัฐอเมริกา สถานะปัจจุบันของปลาชนิดนี้ในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์เต็มที แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในบางชนิด ปลาสเตอร์เจียน มีทั้งหมด 27 ชนิด ใน 3 สกุล โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลาฮูโซ่ (Huso huso) พบในรัสเซีย สามารถโตเต็มที่ได้ถึง 5 เมตร หนักกว่า 900 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวถึง 210 ปี นับเป็นปลาที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลก เท่าที่มีการบันทึกมา และเป็นชนิดที่ให้ไข่รสชาติดีที่สุดและแพงที่สุดด้วย ส่วนชนิดที่เล็กที่สุดคือ ปลาสเตอร์เจียนแคระ (Pseudoscaphirhynchus hermanni) ที่โตเต็มที่มีขนาดไม่ถึง 1 ฟุตเสียด้วยซ้ำ นอกจากนี้แล้ว ปลาสเตอร์เจียนยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ในประเทศไทย ปลาสเตอร์เจียนชนิด ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย (Acipenser baerii) ได้มีการทดลองเลี้ยงในโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ดอยคำ อันเป็นโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่อำเภอเวียงแหง ที่หน่วยวิจัยประมงบนพื้นที่สูงดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผลการทดลองเป็นไปได้อย่างดี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปลาสเตอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิก

ปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาสเตอร์เจียนขาว (Pacific sturgeon, White sturgeon; หมายถึง "ปลาสเตอร์เจียนที่ใหญ่กว่าภูเขา") เป็นปลาสเตอร์เจียนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาสเตอร์เจียนชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในเขตน้ำเย็นของชายฝั่งอ่าวมอนเทอเรย์ของทวีปอเมริกาเหนือ หมู่เกาะอาลิวเชียน ทะเลสาบอิลลิแอมนาในรัฐอะแลสกา แม่น้ำโคลอมเบียในแคนาดา ไปจนถึงแคลิฟอร์เนียตอนกลาง ใต้ส่วนหัวมีหนวดใช้สำหรับสัมผัสหาอาหารใต้น้ำเป็นอาหาร 4 เส้น กินอาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กทั่วไป และสัตว์น้ำมีกระดอง เช่น ปู กุ้ง และหอย ส่วนหัวมีเส้นประสาทเป็นจำนวนมาก ข้างลำตัว ส่วนหัว และส่วนหลังมีกระดูกยื่นออกมาโดยรอบใช้สำหรับป้องกันตัว จัดเป็นปลาสองน้ำจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ทะเลสาบ หรือบริเวณปากแม่น้ำในวัยอ่อน แต่เมื่อโตขึ้นจะว่ายอพยพลงสู่ทะเลบริเวณชายฝั่ง และเมื่อถึงฤดูวางไข่ก็จะว่ายกลับมาวางไข่ในแหล่งน้ำจืดอีกครั้ง ปลาสเตอร์เจียนขาวนับเป็นปลาสเตอร์เจียนที่มีความใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับ ปลาสเตอร์เจียนฮูโซ่ (Huso huso) และนับเป็นปลาสเตอร์เจียนที่มีความใหญ่ที่สุดที่อยู่ในสกุล Acipenser ด้วย โดยเคยมีบันทึกไว้ว่าตัวที่ใหญ่ที่สุดยาวถึง 20 ฟุต และน้ำหนักถึง 816 กิโลกรัม เชื่อว่ามีอายุยืนยาวได้นานถึง 200 ปี จัดเป็นปลาเศรษฐกิจและนิยมตกกันเป็นเกมกีฬา นอกจากนี้แล้ว ปลาสเตอร์เจียนขาวยังสามารถกระโดดขึ้นเหนือน้ำได้ด้วยเมื่อตกใจ ทั้ง ๆ ที่มีขนาดใหญ่เช่นนี้ เป็นสาเหตุที่ทำให้เรือของชาวประมงและชาวพื้นเมืองอับปาง และมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ จึงทำให้ได้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสัตว์ประหลาดแห่งทะเลสาบอิลลิแอมนา โดยที่ชาวพื้นเมืองมีความเชื่อหากได้พบเจอกับสัตว์ประหลาดตัวนี้แล้วจะพบกับความหายน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปลาสเตอร์เจียนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามแซลมอน

ปลาฉลามแซลมอน (lamma ditropis) เป็นสายพันธุ์ของอันดับปลาฉลามขาวพบได้ในภาคเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ปลาฉลามแซลมอนมักชอบล่า ปลาแซลมอน,หมึกกล้วย,ปลาหิมะและปลาอื่นๆปลาฉลามแซลมอนยังมีความสามารถในการรักษาอุณหภูมิร่างกาย (homeothermy).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปลาฉลามแซลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอน

วาดปลาแซลมอนชนิดต่าง ๆ ปลาแซลมอน http://www.royin.go.th/th/webboardnew/answer.php?GroupID.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปลาแซลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนชินูก

ปลาแซลมอนชินูก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Oncorhynchus tshawytscha) เป็นสปีชีส์ที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสกุลปลาแซลมอนแปซิฟิก ตั้งชื่อตามชาวชินูก ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่เคยอาศัยอยู่ชายฝั่งแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ปลาแซลมอนชินูกยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก คือ คิงแซลมอน, ปลาแซลมอนควินแนต และ ปลาแซลมอนใบไม้ผลิ ปลาแซลมอนชินูกเป็นปลาน้ำกร่อยซึ่งกระจายพันธุ์อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ตลอดจนเครือข่ายแม่น้ำในภาคตะวันตกของอเมริกาเหนือ ตั้งแต่รัฐแคลิฟอร์เนียไปจนถึงรัฐอะแลสกา และยังกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปเอเชียบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่นไปจนถึงบริเวณทะเลไซบีเรียตะวันออกของรัสเซีย อย่างไรก็ตาม ปลาสายพันธุ์นี้ก็ยังพบได้ในส่วนอื่น ๆ ของโลกได้เช่นกัน อาทิในนิวซีแลนด์, ภูมิภาคปาตาโกเนีย เป็นต้น ปลาแซลมอนชินูกถือเป็นปลาเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง และมีกรดไขมันโอเมกา-3 ในปริมาณที่สูงซึ่งเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ผลิตปลาแซลมอนชินูกได้มากที่สุดโดยทำตลาดในชื่อว่า "คิงแซลมอน" ใน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปลาแซลมอนชินูก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนแปซิฟิก

ปลาแซลมอนแปซิฟิก (Pacific salmon) เป็นสกุลของปลาเศรษฐกิจสกุลหนึ่ง จำพวกปลาแซลมอน ใช้ชื่อสกุลว่า Oncorhynchus จัดอยู่ในวงศ์ Salmonidae อันดับ Salmoniformes โดยที่คำว่า Oncorhynchus มาจากภาษากรีกคำว่า nkos หมายถึง "ตะขอ" และ rynchos หมายถึง "จมูก" ซึ่งมาจากการที่ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้ม และมีส่วนปลายปาก (จมูก) งองุ้มเป็นดั้งขอ เป็นปลาแซลมอนที่กระจายพันธุ์อยู่ในตอนเหนือของแคลิฟอร์เนียตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก พบได้ตั้งแต่อาร์กติก, อลาสกา, ทะเลเบริง, สหรัฐอเมริกา, เม็กซิโก จนถึงญี่ปุ่น เป็นปลาที่กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เป็นปลาที่ต้องการแหล่งน้ำที่สะอาด มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง น้ำมีอุณหภูมิเย็นและไหลแรงซึ่งมักพบตามปากแม่น้ำต่าง ๆ ขณะที่ปลาเมื่ออยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรก็มักจะว่ายตามผิวน้ำ และเช่นเดียวกับปลาแซลมอนสกุลและชนิดอื่น ๆ ที่เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ จะว่ายกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่ในแหล่งน้ำจืด อันเป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม แม้จะไกลแค่ไหนก็ตาม โดยแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการวางไข่และเติบโตต่างกัน บางชนิดลูกปลาอาจใช้เวลา 5-7 เดือน ขณะที่บางชนิดอาจต้องใช้เวลานานถึง 1 ปี ในการอาศัยในแหล่งน้ำจืด จึงจะว่ายกลับไปยังทะเล และใช้ระยะเวลาการเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 2-4 ปี แต่ทั้งหมดก็ต้องอาศัยการวางไข่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเหมือนกัน เป็นปลาแซลมอนที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด ที่เป็นชนิดที่สำคัญ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปลาแซลมอนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปะการัง

ปะการัง หรือ กะรัง เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทะเล จัดอยู่ในชั้นแอนโธซัวและจัดเป็นพวกดอกไม้ทะเล มีขนาดเล็กเรียกว่าโพลิฟ แต่จะอาศัยรวมกันอยู่เป็นโคโลนีที่ประกอบไปด้วยโพลิฟเดี่ยว ๆ จำนวนมาก เป็นกลุ่มที่สร้างแนวปะการังที่สำคัญพบในทะเลเขตร้อนที่สามารถดึงสารแคลเซียมคาร์บอเนตจากน้ำทะเลมาสร้างเป็นโครงสร้างแข็งเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยได้ หัวของปะการังหนึ่ง ๆ โดยปรกติจะสังเกตเห็นเป็นสิ่งมีชีวิตเดี่ยวๆอันหนึ่ง แต่ที่จริงนั้นมันประกอบขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตเดี่ยวๆขนาดเล็กนับเป็นพัน ๆ โพลิฟโดยในทางพันธุ์ศาสตร์แล้วจะเป็นโพลิฟชนิดพันธุ์เดียวกันทั้งหมด โพลิฟจะสร้างโครงสร้างแข็งที่มีลักษณะเฉพาะของปะการังแต่ละชนิด หัวของปะการังหนึ่งๆมีการเจริญเติบโตโดยการสืบพันธุ์แบบไม่ใช้เพศของโพลิฟเดี่ยวๆ แต่ปะการังก็สามารถสืบพันธุ์ออกลูกหลานโดยการใช้เพศกับปะการังชนิดเดียวกันด้วยการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์พร้อม ๆ กันตลอดหนึ่งคืนหรือหลาย ๆ คืนในช่วงเดือนเพ็ญ แม้ว่าปะการังจะสามารถจับปลาและสัตว์เล็ก ๆ ขนาดแพลงตอนได้โดยใช้เข็มพิษ (เนมาโตซิสต์) ที่อยู่บนหนวดของมัน แต่ส่วนใหญ่แล้วปะการังจะได้รับสารอาหารจากสาหร่ายเซลล์เดียวที่สังเคราะห์แสงได้ที่เรียกว่าซูแซนทาลา นั่นทำให้ปะการังทั้งหลายมีการดำรงชีวิตที่ขึ้นตรงต่อแสงอาทิตย์และจะเจริญเติบโตได้ในน้ำทะเลใสตื้น ๆ โดยปรกติแล้วจะอาศัยอยู่บริเวณที่มีความลึกน้อยกว่า 60 เมตร ปะการังเหล่านี้ถือว่าเป็นผู้สร้างโครงสร้างทางกายภาพของแนวปะการังที่พัฒนาขึ้นมาในทะเลเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนอย่างเช่นเกรตแบริเออร์รีฟบริเวณนอกชายฝั่งของรัฐควีนส์แลนด์ของประเทศออสเตรเลีย แต่ก็มีปะการังบางชนิดที่ดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกี่ยวข้องกับสาหร่ายเนื่องจากอยู่ในทะเลลึกอย่างในมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ปะการังสกุล “โลเฟเลีย” ที่อยู่ได้ในน้ำเย็นๆที่ระดับความลึกได้มากถึง 3000 เมตร ตัวอย่างของปะการังเหล่านี้สามารถพบได้ที่ดาร์วินมาวด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเคพแวร็ธในสก๊อตแลนด์ และยังพบได้บริเวณนอกชายฝั่งรัฐวอชิงตันและที่หมู่เกาะอะลูเชียนของอะแลสก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

ปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี

ปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี (Петропа́вловск-Камча́тский) เป็นเมืองใหญ่เพียงแห่งเดียวบนคาบสมุทรคัมชัตคาและเป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของคัมชัตคาไครทางตะวันออกไกลของรัสเซีย มีประชากรราว ๆ 180,000 คนหรือกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรในดินแดนคัมชัตคาไครทั้งหมด ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี · ดูเพิ่มเติม »

ปูจักรพรรดิ

ปูจักรพรรดิ หรือ คิงแครบ (King crab, ชื่อวงศ์: Lithodidae) เป็นวงศ์ปูชนิดหนึ่ง มักพบในเขตน้ำเย็น เนื่องจากมีขนาดตัวที่ใหญ่และเนื้อมาก ประกอบกับมีรสชาติดี ทำให้ผู้คนนิยมรับประทาน จึงมีราคาค่อนข้างสูง ทั้งนี้ 90% ของปูจักรพรรดิที่ซื้อขายกันในท้องตลาดคือพันธุ์ ปูแดงจักรพรรดิ (Paralithodes camtschaticus) ที่มักจับได้ในแถบอลาสกา และ ชิลี ปล้องและกระดองของปูวงศ์นี้มีหนามอยู่ทุกส่วน แต่ความแข็งของปล้องจะน้อยกว่าปล้องของปูม้.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและปูจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

นกกะรางหัวขวาน

นกกะรางหัวขวาน เป็นนกขนาดกลาง มีสีสวย มีลักษณะเด่นที่จำง่ายคือมีหงอน (หัวขวาน) คล้ายหมวกของพวกอินเดียแดง พบทั่วทั้งทวีปแอฟริกาและยูเรเชียพร้อมทั้งทั่วประเทศไทย เป็นสปีชีส์เดียวของวงศ์ Upupidae ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีสปีชีส์ย่อยเฉพาะเกาะเซนต์เฮเลนา (ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้) ที่สูญพันธ์ไปแล้ว และเฉพาะเกาะมาดากัสการ์ที่บางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ของตนเอง ชื่อสกุลภาษาละตินว่า Upupa คล้ายกับชื่อภาษาอังกฤษว่า "hoopoe" (อ่านว่า ฮูพู) โดยเป็นชื่อเลียนเสียงร้องของนก นกกะรางหัวขวานเป็นนกประจำชาติของประเทศอิสราเอล เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนกกะรางหัวขวาน · ดูเพิ่มเติม »

นกกา

นกกา หรือ อีกา (Crow) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก เป็นนกชนิดหนึ่งอยู่ในสกุล Corvus ในวงศ์นกกา (Corvidae) พบกระจายพันธุ์ทั่วโลก ยกเว้นในทวีปอเมริกาใต้ มีลักษณะเฉพาะตัวคือมีสีขนสีดำสนิทเป็นเงามันเลื่อม อยู่รวมกันเป็นกลุ่มและออกหากินเวลากลางวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวันที่แดดแรง กาจะหาอาหารโดยการซ่อนตัวในเงาของต้นไม้ สำหรับการจู่โจมเหยื่อ นกกามีลักษณะเหมือนนกอีกประเภทหนึ่งชื่อ นกเรเวน ซึ่งเป็นนกที่มีสีดำเหมือนกัน นอกจากนี้แล้ว นกกายังถือว่าเป็นนกที่มีอายุขัยเฉลี่ยสูงถึง 90 ปี ซึ่งนับว่าสูงกว่าสัตว์ใหญ่อย่างช้างเสียอีก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนกกา · ดูเพิ่มเติม »

นกแสก

นกแสก หรือ นกแฝก หรือ นกเค้าหน้าลิง (Barn owl, Common barn owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งในวงศ์นกแสก (Tytonidae) วงศ์ย่อย Tytoninae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tyto alba จัดเป็น 1 ชนิดในจำนวน 19 ชนิดของนกในอันดับนกเค้าแมวที่พบได้ในประเทศไทย และนับเป็นนกแสกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 1 ชนิดนั้นคือ นกแสกแดง).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนกแสก · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าแมวหิมะ

นกเค้าแมวหิมะ หรือ นกเค้าหิมะ (Snowy owl) นกล่าเหยื่อชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) นกเค้าแมวหิมะจัดเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่น คือ ขนตามลำตัวเป็นสีขาวล้วนสะอาด มีหัวกลมสีเหลือง ดวงตากลมโตสีดำ, สีฟ้า หรือสีเหลือง เท้ามีขนมาก ขนตามลำตัวโดดเด่นด้วยสีขาวแต้มด้วยบางส่วนสีดำเป็นแถบแนวนอนหรือลายจุด นกตัวเมียและนกวัยที่ยังไม่โตเต็มที่จะมีจุดดำขึ้นตามลำตัวมากกว่า ในขณะที่ตัวผู้เป็นสีขาวเกือบทั้งหมด และสีขนอาจเปลี่ยนไปตามฤดูกาลเพียงเล็กน้อย ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 51–68.5 เซนติเมตร (20–27 นิ้ว) ในขณะที่ตัวเมียประมาณ 66 เซนติเมตร (26 นิ้ว) ความยาวปีกประมาณ 137–164 เซนติเมตร (54–65 นิ้ว) เมื่อกางออก 137–164 เซนติเมตร (54–65 นิ้ว) น้ำหนักประมาณ 1,134–2,000 กรัม (40–70 ออนซ์) ตัวเมียประมาณ 1,707 กรัม (60 ออนซ์) ตัวผู้ประมาณ 1,612 กรัม (57 ออนซ์) จัดเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลก นกเค้าแมวหิมะ พบกระจายพันธุ์ในแถบซีกโลกทางตอนเหนือ เช่น เขตทุนดราทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือและยุโรปตอนเหนือบริเวณใกล้กับขั้วโลกเหนือ, วงกลมอาร์กติก หรือสแกนดิเนเวีย หากินช่วงกลางวันตั้งแต่เช้าถึงค่ำ มีความแข็งแรงและมั่นคงบินมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว บินสั้น ๆ ใกล้พื้นดิน นกเค้าแมวหิมะมีความก้าวร้าวเมื่อทำรังวางไข่ นกเค้าแมวหิมะทำรังบนพื้นดินที่เป็นทุ่งหญ้าในช่วงฤดูร้อนของเขตอาร์กติก TUNDRA, "Wildest Arctic" สารคดีทางแอนิมอลแพลนเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: จันทร์ที่ 30 ธันวาคม 2556วางไข่ครั้งละ 6–8 หรือ 10 ฟอง โดยไข่ฟองแรกจะฟักเป็นตัวก่อนฟองสุดท้ายประมาณ 2 สัปดาห์ ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันดูแลไข่และลูกนก พ่อแม่นกจะฉีกเหยื่อเป็นชิ้น ๆ ก่อนจะป้อนให้ จนกว่าลูกนกจะโตพอแล้วจึงจะกลืนกินทั้งตัว จนกระทั่งลูกนกอายุได้ 6 สัปดาห์จึงพอจะช่วยเหลือตัวเองได้ นกเค้าแมวหิมะมีพฤติกรรมการเลี้ยงลูกนกต่างจากนกล่าเหยื่อชนิดอื่น ๆ ตรงที่จะดูแลลูกนกตัวที่อ่อนแอที่สุดด้วยโดยไม่ทอดทิ้ง เมื่อลูกนกค่อย ๆ โตขึ้น จะมีขนสีเทาขึ้นปกคลุมลำตัว และพ่อแม่นกจะทิ้งลูกนกให้อยู่ตามลำพังมากขึ้น ลูกนกเค้าแมวหิมะจะเริ่มหัดบินก่อนที่จะเข้าสู่ฤดูหนาว มีพฤติกรรมในการล่าเหยื่อด้วยการเฝ้ารอ หรือกระทั่งติดตามเหยื่อ ส่วนใหญ่มักล่าเหยื่อในเวลากลางวัน เหยื่อมีทั้งถูกจับบนพื้นและในอากาศ เหยื่อขนาดเล็กจะถูกกลืนทั้งหมด เหยื่อขนาดใหญ่จะถูกฉีกเป็นชิ้นใหญ่ กินอาหารจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือสัตว์เลือดอุ่นขนาดเล็ก เช่น นก, หนูเลมมิ่ง, กระรอก, กระต่าย, เป็ด, ห่าน หรือแม้กระทั่งลูกของหมาป่าหรือหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก แต่จะไม่ล่าใกล้รังของนกชนิดอื่น แต่ขณะเดียวกันไข่นกหรือลูกนกก็ถูกรังควาญจากหมาป่าหรือหมาจิ้งจอกด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนกเค้าแมวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1952

นางงามจักรวาล 1952 (Miss Universe 1952) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 1 จัดขึ้นในวันที่ 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนางงามจักรวาล 1952 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1959

นางงามจักรวาล 1959 (Miss Universe 1959) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 8 จัดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนางงามจักรวาล 1959 · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์ผิวขรุขระ

นิวต์ผิวขรุขระ (Rough-skinned newt; ชื่อวิทยาศาสตร์: Taricha granulosa) เป็นนิวต์อเมริกาเหนือที่รู้จักกันดีว่ามีพิษร้ายแรง ขณะยังไม่โตเต็มวัย จะอาศัยอยู่บนพื้นดินเป็นเวลา 4 หรือ 5 ปีหลังจากเมตามอร์โฟซิส แต่ตัวเต็มวัยสามารถอาศัยอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้ำ วางไข่ในน้ำ สัตว์ประเภทนี้ถูกพบมากเป็นพิเศษหลังจากเกิดฝนตกหนัก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนิวต์ผิวขรุขระ · ดูเพิ่มเติม »

นิวเบดฟอร์ด

นิวเบดฟอร์ด (New Bedford) เป็นเมืองในบริสทอลเคาน์ตี รัฐแมสซาชูเซตส์, สหรัฐอเมริกา จากข้อมูล ประชากรในปี ค.ศ. 2010 เมืองมีประชากร 95,072 คน เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 6 ของรัฐแมสซาชูเซตส์ ในช่วงศตวรรษที่ 19 เป็นเมืองสำคัญในการเดินเรือและล่าวาฬ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและนิวเบดฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

แพขยะใหญ่แปซิฟิก

gyre) หนึ่งในห้าของโลก แพขยะใหญ่แปซิฟิก (Great Pacific Garbage Patch) ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า แพขยะตะวันออก หรือ วงวนขยะแปซิฟิก (Pacific Trash Vortex) คือวงวนใหญ่ของขยะมหาสมุทร (marine litter) ที่อยู่ส่วนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือตำแหน่งประมาณ 135 -135° ตะวันตก ถึง 155-155° ตะวันตก และเส้นขนานที่ 35° เหนือ ถึงเส้นขนานที่ 42° เหนือ และประมาณขนาดใหญ่ได้เป็น 2 เท่าของเนื้อที่รัฐเท็กซัสซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับประเทศไทย แพขยะมีลักษณะของการรวมตัวอย่างเข้มของขยะพลาสติกและขยะอื่นที่ถูกกักรวมได้ด้วยกระแสวงวนใหญ่แปซิฟิกเหนือ แม้ขนาดแพขยะนี้จะมีขนาดใหญ่มหาศาลและหนาแน่นแต่ก็ไม่อาจเห็นได้จากดาวเทียมเนื่องจากตัวขยะทั้งหมดอยู่ใต้หรือใกล้ผิวน้ำ.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแพขยะใหญ่แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยูคอน

แม่น้ำยูคอน (Yukon River) เป็นแม่น้ำสายหลักทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอเมริกาเหนือ มีต้นกำเนิดอยู่ในรัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ไหลผ่านดินแดนยูคอน และส่วนปลายแม่น้ำไหลในรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา แม่น้ำมีความยาว 1,980 ไมล์ (3,190 กม.) ไหลลงทะเลเบริงบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมยูคอน-คัสโคกวิม แม่น้ำมีอัตราการไหลเฉลี่ยที่ 6,430 ม³/วิ (227,000 ฟุต³/วิ) ครอบคลุมพื้นที่การไหลของน้ำ 832,700 กม² (321,500 ไมล์²) โดยมีพื้นที่ 323,800 กม² (126,300 ไมล์²) ในแคนาดา หรือหากนำมาเปรียบเทียบแล้ว ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 25% ของรัฐเทกซัสหรือรัฐแอลเบอร์ต.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแม่น้ำยูคอน · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี แซงเจอร์

แลร์รี แซงเจอร์ ลอว์เรนซ์ มาร์ก "แลร์รี" แซงเจอร์ (Lawrence Mark "Larry" Sanger) (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 —) เคยเป็นผู้จัดเตรียมสารานุกรมออนไลน์หลายเว็บไซต์ รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย แลร์รี แซงเจอร์ เกิดที่เมือง เบลเลวิว รัฐวอชิงตัน และโตที่เมือง แองโคเรจ รัฐอะแลสกา ได้รับปริญญาตรีสาขาปรัชญาที่ มหาวิทยาลัยรีด และปริญญาเอกในสาขาเดิมที่ มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต หัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาตรีของเขาชื่อ Descartes' methods and their theoretical background และวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขานั้นกล่าวถึง Epistemic Circularity: An Essay on the Problem of Meta-Justification ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 แลร์รีประกาศจะเริ่มโครงการเว็บไซต์สารานุกรมตัวใหม่แยกตัวออกมาจากวิกิพีเดียในชื่อว่า ซิติเซนเดียม.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแลร์รี แซงเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2554

รายการแผ่นดินไหวในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 6,904 ครั้ง แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

แทนะนอ

แทนะนอ (Tanana) เป็นเมืองในรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแทนะนอและแม่น้ำยูคอน เมืองมีพื้นที่ 15.6 ตร.ไมล์ (40 ตร.กม.) เป็นผืนดิน 11.6 ตร.ไมล์ (30 ตร.กม.) เป็นผืนน้ำ 4.0 ตร.ไมล์ (10 ตร.กม.) หรือคิดเป็น 25.80% จากข้อมูลประชากรในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแทนะนอ · ดูเพิ่มเติม »

แคดโบโรซอรัส

ภาพถ่ายของแคดโบโรซอรัส เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1937 แคดโบโรซอรัส หรือ แคดโบโรซอรัส วิลซี่ (Cadborosaurus, Cadborosaurus willsi; キャディ) เป็นชื่อเรียกของสิ่งที่เชื่อว่าเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่คล้ายงูทะเลที่อาศัยอยู่ในทะเลแถบแวนคูเวอร์และคาบสมุทรโอลิมปิกในแคนาดา และมีรายงานพบที่บริเวณใกล้เคียงกับออริกอนและอะแลสกา โดยมีรายงานแรกเกี่ยวกับแคดโบโรซอรัส เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1734 ระหว่างเดินทางไปเกาะกรีนแลนด์ของมิชชันนารีชาวนอร์เวย์ ฮานส์ เอดจ์ บันทึกว่า เขาได้พบเห็นงูทะเลที่น่ากลัวขนาดใหญ่ ชูคอขึ้นเหนือน้ำ จะงอยปากของมันแหลมยาว มันว่ายน้ำในวงกว้างและรายกายของมันก็ปกคลุมด้วยรอยเหี่ยวย่น เมื่อดำลงไปใต้น้ำมันก็ยกหางขึ้น โดยมีความยาวของลำตัวประมาณเท่ากับเรือที่เขาโดยสาร นับตั้งแต่นั้นมา ก็มีรายงานการพบเห็นสิ่งมีชีวิตลึกลับคล้ายคลึงกันนี้อย่างต่อเนื่อง ในปี ค.ศ. 1937 กัปตันฮักลันด์และลูกเรือได้ผ่าท้องของวาฬสเปิร์มขนาดใหญ่ และพบซากของสิ่งที่คล้ายกับ แคดโบโรซอรัส เขาได้ถ่ายรูปไว้ทั้งหมด 38 ภาพ และทำรายงานส่งไปยังพิพิธภัณฑ์ แต่ที่พิพิธภัณฑ์ ได้จำแนกว่ามันเป็นซากตัวอ่อนของวาฬบาลีน อย่างไรก็ตามมีการตั้งข้อสงสัยว่า ซากจริง ๆ อาจสูญหายไปก่อนการทำการตรวจสอบ โดยสงสัยว่าซากที่แท้จริงอาจถูกส่งไปที่แห่งใดสักแห่ง เพื่อปกปิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่างไรก็ตาม นักชีววิทยาและศาสตราจารย์ทางด้านสมุทรศาสตร์ เอ็ดเวิร์ด แอล.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแคดโบโรซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แซราห์ เพลิน

แซราห์ ลูอิส (เฮลท์) เพลิน (อ่านว่า เพ-ลิน) (Sarah Louise Palin; เกิด 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐอลาสกา และผู้สมัครชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551 เพลินถูกเลือกเป็นผู้ว่าการรัฐในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและแซราห์ เพลิน · ดูเพิ่มเติม »

โกฐจุฬาลัมพาไทย

กฐจุฬาลัมพาไทย มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่าmugwort หรือ common wormwood เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Artemisia บางครั้งเรียกว่า felon herb, chrysanthemum weed, wild wormwood, old Uncle Henry, sailor's tobacco, naughty man, old man หรือ St.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและโกฐจุฬาลัมพาไทย · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902

รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902 หรือรู้จักกันในชื่อ KAL 902 หรือ KE 902 เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ ของเกาหลี เดินทางด้วยเครื่องโบอิง 707 ทะเบียน HL7429 จากปารีส ฝรั่งเศส มุ่งหน้าสู่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป โซล ประเทศเกาหลีใต้ โดยมีกำหนดแวะพักเติมน้ำมันที่ท่าอากาศยานนานาชาติเทด สตีเวนส์ เมืองแองคอเรจ อะแลสกา สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2521 มีผู้โดยสาร 97 คน ลูกเรือ 12 คน เครื่องบินมุ่งหน้าไปทางทิศเหนือ ผ่านฐานทัพแคนาดาที่เมืองอเลิร์ท (Alert) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเอลสเมียร์ ใกล้ขั้วโลกเหนือ จากนั้นจึงปรับเส้นทางบินทางทิศใต้ มุ่งหน้าสู่แองคอเรจ แต่เกิดความผิดพลาดเนื่องจากเครื่องบินไม่ได้ติดตั้งระบบ Inertial navigation system ทำให้นักบินเกิดการหลงทิศ มุ่งหน้าไปทางเมืองเมอร์มานส์ สหภาพโซเวียต (68°58′N 33°5′E) แทนที่จะเป็นเมืองแองคอเรจ (61°13′N 149°53′W) แผนที่แสดงเส้นทางบิน โซเวียตส่งเครื่องบินขับไล่ซู-15 (Su-15) ขึ้นสกัดกั้น และสั่งให้นักบินยิงเครื่องให้ตก (ระบบเตือนภัยของโซเวียตระบุว่าเครื่องบินลำนี้เป็นเครื่องบินสอดแนม โบอิง RC-135 ซึ่งมีแบบแผนใกล้เคียงกับเครื่องโบอิง 707) นักบินซู-15 พยายามแจ้งฐานทัพว่าเครื่องบินนี้เป็นเครื่องบินพลเรือน แต่ฐานทัพยังคงยืนยันคำสั่ง จึงได้ยิงมิสไซล์ R-60 ออกไป 2 ลูก ทำความเสียหายให้กับปีกซ้าย ความดันภายในเครื่องลดลง และมีผู้โดยสารเสียชีวิต 2 คน 40 นาทีถัดมา เวลา 23.05 น. เครื่องบินถูกบังคับให้ลงจอดฉุกเฉินบนทะเลสาบน้ำแข็ง Korpijärvi ทางทิศใต้ของเมืองเมอร์มานส์ ใกล้ชายแดนฟินแลนด์ และได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยกู้ภัยของโซเวียต ผู้โดยสารทั้งหมดถูกกักตัวเป็นเวลาสองวันจึงได้รับการปล่อยตัว โดยสารเครื่องบินแพนแอมจากเมอร์มานส์ ไปเฮลซิงกิ และต่อเที่ยวบินไปโซลในที.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902 · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรโซม

รโซม (Pyrosomes) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์น้ำที่อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง และไฟลัมย่อยยูโรคอร์ดาตา จัดอยู่ในสกุล Pyrosoma นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อสามัญเรียกว่า "แตงกวาดองทะเล" (Sea pickles) ไพโรโซม เป็นสัตว์ที่มีลำตัวโปร่งใส ลำตัวยาวเหมือนกรวยขนาดยาว สามารถเรืองแสงเป็นสีฟ้าหรือเขียวได้ เป็นสัตว์ที่หายาก แต่เป็นสัตว์ที่ไม่มีกะโหลกหรือขากรรไกรหรือกล้ามเนื้อ จึงไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง แต่จะล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ไพโรโซมเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของสัตว์ขนาดเล็กลักษณะเหมือนแมงกะพรุนคือ "ซูอิก" (Zooid) จำนวนนับพันตัวรวมตัวกันอยู่ โดยเฉลี่ยแล้วจะมีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร หรือ 60 เซนติเมตร หรือแม้แต่มีความยาวแค่ไม่กี่เซนติเมตร แต่ก็มีการพบตัวที่มีความยาวถึง 30 หรือ 35 เมตร ขนาดเทียบเท่ากับวาฬขนาดใหญ่เลยทีเดียว ไพโรโซม กินสาหร่ายขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองได้ด้วยตาเปล่าเป็นอาหาร รวมถึงแพลงก์ตอน เป็นสัตว์ที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ แต่ทว่าสร้างความรำคาญให้แก่อุตสาหกรรมประมง โดยเฉพาะการประมงในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสามารถเกาะคลุมอุปกรณ์ประมงได้ ทำให้ไม่สามารถจับปลาได้ หากมีเป็นจำนวนมาก อาจต้องทำให้เรือประมงบางลำต้องย้ายที่ประมงหนี โดยบริเวณชายฝั่งของแคลิฟอร์เนียไม่เคยมีรายงานการพบไพโรโซมมาก่อนเลย จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและไพโรโซม · ดูเพิ่มเติม »

ไมอาซอรา

มอาซอรา (Maiasaura) เป็นไดโนเสาร์ปากเป็ดชนิดหนึ่ง มีชื่อเสียงในการเลี้ยงลูก จัดอยู่ในพวกออร์นิทิสเชียน ในปี..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและไมอาซอรา · ดูเพิ่มเติม »

ไทรออปส์

ทรออปส์ (Triops) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกสัตว์ขาปล้องประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในไฟลัมครัสตาเซียนเช่นเดียวกับ กุ้ง หรือ ปู และอยู่ในอันดับ Notostraca ในวงศ์ Triopsidae ไทรออปส์ เป็นสัตว์น้ำขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด มีรูปร่างประหลาดคล้ายแมงดาทะเล จึงมีผู้เรียกว่า "แมงดาทะเลน้ำจืด" หรือ "กุ้งไดโนเสาร์" เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาตั้งแต่ยุคคาร์บอนิฟอรัส ราว 300 ล้านปีมาแล้ว จัดได้ว่าเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตอีกจำพวกหนึ่งได้ ไทรออปส์ จัดอยู่ในสกุล Triops แบ่งออกได้ทั้งสิ้น 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและไทรออปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซบีเรียนฮัสกี

ซบีเรียนฮัสกี (Siberian Husky; Сибирский хаски, Sibirskiy Haski) เป็นสุนัขขนาดกลาง ขนฟูแน่น จัดอยู่ในกลุ่มสุนัขใช้งาน มีต้นกำเนิดทางตะวันออกของไซบีเรีย เพาะพันธุ์มาจากสุนัขในวงศ์สปิตซ์ มีลักษณะขน 2 ชั้นฟูแน่น, หางรูปเคียว, หูเป็นรูปสามเหลี่ยมตั้งชัน และลายที่เป็นลักษณะเฉพาะ ไซบีเรียนฮัสกีเป็นสุนัขที่แข็งแรง คล่องแคล่ว เต็มไปด้วยพลัง และยืดหยุ่น เป็นคุณสมบัติที่สืบทอดจากบรรพบุรุษที่มาจากสิ่งแวดล้อมที่หนาวเย็นอย่างรุนแรงของไซบีเรีย และจากการเพาะพันธุ์ของชาวชุกชี (Chukchi) ที่อาศัยอยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชีย สุนัขถูกนำเข้ามาในอะแลสกา ระหว่างช่วงตื่นทองที่เมืองโนม (Nome) และแพร่เข้าสู่สหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดาในฐานะสุนัขลากเลื่อน ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นสุนัขเลี้ยงตามบ้านในภายหลังอย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและไซบีเรียนฮัสกี · ดูเพิ่มเติม »

เกาะทะนากา

กาะทะนากา (Tanaga Island) เป็นเกาะในหมู่เกาะแอนดรีแอนอฟตะวันตก ส่วนหนึ่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะอะลูเชียน ในรัฐอะแลสกา เกาะมีพื้นที่ 204 ตร.ไมล์ (530 ตร.กม.) เป็นเกาะที่มีพื้นที่อันดับ 33 ของสหรัฐอเมริกา บนเกาะมีภูเขาไฟที่ยังทรงพลังอยู่ มีน้ำตกใหญ่หลายแห่ง หมวดหมู่:เกาะในสหรัฐอเมริกา.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเกาะทะนากา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแอตตู

กาะแอตตู (Attu) เป็นเกาะทางตะวันตกและเกาะที่ใหญ่ที่สุดของหมู่เกาะเนียร์ ในหมู่เกาะอะลูเชียน ของรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา และเป็นจุดที่อยู่ทางตะวันตกของรัฐอะแลสกา และของสหรัฐอเมริกา รวมถึงตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ ปัจจุบันไม่มีคนอยู่อาศัย ในสมัยก่อนเคยเป็นที่อยู่อาศัยอย่างรุ่งเรืองของชนพื้นเมืองเผ่าอะลิวต..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเกาะแอตตู · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแคโรไลน์

กาะแคโรไลน์ (Caroline Island) หรือ แคโรไลน์อะทอลล์ (Caroline Atoll) บ้างเรียก เกาะมิลเลนเนียม (Millennium Island) และ เกาะเบสซีซา (Beccisa Island) เป็นเกาะปะการังวงแหวนไร้คนอาศัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะไลน์ใต้ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง ชาวยุโรปพบเกาะนี้ครั้งแรกเมื่อประมาณ..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเกาะแคโรไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ

้นขนานที่ 55 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ

้นขนานที่ 65 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 65 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 22 ชั่วโมง 2 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 3 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ

ในเกาะวิกตอเรีย, แคนาดา เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือมีความหมายเป็นเส้นแบ่งเขตส่วนหนึ่ง ระหว่างนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ (สีเขียว) กับ นูนาวุต (สีขาว) เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 70 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ และยังลากผ่านบางส่วนของทะเลใต้ของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง 0 นาที ในระหว่างครีษมายัน และเห็นแต่แสงสนทยาทั่วไปในช่วงเหมายัน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์

แผนที่เมอร์เคเตอร์ระหว่างละติจูด 82°เหนือ และ 82°ใต้ เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ คือการแสดงแผนที่ลูกโลกบนพื้นผิวสัมผัสทรงกระบอก ซึ่งได้รับการนำเสนอในปี ค.ศ. 1569 โดยเกราร์ดุส แมร์กาตอร์ นักภูมิศาสตร์และนักทำแผนที่ชาวเฟลมิช เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์มีคุณสมบัติในการรักษาทิศทาง จึงสามารถแสดงเส้นทิศทางที่แน่นอนใด ๆ ให้เป็นเส้นตรงลงบนแผนที่ เท่ากับเป็นการรักษาค่าของมุมที่ทำกับเส้นเมริเดียน อีกทั้งยังรักษารูปร่างของวัตถุบนแผนที่ให้มีลักษณะรูปร่างคงเดิม นอกจากนี้เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ยังมีคุณสมบัติในการรักษาอัตราส่วนของระยะทางในทุกทิศทางจากจุดใดจุดหนึ่งให้มีค่าเท่ากันตลอดทั้งแผนที่ ซึ่งการรักษาคุณสมบัติต่าง ๆ เหล่านี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการใช้งานสำหรับการเดินเรือในทะเล การแสดงแผนที่แบบนี้จะมีการขยายขนาดของวัตถุเกิดขึ้น เมื่อละติจูดมีค่าสูงขึ้นนับจากจากเส้นศูนย์สูตรไปยังขั้วโลกเหนือหรือขั้วโลกใต้ ยกตัวอย่างเช่น กรีนแลนด์และแอนตาร์กติก เมื่อแสดงลงบนแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์จะมีขนาดใหญ่กว่าในความเป็นจริงเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับแผ่นพื้นทวีปที่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร หรืออะแลสกาเมื่อปรากฏบนแผนทื่จะมีขนาดเท่าประเทศบราซิล ซึ่งในความเป็นจริง บราซิลมีขนาดใหญ่กว่าอะแลสกาถึง 5 เท่า (ถีงแม้จะถูกขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้น แต่ลักษณะรูปร่างยังคงเดิม) เป็นต้น ภาพแสดงการใช้พื้นผิวทรงกระบอกในการแสดงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ ภาพแสดงขนาดของกรีนแลนด์และออสเตรเลียในความเป็นจริง แต่ในการแสดงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ กรีนแลนด์จะปรากฏขนาดที่ใหญ่เทียบเท่าออสเตรเลี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก สำหรับเขตเวลาอลาสก้า เส้นนี้เป็นฐานของเวลาสุริยะเฉลี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นนี้เป็นเส้นแบ่งพื้นที่รับผิดชอบระหว่างศูนย์เฮอร์ริเคนแห่งชาติกับศูนย์เฮอร์ริเคนแปซิฟิกกลาง ในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 34 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 146 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 33 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 32 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 148 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 31 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 149 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ (ทั้งหมดอยู่ภายในรัฐอลาสก้า) มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้ มีความหมายเป็นเส้นเขตแดนทางตะวันออกสุดของดินแดนอ้างสิทธิ์ของนิวซีแลนด์ โดยดินแดนต่อมาในด้านตะวันออกไม่ได้ถูกอ้างสิทธิ์โดยชาติใด เส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออก สำหรับเขตเวลาฮาวาย-อะลูเชียน เส้นนี้เป็นฐานของเวลาสุริยะเฉลี.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 158 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 11 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 10 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 9 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 8 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 172 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 7 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 7 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 173 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 6 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 6 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 174 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 5 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 175 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 4 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 4 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 176 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 3 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 3 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 1 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 1 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 179 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา

'''เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา''' เส้นแบ่งเขตวันสากลจะซิกแซกอยู่รอบ ๆ เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา หรือ แอนติเมริเดียน คือเส้นเมริเดียนซึ่งอยู่ ณ ตำแหน่ง 180° ตะวันออกหรือตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรก ซึ่งใช้เป็นเส้นหลักของเส้นแบ่งเขตวันสากลเพราะส่วนใหญ่ของเส้นลากผ่านมหาสมุทรแปซิฟิก อย่างไรก็ตามเส้นเมริเดียนนี้ยังลากผ่านรัสเซียและฟิจิ รวมทั้งแอนตาร์กติกาด้วย เส้นนี้เริ่มต้นจากขั้วโลกเหนือมุ่งหน้าลงไปทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาลากผ่านพื้นที่ดังนี้ ! Width.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวออสเปร

หยี่ยวออสเปร (Osprey, Sea hawk, Fish eagle) เป็นนกล่าเหยื่อที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ ยาว 60 เซนติเมตร ช่วงปีกกว้าง 2 เมตร ขนส่วนบนเป็นสีน้ำตาล ศีรษะและส่วนล่างมีสีค่อนข้างเทา มีสีดำบริเวณตาและปีก เหยี่ยวออสเปรมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชอบทำรังใกล้กับแหล่งน้ำ แม้ว่าในทวีปอเมริกาใต้จะเป็นเพียงแค่นกอพยพนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ก็ถือว่าสามารถพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา เหยี่ยวออสเปรกินปลาเป็นอาหาร จึงพัฒนาลักษณะทางกายภาพเฉพาะและแสดงพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อช่วยในการล่าและการจับเหยื่อ จึงส่งผลให้มีสกุลและวงศ์เป็นของตนเองคือ สกุล Pandion และ วงศ์ Pandionidae มี 4 สปีชีส์ย่อยที่ได้รับการยอมรับ แม้จะมีนิสัยชอบในการทำรังใกล้แหล่งน้ำ แต่เหยี่ยวออสเปรก็ไม่ใช่อินทรีทะเล.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเหยี่ยวออสเปร · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกา

หยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกา (American Kestrel) หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า Sparrow Hawk (เหยี่ยวนกกระจอก) เป็นเหยี่ยวปีกแหลมขนาดเล็ก และเป็นเหยี่ยวเคสเตรลชนิดเดียวที่พบในทวีปอเมริกา เป็นเหยี่ยวปีกแหลมที่พบมากในทวีปอเมริกาเหนือและพบในถิ่นอาศัยหลากหลายรูปแบบ ด้วยความยาว 19 - 21 เซนติเมตร มันจึงเป็นเหยี่ยวปีกแหลมขนาดเล็กที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกามีลักษณะต่างกันในสองเพศ ทั้งขนาดและชุดขน แม้ว่าทั้งสองเพศจะมีสีขนค่อนข้างแดงที่หลังที่เห็นได้ชัด นกวัยอ่อนมีชุดขนคล้ายนกโตเต็มวัย เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกาล่าเหยื่อโดยการบินร่อนกลางอากาศด้วยการกระพือปีกอย่างรวดเร็ว และสอดส่ายสายตาพบพื้นเพื่อหาเหยื่อ ปกติจะกินตั๊กแตน, กิ้งก่า, หนู, และนกขนาดเล็กเป็นอาหาร เหยี่ยวทำรังในโพรงบนต้นไม้ หน้าผา อาคาร และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ตัวเมียวางไข่ครั้งละสามถึงเจ็ดใบ พ่อและแม่ช่วยกันกกไข่ เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกาเป็นนกที่ใช้ในกีฬาล่าเหยื่อด้วยนกตระกูลเหยี่ยว โดยเฉพาะผู้เริ่มต้น พิสัยการผสมพันธุ์วางไข่เริ่มจากตอนกลางและตะวันตกของรัฐอะแลสกาข้ามไปยังตอนเหนือของประเทศแคนาดาถึงรัฐโนวาสโกเชีย และลงไปทางใต้ตลอดทวีปอเมริกาเหนือ ในตอนกลางประเทศเม็กซิโกและแคริบเบียน มันเป็นนกประจำถิ่นในอเมริกากลางและตลอดทั่วทวีปอเมริกาใต้ นกส่วนมากที่ผสมพันธุ์วางไข่ในประเทศแคนาดาและตอนเหนือของสหรัฐอเมริกาจะอพยพลงใต้เมื่อฤดูหนาว พบนกอพยพหลงบางครั้งในทางตะวันตกของยุโรป.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-15 อีเกิล

อฟ-15 อีเกิล (F-15 Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ทางยุทธวิธีทุกสภาพอากาศที่ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่ครองความได้เปรียบทางอากาศ มันถูกพัฒนาให้กับกองทัพอากาศสหรัฐและได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเอฟ-15 อีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-22 แร็พเตอร์

อฟ-22 แร็ปเตอร์ (F-22 Raptor) เครื่องบินเอฟ-22 เป็นเครื่องบินเจ๊ตขับไล่ที่มีแผนจะนำมาใช้ปฏิบัติการครองอากาศทดแทนเครื่องบินเอฟ-15 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาได้กำหนดความต้องการเครื่องบินขับไล่ยุทธวิธีขั้นก้าวหน้า (Advanced Tactical Fighter) ต่อมาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ 2529 จึงได้คัดเลือกเครื่องบินต้นแบบจากสองกลุ่มบริษัทได้แก่ กลุ่มเจนเนอรัล ไดนามิกส์/ล็อกฮีด/โบอิง (เจเนอรัล ไดนามิกส์ ควบรวมกับล็อกฮีดในภายหลัง) ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 กับกลุ่มแมคดอนเนลล์ ดักลาส/นอร์ทธอป ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-23 เพื่อดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2534 กองทัพอากาศสหรัฐฯตัดสินใจเลือกเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ในการดำเนินการ เครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบนานกว่า 54 เดือน โดยมีการทดลองบินกว่า 74 เที่ยวบิน รวมเวลา 91.6 ชั่วโมง ทดสอบติดตั้งและยิงจรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศ ไซด์ไวน์เดอร์ และ แอมแรม การเติมน้ำมันกลางอากาศ ทดสอบปรับแรงขับของเครื่องยนต์ขณะบิน ระบบอิเล็กทรอนิกส์อากาศ (Avionics) การทดสอบและปรับปรุงห้องนักบินโดยการทดลองใช้จริงร่วมกับกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐฯ และการทดสอบวัดขนาดพื้นที่สะท้อนเรดาร์กับขนาดจริงของเครื่องบิน ส่วนการทดสอบเครื่องยนต์ต้นแบบมีอยู่ 2 แบบคือ เครื่องยนต์ต้นแบบ วายเอฟ-119 ของบริษัทแพรทท์แอนด์วิทนีย์ และ เครื่องต้นแบบวายเอฟ 120 ของบริษัท เจนเนอรัล อิเล็คทริก ผลการตัดสินของกองทัพอากาศสหรัฐ ได้เลือกเครื่องยนต์ต้นแบบวายเอฟ-119 สำหรับใช้กับเครื่องบินขับไล่ เอฟ-22อินทรีย์ สีเทา,แทงโก นิตยสารเพื่อคนรักการบินและเทคโนโลยี, มูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,กรุงเทพฯ,ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 เมษายน 2540,หน้า 84.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเอฟ-22 แร็พเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจเรมี เวด

รมี เวด (Jeremy Wade) เกิดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 ที่ซัฟฟอล์ก ประเทศอังกฤษ มีชื่อเต็มว่า เจเรมี จอห์น เวด (Jeremy John Wade) เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรและนักตกปลาจากรายการ River Monsters ที่ออกอากาศทางช่องแอนิมอลแพลนเน็ต (ในประเทศไทยออกอากาศทางช่องดิสคัฟเวอรี ทางทรูวิชันส์) เวดจบการศึกษาด้านสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยบริสตอล และประกาศนียบัตรการเรียนการสอนด้านชีววิทยาจากมหาวิทยาลัยเคนท์ เคยทำงานเป็นครูสอนวิชาชีววิทยาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา และได้เขียนบทความเกี่ยวกับเรื่องทางธรรมชาติและการท่องเที่ยวลงในหนังสือพิมพ์ฉบับต่าง ๆ ปัจจุบัน เจเรมี เวด เป็นพิธีกรและนักตกปลาแบบสุดเหวี่ยงในรายการโทรทัศน์ชุด River Monsters อันเป็นรายการสารคดีที่เดินทางไปในแม่น้ำสายต่าง ๆ ทั่วโลก อาทิ แอฟริกา, อะแลสกา, ประเทศไทย เพื่อตกปลาน้ำจืดขนาดใหญ่หลายชนิด ซึ่งบางชนิดมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย ซึ่งหลายต่อหลายครั้ง เวดต้องเสี่ยงตายและได้รับบาดเจ็บจากการตกปลาในรายการ เช่น เครื่องบินตกในหนองน้ำที่บราซิล, เกือบถูกฟ้าผ่าที่สุรินัม, เย่อกับปลากระเบนราหูจนเอ็นแขนขวาขาดที่ประเทศไทย, เป็นไข้ป่าใจกลางป่าคองโก เป็นต้น สถานะทางครอบครัว ปัจจุบันเวดยังคงเป็น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเจเรมี เวด · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑล

น์ตี (county) เป็นหน่วยย่อยของการปกครองในหลายประเทศ มีไว้เพื่อการบริหารท้องถิ่นตลอดจนการอื่นที่จำเป็นThe Chambers Dictionary, L. Brookes (ed.), 2005, Chambers Harrap Publishers Ltd, Edinburgh คำ เคาน์ตี มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า conté (กงเต) แปลว่าเขตการปกครองภายใต้เจ้าต่างกรมหรือขุนนางระดับเคานต์The Oxford Dictionary of English Etymology, C. W. Onions (Ed.), 1966, Oxford University Press เคาน์ตีในแต่ละประเทศมีฐานะการปกครองที่แตกต่างกันไม่เป็นแบบเดียวกันเสียทีเดียว จึงต้องพิจารณาถึงฐานะการปกครองเสียก่อนจึงเทียบให้เข้ากับระบบการปกครองของไทย ในสหรัฐอเมริกา เคาน์ตีมักเรียกว่า เทศมณฑล มีฐานะรองลงจากรัฐ (ซึ่งมีรัฐบาลอิสระจากรัฐบาลกลาง) แต่ใหญ่กว่าหมู่บ้านหรือเมือง แต่ในสหราชอาณาจักร เคาน์ตีมีฐานะเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดประจำ รวมทั้งมีสภาจังหวัดและ/หรือสภาอำเภอ (กรมการอำเภอ) ปกครอง ในประเทศต่าง ๆ นอกจากนี้ คำ เคาน์ตี จะหมายถึงหน่วยการปกครองที่แตกต่างกันออกไป (โปรดดูรายละเอียดในบทความ).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเทศมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

UTC−08:00

UTC−08: สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC−08:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง ใช้ใน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและUTC−08:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC−09:00

UTC−9 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง ใช้ใน.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและUTC−09:00 · ดูเพิ่มเติม »

1 E+12 m²

1 E+12 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 1,000,000 ถึง 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 1 ล้านตารางกิโลเมตร ---- ประเทศอียิปต์ มีพื้นที่ประมาณ 1 ล้าน ตร.กม. ดวงจันทร์ไททาเนีย ของดาวยูเรนัส มีพื้นที่ 7.8 ล้าน ตร.กม. สหรัฐอเมริกา มีพื้นที่ 9.82 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ1 E+12 m² · ดูเพิ่มเติม »

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ18 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ30 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐอะแลสกาและ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Alaskaมลรัฐอลาสกามลรัฐอลาสก้ามลรัฐอะแลสการัฐอลาสก้าอลาสกาอลาสก้าอะลาสกาอะลาสก้าอะแลสกา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »