สารบัญ
138 ความสัมพันธ์: ชลิตรัตน์ จันทรุเบกษาชาญชัย อิสระเสนารักษ์บารัก โอบามาพ.ศ. 2493พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนพอล อาร์. อับรามสัน (นักรัฐศาสตร์)พงศ์โพยม วาศภูติกอบกุล นพอมรบดีการพัฒนาการเมืองการกล่อมเกลาทางการเมืองการศึกษาองค์การการทำให้เป็นประชาธิปไตยภาควิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มลรัฐ (คำศัพท์)มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิกมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยฮาวายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยปาร์มามหาวิทยาลัยโตเกียวมักซ์ เวเบอร์มานุษยวิทยาสังคมมงแต็สกีเยอระบบพ่อปกครองลูกรัฐกิจราชสีห์รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายการสาขาวิชารายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.ริวตะโร ฮะชิโมะโตะฤทธิ์ ลือชาลัทธิคอมมิวนิสต์ลิขิต ธีรเวคินวชิราวุธวิทยาลัยวัฒนธรรมทางการเมืองวัดคุ้งตะเภาวันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมันวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาศาสตร์วิเชียร ฤกษ์ไพศาลศรชัย มนตริวัตศุภชัย โพธิ์สุ... ขยายดัชนี (88 มากกว่า) »
ชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา
นายชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา หรือ เสี่ยหม่อง อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โฆษกพรรคชาติพัฒนา และอดีตผู้อำนวยการเลือกตั้งพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.
ดู รัฐศาสตร์และชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา
ชาญชัย อิสระเสนารักษ์
นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2496) อดีตรองประธานอนุกรรมาธิการ ด้านกลไกการปราบปรามการทุจริต คณะกรรมาธิการวิสามัญป้องกันและปราบปรามการทุจริต สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.
ดู รัฐศาสตร์และชาญชัย อิสระเสนารักษ์
บารัก โอบามา
รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู รัฐศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน
ระเจ้าซ็อนโจ (선조 宣祖) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซ็อนองค์ที่ 14 (พ.ศ. 2110 ถึง พ.ศ. 2151) รัชสมัยของพระองค์เป็นเวลาที่วิกฤตที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีและมีเหตุการณ์สำคัญหลายอย่าง ทั้งการรุกรานของญี่ปุ่นและการแบ่งฝ่ายของกลุ่มซานิมออกเป็นฝ่ายตะวันออก และฝ่ายตะวันตก ที่จะส่งผลต่อการเมืองอาณาจักรโชซ็อนไปอีกหลายร้อยปี แม้ว่าในสมัยของพระเจ้าซ็อนโจจะมีผู้มีความสามารถมากมาย เช่น ลีซุนชิน ลีฮวาง ลีอี แต่ความแตกแยกก็ทำให้โชซ็อนต้องเผชิญกับศึกหนัก องค์ชายฮาซง เป็นพระโอรสขององค์ชายทอกกึง ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงกับพระสนมอันชางบิน เป็นองค์ชายธรรมดาที่ห่างไกลจากราชบัลลังก์และไม่มีขุนนางใดสนับสนุนให้มีอำนาจ แต่ในพ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน
พอล อาร์. อับรามสัน (นักรัฐศาสตร์)
อล อาร.
ดู รัฐศาสตร์และพอล อาร์. อับรามสัน (นักรัฐศาสตร์)
พงศ์โพยม วาศภูติ
นายพงศ์โพยม วาศภูติ ประธานกรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน 2559 อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และพงศ์โพยม วาศภูติ
กอบกุล นพอมรบดี
นางกอบกุล นพอมรบดี (หรือนามสกุลเดิม ศักดิ์สมบูรณ์) (13 ตุลาคม พ.ศ. 2502 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี พรรคไทยรักไทย และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดคนแรกของจังหวัดราชบุรี เป็นลูกพี่ลูกน้องของนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นบุตรีของกำนันเล็ก และนางน้ำเงิน ศักดิ์สมบูรณ์ สมรสกับนายมานิต นพอมรบดี มีบุตรธิดาทั้งหมด 3 คน นางกอบกุลเสียชีวิตโดยถูกคนร้ายยิงด้วยอาวุธปืนหลังชนะการเลือกตั้งครั้งที่ 2 ในปี..
ดู รัฐศาสตร์และกอบกุล นพอมรบดี
การพัฒนาการเมือง
การพัฒนาการเมือง (อังกฤษ: Political Development) เป็นคำที่เริ่มใช้กันในวงวิชาการรัฐศาสตร์เมื่อทศวรรษที่ 1960 โดยพัฒนามาจากการเรียนการสอนวิชาการเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics) การพัฒนาการเมืองใช้เป็นมาตรฐานทางความเชื่อในทางการเมืองในเรื่องที่ว่า การเมืองในประเทศต่างๆต่างก็สามารถพัฒนาเข้าสู่สภาวะทางการเมืองที่ “ดีกว่า” แบบหนึ่ง การวัดการพัฒนาการทางการเมืองบางทีก็เรียกว่า “การทำการเมืองให้มีความทันสมัย (political modernization) ” การศึกษาวิชาการพัฒนาการเมืองมีมโนทัศน์หลักที่สำคัญคือสถาบันทางการเมือง และวัฒนธรรมทางการเมือง.
ดู รัฐศาสตร์และการพัฒนาการเมือง
การกล่อมเกลาทางการเมือง
การกล่อมเกลาทางการเมือง หรือ การเรียนรู้ทางการเมือง หรือสังคมประกิตทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจศึกษากันมานานแล้ว ในยุคที่รัฐศาสตร์ได้รับความสนใจศึกษาในเชิงปรัชญา นักปรัชญาการเมืองบอกว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นการเตรียมความพร้อมของบุคคลสำหรับความเป็นพลเมือง (Citizenship) ในแบบที่พึงปรารถนาของรัฐ ในบทสนทนา (Dialoque) เรื่อง “อุตมรัฐ” หรือ “The Republic” ของ เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาการเมืองสมัยกรีกโบราณ ซึ่งเป็นบทสนทนาหนึ่งห้าเรื่องที่มีชื่อเสียงที่สุดของเพลโต้ (Plato’ s Great Five Dialoques) มีข้อความที่กล่าวถึงการให้การศึกษาและการให้ประสบการณ์แก่เด็กในนครรัฐว่าเป็นช่องทางหรือวิธีการสร้างค่านิยมความเป็นพลเมืองที่เหมาะสม เพลโต้จึงได้วางโครงการฝึกอบรมคน เพื่อให้เป็นพลเมืองที่มีค่านิยมและมีความโน้มเอียงพื้นฐานที่สอดคล้องกับบทบาทที่เขาจะมีส่วนร่วมในนครรัฐ ซึ่งจะเป็นบทบาทที่แตกต่างกันไป เพลโต้ อธิบายว่า ค่านิยมของพลเมืองนั้น มีความเกี่ยวข้องกับเสถียรภาพและความเป็นระเบียบของสถาบันทางการเมืองด้วย ในทำนองเดียวกัน อริสโตเติล (Aristotle) ศิษย์เอกจากสำนักวิชาการอะแคเดมี่ (Academy) ของเพลโต้ กล่าวเน้นว่า กระบวนการให้การศึกษาทางการเมือง (Political Education) เป็นกระบวนการสร้างค่านิยมและความโน้มเอียงทางการเมือง (Dawson and Prewitt 1969, 6-7) นักวิชาการทางรัฐศาสตร์ ได้กล่าวถึงความหมายของการกล่อมเกลาทางการเมืองไว้หลายท่าน ขอยกตัวอย่างมากล่าวถึงโดยสังเขปได้แก่ อัลมอนด์และเพาเวลล์ ได้ให้ความหมายไว้ว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นการนำมาซึ่งวัฒนธรรมทางการเมืองแก่ประชาชนในระบบการเมือง (Almond and Powell 1966, 64) โดยเป็นกระบวนการสร้างและการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางการเมือง การกล่อมเกลาทางการเมืองจากคนรุ่นไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง หรือทำให้เกิดการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางการเมืองอย่างใดอย่างหนึ่งของระบบการเมือง ที่ได้รับจากประสบการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา (Almond and Powell 1980, 36) ซึ่งจะช่วยรักษาวัฒนธรรมทางการเมืองเดิมเอาไว้ หรือนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงไปจากวัฒนธรรมทางการเมืองเดิม หรือก่อให้เกิดการก่อตัวของวัฒนธรรมทางการเมืองใหม่ขึ้นมาก็ได้ ในเชิงการวิเคราะห์ระบบการเมืองกระบวนการเรียนรู้หรือการกล่อมเกลาทางการเมืองนี้ ในทัศนะของแอลมอนด์ จัดเป็นหน้าที่หนึ่งในระบบการเมืองตามตัวแบบการวิเคราะห์เชิงโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Approach) โดยเป็นหน้าที่นำเข้าสู่ระบบการเมือง หรือ Input Functions ซึ่งทำหน้าที่บำรุงรักษาระบบให้คงอยู่ ตามตัวแบบนี้ แอลมอนด์ตั้งสมมติฐานว่า ในแต่ละระบบการเมือง จะมีการสืบทอดวัฒนธรรมและโครงสร้างของระบบการเมืองยู่ตลอดเวลา และการสืบทอดดังกล่าวนี้ เป็นไปได้ด้วยกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง อีสตันและเดนนิส (Easton and Dennis 1969, 7) อธิบายว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นวิธีการที่สังคมส่งผ่านความโน้มเอียงทางการเมือง อันได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ ปทัสถาน และค่านิยม จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ซึ่งถ้าไม่มีกระบวนการถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้ สมาชิกใหม่ของระบบการเมืองซึ่งได้แก่ เด็ก ๆ ก็จะต้องแสวงหารูปแบบความโน้มเอียงเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา อันจะย่อมมีผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบการเมือง.
ดู รัฐศาสตร์และการกล่อมเกลาทางการเมือง
การศึกษาองค์การ
การศึกษาองค์การ (Organizational studies) หรือ พฤติกรรมองค์การ หรือ ทฤษฎีองค์การ เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่สนใจศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับองค์การ โดยนำวิธีการและองค์ความรู้ของศาสตร์แขนงต่างมาใช้ในการวิเคราะห์และอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา รัฐศาสตร์ มานุษยวิทยา และจิตวิทยา โดยมีสาขาวิชาที่ใกล้เคียงอย่างเช่น การบริหารทรัพยากร.
ดู รัฐศาสตร์และการศึกษาองค์การ
การทำให้เป็นประชาธิปไตย
การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.
ดู รัฐศาสตร์และการทำให้เป็นประชาธิปไตย
ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
วิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นหน่วยงานระดับภาควิชาในคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาในสองสาขา คือ รัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร.
ดู รัฐศาสตร์และภาควิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต 3 สาขา ได้แก่ การเมืองการปกครอง รัฐประศาสนศาสตร์ และ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นภาควิชาในสังกัดคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาโทตลอดจนการเรียนการสอนและการวิจัยด้านสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ดู รัฐศาสตร์และภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มลรัฐ (คำศัพท์)
ำว่า มลรัฐ เป็นคำใช้เรียกหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี บัญญัติ จากคำว่า "state" ในภาษาอังกฤษ ต่อมา "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี และประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่องกำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง..
ดู รัฐศาสตร์และมลรัฐ (คำศัพท์)
มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก
ลานมหาวิทยาลัย Cattolica '''มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก''' หรือ มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งมิลาน (Università Cattolica del Sacro Cuore หรือ Università Cattolica di Milano; Catholic University of the Sacred Heart หรือ Catholic University of Milan; ชื่อย่อ: Cattolica หรือ UNICATT หรือ UCSC) โดยทั่วไปถูกเรียกสั้นๆว่า Cattolica (การออกเสียง อังกฤษ: katˈtɔlika; ไทย: กัตโตลีกา) วิทยาเขตหลักตั้งอยู่ในเมืองมิลาน แคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยรารามคำแหง สาขาวิทยบริการฯ จังหวัดชัยภูมิ (Ramkhamheangh Univrsity Chaiyaphum Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท) เพื่อเป็นการขยายโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาค ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ ตำบลโคกเริงรมย์ อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูม.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน
มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) หรือนิยมเรียก มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองแมดิสัน ในรัฐวิสคอนซิน มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยฮาวาย
The Royal Sala Thai John A. Burns School of Medicine UH 88 - Telescope มหาวิทยาลัยฮาวาย (University of Hawaii at Manoa) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐประจำรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยฮาวาย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยปาร์มา
มหาวิทยาลัยปาร์มา (Università degli Studi di Parma; University of Parma) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตั้งอยู่ที่เมืองปาร์มา ประเทศอิตาลี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน มหาวิทยาลัยปาร์มา ประกอบด้วย 12 คณะ ได้แก.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยปาร์มา
มหาวิทยาลัยโตเกียว
หอประชุมยาสุดะในมหาวิทยาลัยโตเกียว มหาวิทยาลัยโตเกียว หรือย่อว่า โทได เป็นมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นในลักษณะของมหาวิทยาลัยวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองโตเกียว มีพื้นที่แยกออกเป็น 5 วิทยาเขต ใน ฮงโง โคมะบะ คะชิวะ ชิโระงะเนะ และ นะกะโนะ และได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีเกียรติมากที่สุดในญี่ปุ่น และยังจัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก มหาวิทยาลัยโตเกียวประกอบด้วย 10 คณะซึ่งมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 30,000 คน ในจำนวนนี้มีนักศึกษาต่างชาติประมาณ 2,100 คนเป็นนักศึกษาไทยประมาณ 150 คน (ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงทีสุดในบรรดามหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น) ปัจจุบันมีหลักสูตรครอบคลุมสาขาวิทยาการเกือบทั้งหมด แต่ที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ กฎหมาย รัฐศาสตร์ วรรณกรรม เศรษฐศาสตร์ แพทยศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตนักการเมืองและข้าราชการระดับสูงของญี่ปุ่นจำนวนมาก นับแต่อดีตจนปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วนจะลดลงก็ตาม อัตราส่วนของรัฐมนตรีที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียวยังคงสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น โดยแต่ละช่วงคริสต์ศตวรรษจะอยู่ที่ประมาณ 2/3 1/2 1/4 1/5 และ1/6 ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1950 60 70 80 และ 90 ตามลำดับ มหาวิทยาลัยโตเกียวมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับว่า เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในหลากหลายสาขาวิชา และมีอัตราการแข่งขันในการเข้าศึกษาสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียวมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งอยู่หกมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยเกียวโตซึ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลเป็นจำนวนมาก หนึ่งในศิษย์เก่าเจ้าของรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยโตเกียวคืออธิการบดีมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพิเรียลชื่อ ศาสตราจารย์ คิคุจิ ไดโรกุ ในด้านกีฬา ทีมเบสบอลมหาวิทยาลัยโตเกียว ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัยของกรุงโตเกียว ศูนย์ฮงโหงะเป็นศูนย์หลักของมหาวิทยาลัยซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของตระกูล "มาเอดะ" ช่วงสมัยเอโดะผู้เป็นเจ้าเมืองเคหงะ สัญลักษณ์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักและอยู่จนปัจจุบันของมหาวิทยาลัยคือ "อะกามง" (ประตูแดง) ส่วนตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นรูปใบแปะก๊วย ซึ่งปลูกอยู่เรียงรายทั่วทั้งบริเวณของมหาวิทยาลั.
ดู รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัยโตเกียว
มักซ์ เวเบอร์
ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.
มานุษยวิทยาสังคม
มานุษยวิทยาสังคม เป็นสาขาหนึ่งของวิชามานุษยวิทยาว่าด้วยการศึกษาว่ามนุษย์ที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบันประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรในกลุ่มของสังคม.
ดู รัฐศาสตร์และมานุษยวิทยาสังคม
มงแต็สกีเยอ
ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.
ระบบพ่อปกครองลูก
ปิชาธิปไตย (Paternalism) เป็นคำศัพท์ที่ใช้เรียกลักษณะการปกครองแบบโบราณที่ผู้ปกครองเป็นเสมือน “พ่อ” และประชาชนเปรียบเสมือน “ลูก” ในทางคำศัพท์จะใช้เรียกแทนพฤติกรรมของบุคคล องค์กร หรือการปกครองที่จำกัดสิทธิเสรีภาพและความอิสระของประชาชน ในบางความหมายจะใช้แทนการเรียกระบบสังคมที่จำกัดสิทธิของคนบางกลุ่มและให้คนบางกลุ่มที่เป็นส่วนน้อยของสังคมมีสิทธิพิเศษที่เหนือกว่าคนส่วนใหญ่ หรือใช้เรียกกฎหมายที่เข้ามาจำกัดสิทธิส่วนบุคคลมากเกินไป เช่น กฎหมายห้ามขายสุราและของมึนเมาในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น ทั้งนี้การแปลคำว่า Paternalism เป็น “ปิตาธิปไตย” เนื่องจาก Paternalism มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินคำว่า Pater หมายถึง พ่อ ซึ่งเมื่อรวมกับคำว่า –ism หมายถึง ลัทธิ ทำให้กลายเป็นคำว่าปิตาธิปไตย แต่ต้องไม่สับสนกับคำว่า Patriarchy หรือ ระบบนิยมชาย ที่หมายถึงระบบสังคมที่ลักษณะบางอย่างแสดงออกถึงการให้คุณค่าความเป็นชายมากกว่าและทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ (Kurian, 2011: 1196).
ดู รัฐศาสตร์และระบบพ่อปกครองลูก
รัฐกิจ
รัฐกิจ เป็นคำที่มีความหมายอย่างกว้าง หมายถึงเรื่องราวหรือปัญหาของสาธารณชน โดยรัฐบาลต้องเข้ามาเกี่ยวข้องและช่วยแก้ปัญหา ครอบคลุมไปถึงเรื่องนโยบายสาธารณะและการบริหารรัฐกิจ ซึ่งทั้งสองมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดและนำไปสู่ขอบเขตของการศึกษารัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร.
ราชสีห์
ตราราชสีห์ (ตราราชการกระทรวงมหาดไทย) ราชสีห์ (Rajasiha: The Great Lion) สัตว์ในตำนาน เป็นสัญลักษณ์ของภาควิชาหรือคณะ รัฐศาสตร์ และ หน่วยงานด้านการปกครองหลายแห่ง ในทางสากลราชสีห์ถือเป็นสัญลักษณ์แห่งอำน.
รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)
รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D.
ดู รัฐศาสตร์และรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)
รายการสาขาวิชา
รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.
รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
100px รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.
ดู รัฐศาสตร์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู รัฐศาสตร์และรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ริวตะโร ฮะชิโมะโตะ
ริวตะโร ฮะชิโมะโตะ อดีตนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นคนที่ 53 (ลำดับที่ 82 และ 83) เข้าสู่วงการเมืองแทนบิดาที่เสียชีวิตลงขณะมีอายุเพียง 26 ปี มีบุคลิกโดดเด่น แต่งกายภูมิฐาน เป็นขวัญใจของผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เป็นสตรี ได้รับเลือกตั้ง 11 สมัยติดต่อกัน เสียชีวิตด้วยวัย 68 ปี.
ดู รัฐศาสตร์และริวตะโร ฮะชิโมะโตะ
ฤทธิ์ ลือชา
ทธิ์ ลือชา ฤทธิ์ ลือชา ดารานักแสดงอาวุโส ผู้ที่เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีกับบทดาวร้ายจากภาพยนตร์ไทยในอดีต เช่นเดียวกับ ดามพ์ ดัสกร และ เกชา เปลี่ยนวิถี ฤทธิ์ ลือชา มีชื่อจริงว่า ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ (ชื่อเดิม: ชรินทร์ คุ้มแพรวพรรณ, ชื่อเล่นคือ: บังเครื่องม้า) หรือ ดร.ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ เป็นชาวไทยมุสลิมเชื้อสายปาทาน เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.
ลัทธิคอมมิวนิสต์
ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.
ดู รัฐศาสตร์และลัทธิคอมมิวนิสต์
ลิขิต ธีรเวคิน
ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ.
วชิราวุธวิทยาลัย
วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู รัฐศาสตร์และวชิราวุธวิทยาลัย
วัฒนธรรมทางการเมือง
วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของสังคมการเมืองกับสังคมการเมืองในเชิงจิตวิทยา โดยวัฒนธรรมทางการเมืองใดที่สังคมการเมืองต้องการก็มักถูกปลูกฝังให้เป็นความคิด, อุดมการณ์, ความเชื่อ ฯลฯ ของสมาชิกในสังคมการเมืองนั้นๆ ดังนั้นวัฒนธรรมทางการเมืองจึงเป็นความคิด, อุดมการณ์, ความเชื่อ ฯลฯ ที่ขึ้นตรงกับกระบวนการสร้างความคิด, อุดมการณ์, ความเชื่อ ฯลฯจากสถาบันในทางการเมืองต่างๆที่แปรผันต่างกันไปตามแต่ละสังคมการเมือง วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นมโนทัศน์ที่สำคัญในสาขาวิชาการพัฒนาการเมือง ซึ่งเป็นสาขาวิชาในทางรัฐศาสตร.
ดู รัฐศาสตร์และวัฒนธรรมทางการเมือง
วัดคุ้งตะเภา
วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).
วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน
รองศาสตราจารย์ วัน กาเดร์ เจ๊ะมาน หรือ วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน หรือ มาฮาดี ดาโอ๊ะ มีชื่อจัดตั้งและชื่อเล่น หลายชื่ออาทิ กาเดร์ เจ๊ะมัน/ฟาเดร์ เจ๊ะแม/วันกาเดร์/ดร.ฟาเดร์ อุสมัน/กอเดร์ เจ๊ะมาน/มะห์ดี ดาอุด/เจ๊ะแม บินกาเดร์ มีศักดิ์เป็นหลานของนายอิซซุดดิน ประธานขบวนการแบ่งแยกรัฐปัตตานี (BIPP) อดีตรองศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติมาเลเซี.
ดู รัฐศาสตร์และวันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน
วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น (Northern College) เดิมชื่อวิทยาลัยลุ่มน้ำปิง เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เริ่มจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับนานาชาติซึ่งเดิมเป็นหน้าที่ของสำนักงานวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งนี้ชื่อวิทยาลัยตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาล.
ดู รัฐศาสตร์และวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.
วิเชียร ฤกษ์ไพศาล
วิเชียร ฤกษ์ไพศาล หรือ นิค ดำรงตำแหน่งเป็นรองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานมิวสิค โปรดักชั่น และโปรโมชั่น บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด(มหาชน).
ดู รัฐศาสตร์และวิเชียร ฤกษ์ไพศาล
ศรชัย มนตริวัต
ลตรี นายกองเอก ศรชัย มนตริวัต หรือ.นิด อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตเลขาธิการพรรคนำไทย พลตรีศรชัย เป็นนักการเมืองคนสนิทของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.
ศุภชัย โพธิ์สุ
นายศุภชัย โพธิ์สุ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม แกนนำกลุ่มเพื่อนเนวิน พรรคภูมิใจไท.
สมพร แสงชัย
รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร แสงชัย เป็นปรมาจารย์มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิแห่งสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.
สมเกียรติ อ่อนวิมล
ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และสมเกียรติ อ่อนวิมล
สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
สังคมวิทยา
ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.
สังคมศาสตร์
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.
สังคมศึกษา
ังคมศึกษา (Social Studies) เป็นศาสตร์บูรณาการทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยนักการศึกษาชาวอเมริกันเป็นผู้คิดค้นและให้นิยามของสังคมศึกษาเป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนและระหว่างคนกับสิ่งแวกล้อม รวมไปถึงการรู้จัดอดทน อดกลั้น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล อันจะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศและโลกต่อไปวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก.
สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยบูรพา
วิชาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยบูรพา มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การพัฒนาชุมชน" เป็นหลักสูตรสาขาวิชาเอก สาขาแรกของภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน จังหวัดชลบุรี เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา 2536 ในแต่ละปีการศึกษามีนิสิตประมาณ 250 คน และในทุกปีการศึกษาจะมีนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่สนใจทางด้านการพัฒนาชุมชน สมัครสอบเข้าศึกษาในหลักสูตรดังกล่าวเป็นนิสิตปีละกว่า 60 คน ซึ่งเมื่อนิสิตเข้าศึกษาตามระบบแล้วสามารถเลือกเรียน สาขาวิชาโทต่างๆได้ อาทิเช่น สังคมวิทยา, สังคมวิทยาการท่องเที่ยว, รัฐศาสตร์, จิตวิทยา, ภาษาอังกฤษ, ภาษาเกาหลี, เทคโนโลยีการศึกษา เป็นต้น ปัจจุบันมีนิสิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาเอกการพัฒนา ของมหาวิทยาลัยบูรพา แล้ว 15 รุ่น กว่า 600 คน.
ดู รัฐศาสตร์และสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยบูรพา
สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช เป็นสาขาวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเปิดที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย สาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีฐานะเทียบเท่ากับคณะในมหาวิทยาลัยทั่วไป.
ดู รัฐศาสตร์และสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.
ดู รัฐศาสตร์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
สิทธิธรรมชาติและสิทธิทางกฎหมาย
สิทธิทางกฎหมาย (บางครั้งเรียกสิทธิพลเมือง) คือสิทธิที่ถ่ายทอดมาจากระบบการปกครองเฉพาะอย่าง และถูกกำหนดลงในบทบัญญัติบางรูปแบบ เช่น กฎหมาย จารีต หรือความเชื่อ ในขณะที่สิทธิธรรมชาติ (บางครั้งเรียก จริยสิทธิ์ หรือ สิทธิอันมิอาจเพิกถอนได้) เป็นสิทธิที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากกฎหมาย จารีต หรือความเชื่อของสังคมหรือการปกครองใด สิทธิธรรมชาติจึงจำเป็นต้องเป็นเรื่องสากล ในขณะที่สิทธิทางกฎหมายนั้นสัมพันธ์กับการเมืองและวัฒนธรรม สิทธิธรรมชาติ เป็นสิทธิที่ไม่อาจแบ่งแยกหรือโอนให้กันได้ นักปรัชญาและนักรัฐศาสตร์บางส่วน แยกสิทธิทางกฎหมายและสิทธิธรรมชาติออกจากกัน หมวดหมู่:ทฤษฎีกฎหมาย หมวดหมู่:สิทธิมนุษยชน de:Unveräußerliches Gut.
ดู รัฐศาสตร์และสิทธิธรรมชาติและสิทธิทางกฎหมาย
สุรินทร์ พิศสุวรรณ
รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และสุรินทร์ พิศสุวรรณ
สุขุม นวลสกุล
รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ.
สถาบันการเมือง
ันการเมือง (Political Institution) คือ รูปแบบของการบริหารจัดการทางการเมืองที่ถูกจัดตั้งขึ้นในลักษณะที่มีความเป็นทางการ สถาบันการเมืองเป็นมโนทัศน์ (concept) หนึ่งที่มักถูกสอนในวิชาการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ (Compartive Politcs) และวิชาการพัฒนาการเมือง ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของวิชาสถาบัน กำเนิดของการใช้คำว่า “สถาบัน (institution)” ในทางรัฐศาสตร์นั้น เกิดจากการที่นักวิชาการ Damien Kingsbury.
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..
ดู รัฐศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก
ันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก (Swiss Federal Institute of Technology in Zurich, ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันคือ Eidgenössische Technische Hochschule Zürich โดยมีชื่อย่อที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ETH Zürich) เป็นมหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกเป็นมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเป็นสมาชิกของ IDEA League และ International Alliance of Research Universities IARU.
ดู รัฐศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า "วิทยุจุฬาฯ" เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกอากาศด้วยคลื่นความถี่ 101.5 เมกะเฮิรตซ์ ในระยะแรกสถานีวิทยุแห่งนี้ป็นสถานที่ทดลองส่งคลื่นวิทยุกระจายเสียงที่นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้น โดยทดลองทำเครื่องส่งสัญญาณขึ้นเองจนสามารถใช้งานได้จริงสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Radio) FM 101.5 MHz.
ดู รัฐศาสตร์และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สตีฟ จอบส์
ตีฟ จอบส์ เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย มีชื่อจริงว่า สตีเวน พอล จอบส์ เป็นบุตรบุญธรรมของพอล แรนโฮลด์ จอบส์ กับคลารา จอบส์ (สกุลเดิม ฮาโกเพียน) ครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายอาร์เมเนีย*.
หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล
ร้อยตรี หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล พิธีกร และผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และหม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล
หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)
อำมาตย์ตรี หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475, คณะกรรมานุการพิจารณาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (สมุดปกเหลือง), เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ปลัดกระทรวงคมนาคม,รัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.
ดู รัฐศาสตร์และหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)
หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อมรา พงศาพิชญ์
ตราจารย์กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 -) อดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานคณะอนุกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้แทนกลุ่มและจัดทำบัญชีรายชื่อ สมัชชาแห่งชาติ คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย คณะกรรมการสรรหาสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และคณะกรรมการวิชาการ/คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการในหลายมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ เป็นนักวิชาการไทยที่มีผลงานวิชาการมากมายทั้งไทยและต่างประเทศในด้านรัฐศาสตร์ สังคมวิทยา และมานุษยวิท.
อัล กอร์
'''อัล กอร์''' หลังดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐ อัลเบิร์ต อาร์โนลด์ "อัล" กอร์ จูเนียร์ (Albert Arnold "Al" Gore Jr.) (เกิด 31 มีนาคม พ.ศ.
อัตตาธิปไตย
ในสาขารัฐศาสตร์ อัตตาธิปไตย (autocracy) เป็นระบอบการปกครองที่อำนาจสูงสุดรวมศูนย์อยู่ในมือของบุคคลคนเดียว ที่สามารถตัดสินใจได้อย่างไม่จำกัดโดยกฎหมายหรือกลไกการควบคุมที่ประชาชนตั้งขึ้น (อาจยกเว้นเมื่อคุกคามโดยปริยายด้วยรัฐประหารหรือการก่อการกำเริบของมวลชน) เป็นคำที่ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า "ระบอบการปกครองที่ผู้นำมีอำนาจเด็ดขาดและไม่จำกัด" อัตตาธิปไตยในประวัติศาสตร์ปกติจะอยู่ในรูปแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือระบอบเผด็จการ ในยุคต้น ๆ คำว่า "autocrat" มักใช้หมายถึงลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ปกครอง โดยนัยว่า "ไร้ผลประโยชน์ขัดกัน".
อาเธอร์ เบนท์ลี่ย์
อาเธอร์ เบนท์ลี่ย์ (16 ตุลาคม ค.ศ. 1870 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักรัฐศาสตร์และนักนักปรัชญา ซึ่งทำงานในสาขาญาณวิทยา ตรรกศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระเบียบวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ของรัฐศาสตร์ เขาได้รับปริญญาตรีสาขาศิลปศาสตร์ในปี..
ดู รัฐศาสตร์และอาเธอร์ เบนท์ลี่ย์
อำนาจหน้าที่
ในรัฐศาสตร์ อำนาจหน้าที่ (authority) หมายถึงความสามารถในการกำหนดกฎเกณฑ์ โดยไม่เกี่ยวข้องกับอำนาจในการบังคับใช้กฎเกณฑ์เหล่านั้น หรือความสามารถในการอนุญาตให้บางสิ่งบางอย่างเกิดขึ้นได้ ผู้คนยอมทำตามอำนาจหน้าที่เนื่องจากความเคารพ ในขณะที่ยอมตามอำนาจด้วยความกลัว ตัวอย่างเช่น "สภามีอำนาจหน้าที่ในการออกกฎหมาย" เมื่อเทียบกับ "ตำรวจมีอำนาจในการจับผู้กระทำความผิด" อำนาจหน้าที่นั้นไม่จำเป็นต้องมีลักษณะที่คงเส้นคงวาหรือว่าสมเหตุสมผล เพียงแต่ต้องเป็นสิ่งที่ถูกยอมรับว่าเป็นแหล่งที่สามารถให้คำอนุญาตได้หรือเป็นสิ่งที่จริงแท้ ปัญหาว่าใครจะมีอำนาจหน้าที่อะไร เป็นเสมือนหัวใจของการโต้เถียงทางการเมือง และคำตอบของคำถามเหล่านี้มักมาจากผลของการพิจารณาเชิงปฏิบัติหรือเชิงศีลธรรม จากแนวปฏิบัติที่ยึดถือกันมาและจากทฤษฎีของระบบยุติธรรมหรือจากสงครามเพื่อความยุติธรรม หน้าที่ (ความหมาย รัฐศาสตร์) คือ คุณลักษณะที่เป็นนามธรรม บ่งบอกถึงการกระทำของแต่ละบุคคลในแต่ละอาชีพ (นาย อำนาจ หมดสิ้นวาสนา).
อิบน์ ซีนา
อะบูอาลี อัลฮูซัยน์ บินอับดิลลาฮ์ อิบนุซีนา หรือ แอวิเซนนา (Avicenna; ค.ศ. 980-1037) เป็นนักปราชญ์ชาวเปอร์เซีย ที่มีบทบาทด้านสาธารณสุข เมื่อเกิดวิกฤตการณ์แผ่ระบาดโรคในอาณาจักร เขายังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของเจ้าชายต่าง ๆ ในช่วงบั้นท้ายชีวิตเขาได้เป็นรัฐมนตรีของรัฐ เขายังเขียนหนังสือปทานุกรมคำศัพท์, สารานุกรมศัพท์ ในหัวข้อต่างๆ เช่นการแพทย์ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ดนตรี เศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์ นอกจากนี้ยังเป็นกวีที่มีผลงานได้รับความนิยมในโลกอาหรับ ผลงานที่สำคัญที่สุดคือ ชุด Canon of Medicine ที่นำรากฐานมาจากฮิปโปเครติส อริสโตเติล ไดออสคอริดีส กาเลน และบุคคลสำคัญวงการแพทย์อื่น โดยแทรกทฤษฏีและการสังเกตของเขาเองลงไปด้วย หนังสืออีกชุดของเขามีเนื้อหาทางด้านเภสัชวิทยาต้นไม้สมุนไพร ถือเป็นตำราพื้นฐานแพทย์ที่สำคัญของโลกมุสลิมและคริสเตียน แต่ทฤษฎีของเขาก็ดูด้อยความเชื่อถือลงเมื่อลีโอนาร์โด ดา วินชี ปฏิเสธตำรากายวิภาคของเขา แพราเซลซัส เผาสำเนาตำรา Canon of Medicine ที่ใช้สอนกันในสวิสเซอร์แลนด์ และวิลเลียม ฮาร์วีย์ แพทย์และนักวิทยาศาสตร์ ล้มทฤษฎีของเขาในเรื่องการค้นพบระบบหมุนเวียนโลหิตในร่างกายคน.
อิมัน อัล-อาซาดี
อิมัน อัล-อาซาดี (ايمان الاسدي; Iman al-Asadi) เป็นนักการเมืองเสรีนิยมชาวอิรัก และอดีตผู้บัญญัติกฎหมาย ของสภาผู้แทนราษฎรแห่งประเทศอิรัก.
ดู รัฐศาสตร์และอิมัน อัล-อาซาดี
อีมาน (นางแบบ)
อีมาน มุฮัมมัด อับดุลมะญีด (Iimaan Maxamed Cabdulmajiid, ايمان محمد عبد المجيد, เกิด: 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1955) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อีมาน (มาจากภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ศรัทธา") เป็น นางแบบ, นักแสดง และผู้ประกอบการชาวอเมริกันเชื้อสายโซมาเลีย เธอเป็นภรรยาคนปัจจุบันของเดวิด โบอี.
ฮิลลารี คลินตัน
ลลารี ไดแอน ร็อดแดม คลินตัน เกิดวันที่ 26 ตุลาคม..
ดู รัฐศาสตร์และฮิลลารี คลินตัน
จอร์แดน ปีเตอร์สัน
อร์แดน เบิร์นท ปีเตอร์สัน (Jordan Bernt Peterson; เกิด 12 มิ.ย. ค.ศ. 1962) เป็นนักจิตวิทยาคลินิกชาวแคนาดา นักวิจารณ์ด้านวัฒนธรรม และศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยโทรอนโต หัวข้อใหญ่ที่ศึกษาคือ จิตวิทยาความผิดปกติ (abnormal psychology), จิตวิทยาบุคลิกภาพ และจิตวิทยาสังคม โดยหัวข้อที่เน้นที่สุดคือจิตวิทยาของศาสนา และความเชื่อเชิงอุดมการณ์ รวมทั้งการประเมินและการพัฒนาของบุคลิกภาพและสมรรถภาพทางการทำงาน (job performance) จอร์แดน ปีเตอร์สันเติบโตที่เมืองแฟร์วิว รัฐแอลเบอร์ตา แคนาดา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์เมื่อ..
ดู รัฐศาสตร์และจอร์แดน ปีเตอร์สัน
จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา
ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.
ดู รัฐศาสตร์และจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู รัฐศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
รรมศาสตร์ อาจหมายถึง.
ธรณีนี่นี้ใครครอง
รณีนี่นี้ใครครอง เป็นละครโทรทัศน์ไทย จากบทประพันธ์ กาญจนา นาคนันทน์ โดยนามปากกาของ นงไฉน ปริญญาธวัช ซึ่งได้รับรางวัลประเภทนวนิยายดีเด่นสะท้อนชีวิตในสังคมไทย จากงานวันสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และธรณีนี่นี้ใครครอง
ธารินทร์ นิมมานเหมินท์
รินทร์ นิมมานเหมินท์ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).
ดู รัฐศาสตร์และธารินทร์ นิมมานเหมินท์
ธารทอง ทองสวัสดิ์
ร.ธารทอง ทองสวัสดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 2 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำปาง และอดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..
ดู รัฐศาสตร์และธารทอง ทองสวัสดิ์
ทฤษฎีการเมือง
ทฤษฎีการเมือง (Political Theory) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของการเรียนการสอนวิชารัฐศาสตร์ ทฤษฏีการเมืองเป็นสาขาวิชาที่เกิดมาพร้อมๆกับวิชารัฐศาสตร์ คือราว ทศวรรษที่ 1960 ซึ่งเป็นช่วงที่วิธีวิทยา แบบวิทยาศาสตร์เข้ามีอิทธิพลอย่างสูงในวิชารัฐศาสตร์ อย่างไรก็ตามแม้ทฤษฎีการเมืองจะเป็นวิชาของการศึกษาการเมืองในยุควิทยาศาสตร์ ทว่าก็มีทฤษฎีการเมืองจำนวนไม่น้อยที่ได้รับอิทธิพลมาจากนักปรัชญาการเมือง.
ทฤษฎีอติชน
ในสาขารัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทฤษฎีอติชน หรือ ทฤษฎีอภิชน (elite theory) เป็นทฤษฎีที่มุ่งหมายจะพรรณนาและอธิบายความสัมพันธ์ของกลุ่มอำนาจต่าง ๆ ในสังคมปัจจุบัน โดยอ้างว่า ชนกลุ่มน้อยที่เป็นสมาชิกของอภิสิทธิชนทางเศรษฐกิจหรือของเครือข่ายการกำหนดนโยบาย จะมีอำนาจมากที่สุดในสังคม โดยอำนาจนี้จะเป็นอิสระจากกระบวนการเลือกตั้งของประชาธิปไตย คืออาศัยตำแหน่งในบรรษัทหรือการเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริษัท หรืออาศัยตำแหน่งในสถาบันนโยบายหรือกลุ่มอภิปรายนโยบาย หรืออาศัยอิทธิพลเหนือเครือข่ายบุคคลที่วางนโยบายโดยให้การสนับสนุนทางการเงินแก่มูลนิธิ/องค์กรต่าง ๆ สมาชิกของกลุ่มอภิสิทธิชนจะมีอำนาจสำคัญในการตัดสินนโยบายของบริษัทหรือของรัฐบาล ตัวอย่างที่เห็นได้ก็คือ บทความในนิตยสารฟอบส์ ชื่อว่า "ผู้มีอำนาจมากที่สุดในโลก (The World's Most Powerful People)" ที่แสดงรายการบุคคลที่นิตยสารอ้างว่ามีอำนาจมากที่สุดในโลก (โดยแต่ละคนเทียบเท่ากับคน 100,000,000 คนอื่น) ลักษณะทางสังคมที่เข้าข่ายทฤษฎีโดยพื้นฐานก็คือ อำนาจมีการรวมศูนย์ อภิสิทธิชนพร้อมเพรียงกัน คนที่ไม่ใช่อภิสิทธิชนมีหลากหลายและไร้อำนาจ เทียบกับผลประโยชน์/สิ่งที่อภิสิทธิชนสนใจที่มีเอกภาพเนื่องจากมีพื้นเพหรือตำแหน่งที่คล้ายคลึงกัน โดยลักษณะเฉพาะของการมีอำนาจก็คือการมีตำแหน่งในสถาบัน แม้กลุ่มอาจจะไม่ได้อยู่ในเครือข่ายอำนาจธรรมดาของรัฐ (เช่นในประวัติศาสตร์ อาจจะเป็นเพราะเกณฑ์ต่าง ๆ รวมทั้งความป็นขุนนาง เชื้อชาติ เพศ หรือศาสนา) ทฤษฎีก็ยังแสดงว่า "กลุ่มต้านอภิสิทธิชน" (counter-elites) บ่อยครั้งก็จะเกิดภายในกลุ่มที่ถูกยกเว้นเช่นนี้ ดังนั้น การเจรจาต่อรองระหว่างกลุ่มเช่นนี้กับรัฐ จึงมองได้ว่าเป็นการต่อรองระหว่างกลุ่มต่อต้านอภิสิทธิชนกับกลุ่มอภิสิทธิชน ซึ่งก็จะทำให้เห็นปัญหาสำคัญอีกอย่างว่า อภิสิทธิชนสามารถรวบผู้ต่อต้านให้เป็นพวกได้ ทฤษฎีอภิสิทธิชนเป็นเรื่องตรงข้ามกับทฤษฎีพหุนิยมทางการเมือง ซึ่งสมมุติว่า ทุก ๆ คน หรืออย่างน้อยก็กลุ่มสังคมต่าง ๆ จะมีอำนาจเท่ากันและจะถ่วงดุลกันเอง ทำให้ได้ผลลัพธ์ทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย และที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของคนทั้งหมดในสังคม เทียบกับทฤษฎีนี้ที่อ้างว่า ประชาธิปไตยเป็นเรื่องเหลวไหลแบบอุตมรัฐ หรือไม่ก็เป็นไม่ไปได้ในกรอบของทุนนิยม ซึ่งเป็นมุมมองปัจจุบันที่เข้ากับลัทธิมากซ์ได้.
ทฤษฎีเกม
ในทางคณิตศาสตร์ ทฤษฎีเกม (อังกฤษ: game theory) เป็นการจำลองสถานการณ์ทางกลยุทธ์ หรือเกมคณิตศาสตร์ ซึ่งความสำเร็จในการตัดสินใจของแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับทางเลือกของบุคคลอื่น แต่ละฝ่ายต่างก็พยายามแสวงหาผลตอบแทนให้ได้มากที่สุด ทฤษฎีเกมมีการใช้ในทางสังคมศาสตร์ (ที่โดดเด่นเช่น เศรษฐศาสตร์ การจัดการ การวิจัยปฏิบัติการ รัฐศาสตร์และจิตวิทยาสังคม) เช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์รูปนัยอื่น ๆ (ตรรกะ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และสถิติ) และชีววิทยา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งชีววิทยาวิวัฒนาการและนิเวศวิทยา) แม้ว่าเดิมทฤษฎีเกมจะถูกพัฒนาขึ้นเพื่อวิเคราะห์การแข่งขันซึ่งบุคคลหนึ่งได้มากกว่าที่อีกฝ่ายหนึ่งเสีย แต่ก็ได้มีการขยายเพื่อให้ครอบคลุมถึงปฏิสัมพันธ์หลายรูปแบบ ซึ่งถูกจัดแบ่งประเภทตามเกณฑ์หลายแบบ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมแต่เดิมนั้นจะจำกัดความและศึกษาถึงสมดุลในเกมเหล่านี้ ในสภาพสมดุลทางเศรษฐศาสตร์ ผู้เล่นเกมแต่ละคนจะปรับใช้กลยุทธ์ที่ไม่สามารถเพิ่มผลตอบแทนของผู้เล่นนั้นได้ โดยให้กลยุทธ์ของผู้เล่นอื่นด้วย แนวคิดสมดุลจำนวนมากถูกพัฒนาขึ้น (ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ จุดสมดุลของแนช) เพื่ออธิบายถึงลักษณะของสมดุลทางกลยุทธ์ แนวคิดสมดุลเหล่านี้มีแรงผลักดันแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสาขาที่นำไปประยุกต์ ถึงแม้จะพบว่ามีความสอดคล้องกันบ่อยครั้งก็ตาม วิธีปฏิบัตินี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ และได้มีการโต้แย้งดำเนินต่อไปถึงความเหมาะสมของแนวคิดสมดุลหนึ่ง ๆ ความเหมาะสมของสมดุลทั้งหมดร่วมกัน และประโยชน์ของแบบจำลองคณิตศาสตร์ในทางสังคมศาสตร์ ผู้เริ่มศึกษาทฤษฎีเกมในระยะแรกคือ จอห์น ฟอน นอยมันน์ และออสการ์ มอร์เกินสเติร์น โดยได้ตีพิมพ์ตำรา Theory of Games and Economic Behavior ใน พ.ศ.
ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ
ในศาสตร์ของปัญญาประดิษฐ์ นั้น ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary algorithm) เป็นหนึ่งในเรื่องของการคำนวณเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary computation) ที่ใช้ฐานประชากรโดยทั่วไปของขั้นตอนวิธีแบบเมตาฮิวริสติกที่เหมาะสมที่สุด (metaheuristic optimization algorithm) โดยขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการนั้น ใช้กระบวนการที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการวิวัฒนาการทางชีววิทยา อันได้แก่ การสืบพันธุ์ (reproduction) การกลายพันธุ์ (mutation) การแลกเปลี่ยนยีน (recombination) และการคัดเลือก (selection) โดยจะมีผลเฉลยที่สามารถเลือกได้ (candidate solution) แทนประชากร และฟังก์ชันคุณภาพ (quality function) ในการคัดเลือกประชากรที่เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมที่กำหนดไว้ ขึ้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการนี้มักจะใช้ได้ดีสำหรับการหาผลเฉลยของปัญหาในทุกๆ ด้าน เนื่องจากสามารถพัฒนาผลเฉลยที่มีไปยังผลเฉลยที่ถูกต้องได้อย่างรวดเร็ว ทำให้มันประสบความสำเร็จในหลายๆ ด้านของปัญหา เช่น วิศวกรรม ศิลปกรรม ชีวภาพ เศรษฐศาสตร์ การตลาด พันธุศาสตร์ การค้นคว้าวิจัย การออกแบบหุ่นยนต์ วิทยาศาสตร์ด้านสังคม ฟิสิกส์ รัฐศาสตร์ และ เคมี นอกจากการใช้งานด้านคณิตศาสตร์แล้ว ขั้นตอนวิธีและการคำนวณเชิงวิวัฒนาการยังถูกใช้เป็นข่ายงานในการทดลองในเรื่องการตรวจสอบความสมเหตุสมผลในทฤษฎีที่เกี่ยวกับการวิวัฒนาการและการคัดเลือกทางธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในข่ายของงานที่เกี่ยวข้องกับชีวประดิษฐ์ (artificial life).
ดู รัฐศาสตร์และขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ
ความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)
ในรัฐศาสตร์ ความชอบธรรม (legitimacy) คือ การที่อำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมายซึ่งใช้บังคับ หรือระบอบการปกครองนั้น ได้รับการยอมรับจากสาธารณชน ความชอบธรรมทางการเมืองถือเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในการปกครอง ถ้าไร้ซึ่งความชอบธรรมแล้ว รัฐบาลจะ "เข้าตาจนในการบัญญัติกฎหมาย" (legislative deadlock) และอาจล่มสลายได้ในที่สุด แต่ในระบบการเมืองซึ่งมิได้ให้ความสำคัญแก่ความชอบธรรมนั้น ระบอบการปกครองที่มิใช่ของประชาชนสามารถดำรงอยู่ได้เพราะได้รับการอุ้มชูจากอภิชนกลุ่มเล็ก ๆ ที่มีอิทธิพลมาก ในปรัชญารัฐศาสตร์จีน นับแต่สมัยราชวงศ์โจวเป็นต้นมา รัฐบาลและผู้ปกครองจะมีความชอบธรรมต่อเมื่อได้รับอาณัติแห่งสวรรค์ (Mandate of Heaven) เมื่อใดที่ผู้ปกครองขาดอาณัติแห่งสวรรค์ เมื่อนั้นก็จะขาดความชอบธรรมและสิทธิที่จะปกบ้านครองเมือง ในจริยปรัชญา คำว่า "ความชอบธรรม" มักได้รับการตีความอย่างเด็ดขาดว่า เป็นบรรทัดฐานที่ผู้อยู่ใต้ปกครองได้ประทานให้แก่ผู้ปกครองและการกระทำต่าง ๆ ของผู้ปกครอง โดยเชื่อว่า คณะผู้ปกครองที่ได้รับการจัดตั้งตามกฎหมายจะกระทำการทั้งหลายด้วยอำนาจที่ใช้อย่างเหมาะสม ส่วนในนิติศาสตร์นั้น "ความชอบธรรม" (legitimacy) ต่างจาก "ความชอบด้วยกฎหมาย" (legality) เพราะการกระทำของผู้ปกครองอาจชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่ชอบธรรมก็ได้ เช่น มติอ่าวตังเกี๋ยที่ให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเปิดสงครามต่อเวียดนามได้โดยไม่ต้องประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ ตรงกันข้าม การกระทำของผู้ปกครองอาจชอบธรรม แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ได้ เช่น กรณีรัฐบาลทหารชิลีเมื่อ ค.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (international relations) หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก เป็นแขนงหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ เป็นหลักปฏิบัติและการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางนโยบายระหว่างประเทศ ซึ่งครอบคลุมทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ.
ดู รัฐศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความเอนเอียงทางประชาน
วามเอนเอียงทางประชาน (cognitive bias) เป็นรูปแบบความคลาดเคลื่อนของการประเมินตัดสินใจ ที่การอนุมานถึงบุคคลอื่นหรือสถานการณ์ต่าง ๆ อาจจะเป็นไปโดยไม่สมเหตุผล คือ เราจะสร้างความจริงทางสังคม (social reality) ที่เป็นอัตวิสัย จากการรับรู้ข้อมูลที่ได้ทางประสาทสัมผัส เพราะฉะนั้น ความจริงที่เราสร้างขึ้นนี้ ซึ่งไม่ใช่ความจริงโดยปรวิสัย อาจจะกำหนดพฤติกรรมทางสังคมของเรา ดังนั้น ความเอนเอียงทางประชานอาจนำไปสู่ความบิดเบือนทางการรับรู้ การประเมินตัดสินใจที่ไม่ถูกต้อง การตีความที่ไม่สมเหตุผล หรือพฤติกรรมที่เรียกกันอย่างกว้าง ๆ ว่า ความไม่มีเหตุผล (irrationality) ความเอนเอียงทางประชานบางอย่างเชื่อว่า เป็นการปรับตัวให้เข้ากับสังคมสิ่งแวดล้อม คือเป็นเหตุให้เกิดการกระทำที่มีประสิทธิภาพในสถานการณ์บางอย่าง นอกจากนั้นแล้ว ความเอนเอียงทางประชานบางอย่างสามารถทำให้ตัดสินใจได้เร็วขึ้น ในสถานการณ์ที่ความเร็วมีความสำคัญมากกว่าความแม่นยำ ดังที่พบในเรื่องของฮิวริสติก ความเอนเอียงบางอย่างอาจจะเป็น "ผลพลอยได้" ของความจำกัดในการประมวลข้อมูลของมนุษย์ ซึ่งอาจจะมาจากการไม่มีกลไกทางจิตใจที่เหมาะสม (สำหรับปัญหานั้น) หรือว่ามีสมรรถภาพจำกัดในการประมวลข้อมูล ภายใน 6 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้มีการกำหนดความเอนเอียงทางประชานเป็นจำนวนมาก เป็นผลจากงานวิจัยในเรื่องการประเมินและการตัดสินใจของมนุษย์ จากสาขาวิชาการต่าง ๆ รวมทั้งประชานศาสตร์ จิตวิทยาสังคม และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (behavioral economics) ความเอนเอียงทางประชานเป็นเรื่องสำคัญที่จะศึกษาเพราะว่า "ความผิดพลาดอย่างเป็นระบบ" แสดงให้เห็นถึง "กระบวนการทางจิตที่เป็นฐานของการรับรู้และการประเมินตัดสินใจ" (Tversky & Kahneman,1999, p.
ดู รัฐศาสตร์และความเอนเอียงทางประชาน
ความเป็นพลเมือง
วามเป็นพลเมือง (citizenship) คือ สถานภาพของบุคคลที่จารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรับรองซึ่งให้แก่สิทธิและหน้าที่แห่งความเป็นพลเมืองแก่บุคคล (เรียก พลเมือง) ซึ่งอาจรวมสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง การทำงานและอาศัยอยู่ในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย์ การคุ้มครองทางกฎหมายต่อรัฐบาลของประเทศ และการคุ้มครองผ่านกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหน้าที่บางอย่าง เช่น หน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ จ่ายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคลอาจมีความเป็นพลเมืองมาก และบุคคลที่ไม่มีความเป็นพลเมือง เรียก ผู้ไร้สัญชาติ (stateless) สัญชาติมักใช้เป็นคำพ้องกับความเป็นพลเมืองในภาษาอังกฤษ ที่สำคัญในกฎหมายระหว่างประเทศ แม้คำนี้บางครั้งเข้าใจว่าหมายถึงการเป็นสมาชิกชาติ (กลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่) ของบุคคล ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สัญชาติและความเป็นพลเมืองมีความหมายต่างกัน หมวดหมู่:สัญชาติ หมวดหมู่:การปกครอง หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางการเมือง หมวดหมู่:กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง.
ดู รัฐศาสตร์และความเป็นพลเมือง
คอนโดลีซซา ไรซ์
อนโดลีซซา ไรซ์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66 และเป็นรัฐมนตรีลำดับที่สองในคณะรัฐบาลของประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู.
ดู รัฐศาสตร์และคอนโดลีซซา ไรซ์
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.
ดู รัฐศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).
ดู รัฐศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จัดตั้งขึ้นในปี..
ดู รัฐศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
ณะรัฐศาสตร์ เปิดสอนศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการรัฐ การเมืองการปกครอง รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งการศึกษาวิชารัฐศาสตร์นั้น เป็นการศึกษาในลักษณะของสหวิทยาการ กล่าวคือ ต้องอาศัยศาสตร์หลาย ๆ ศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา อธิบายภาวะต่าง ๆ ทางสังคม ที่เกิดขึ้นได้.
ดู รัฐศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 13 ของมหาวิทยาลัย สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.
ดู รัฐศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ค่า p
ในวิชาสถิติว่าด้วยการทดสอบสมมติฐาน ค่า p (p-value) หรือค่าความน่าจะเป็น (probability value) คือสัดส่วนของความน่าจะเป็น ที่ข้อสรุปหนึ่งทางสถิติ (เช่นความแตกต่างระหว่างมัชฌิมของตัวอย่างสองกลุ่ม) จะมีค่าเท่ากันหรือมากกว่าค่าจากการสังเกต (observed value) ในกรณีที่สมมติฐานว่างเป็นจริง ค่า p มักถูกใช้เพื่อทดสอบสมมติฐานทางสถิติในงานวิจัยสาขาต่าง ๆ เช่น ฟิสิกส์, เศรษฐศาสตร์, การเงิน, รัฐศาสตร์, จิตวิทยา, ชีววิทยา, อาชญาวิทยา และสังคมวิทยา การใช้ค่า p อย่างผิด ๆ เป็นประเด็นหนึ่งที่เป็นที่ถกเถียง.
ประชาธิปไตย
รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.
ประชาธิปไตยโดยตรง
การชุมนุมตามกระบวนการประชาธิปไตยโดยตรงที่เรียกว่า Landsgemeinde ในแคนทอนกลารุสปี พ.ศ. 2549 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประชาธิปไตยโดยตรง (direct democracy) หรือ ประชาธิปไตยบริสุทธิ์ (pure democracy.) เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ประชาชนตัดสินการริเริ่มออกกฎหมาย/นโยบายต่าง ๆ โดยตรง ไม่ว่าจะโดยออกเสียงลงคะแนนหรือลงประชามติเป็นต้น ซึ่งต่างจากรัฐประชาธิปไตยปัจจุบันโดยมากอันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ที่ประชาชนออกเสียงเลือกผู้แทนเพื่อทำหน้าที่ริเริ่มแล้วออกเสียงตัดสินนโยบายอีกทอดหนึ่ง ในระบอบนี้ ประชาชนอาจมีอำนาจการตัดสินใจทางฝ่ายบริหาร ริเริ่มแล้วตัดสินการออกกฎหมายทางฝ่ายนิติบัญญัติ เลือกตั้งและถอดถอนเจ้าหน้าที่ และดำเนินการทางฝ่ายตุลาการ ประชาธิปไตยโดยตรงมีรูปแบบหลัก ๆ สองอย่างคือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ.
ดู รัฐศาสตร์และประชาธิปไตยโดยตรง
ประชาธิปไตยเสรีนิยม
รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และประชาธิปไตยเสรีนิยม
ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง
ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองเป็นวิชาที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ (interdisciplinary) ระหว่างวิชาประวัติศาสตร์ และปรัชญาการเมือง.
ดู รัฐศาสตร์และประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ปรัชญา
มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..
ปรัชญา เวสารัชช์
ตราจารย์ ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2488 เป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.).
ดู รัฐศาสตร์และปรัชญา เวสารัชช์
ปรัชญาการเมือง
ลิติก ในสมัยกรีกโบราณ ปรัชญาการเมือง (political philosophy) เป็นสาขาวิชาหนึ่งขององค์ความรู้ในวิชารัฐศาสตร์ ปรัชญาการเมืองเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดเนื่องจากเป็นวิชาที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ราวศตววษที่ 5 ก่อนคริสตกาลในดินแดนคาบสมุทธเพลอพอนเนซุส หรือดินแดนของประเทศกรีซในปัจจุบัน จุดเริ่มต้นของวิชาปรัชญาการเมืองเกิดขึ้นในนครรัฐที่ชื่อว่าเอเธนส์ในช่วงที่เอเธนส์เริ่มเปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากระบบอภิสิทธ์ชนธิปไตย (Aristocracy) มาเป็นประชาธิปไตยโบราณ (Demokratia).
นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี
นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี นิกโกเลาะ ดี แบร์นาโด เดย์ มาเกียเวลลี (Niccolò di Bernardo dei Machiavelli; 3 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และนิกโกเลาะ มาเกียเวลลี
น้ำป่า
้านจัดสรรชานเมืองอุตรดิตถ์ถูกน้ำป่าหลากท่วมฉับพลัน Bangkok Post น้ำป่า หรือ น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) คือน้ำท่วมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากในบริเวณที่ลุ่มต่ำ ในแม่น้ำ ลำธารหรือร่องน้ำที่เกิดจากฝนที่ตกหนักมากติดต่อกันหรือจากพายุฝนที่เกิดซ้ำที่เดิมหลายครั้ง น้ำป่าอาจเกิดจากที่สิ่งปลูกสร้างโดยมนุษย์ เช่น เขื่อนหรือฝายพังทล.
แบล็กลิสต์ (คอมพิวเตอร์)
ในทางคอมพิวเตอร์ Blacklist เป็นการควบคุมการเข้าถึง อนุญาตให้ผู้ใช้เข้าถึงได้ทุกคนยกเว้นแต่รายชื่อใน Blacklist ซึ่งตรงข้ามกับ Whitelist ที่จะอนุญาตเฉพาะผู้ที่มีรายชื่ออยู่เท่านั้น และยังมี Greylist ที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตเพียงชั่วคราวเท่านั้น ในบางครั้ง Greylist มีไว้สำรองรายชื่อเพื่อที่จะใส่ไว้ใน Blacklist หรือ Whitelist ภายหลัง ในบางองค์กรมีการเก็บรายชื่อของซอฟต์แวร์หรือเว็บไซต์ไว้, รายชื่อใน Blacklist จะถูกกันทั้งหมด เช่น ในโรงเรียนมีการใส่ Mininova หรือ ICQ ไว้ในรายชื่อ เหล่านั้นก็จะไม่สามารถใช้ได้.
ดู รัฐศาสตร์และแบล็กลิสต์ (คอมพิวเตอร์)
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก (พระนามเดิม มาเรีย เตเรซา เมสเตร อี บาติสตา-ฟายา: พระราชสมภพ 22 มีนาคม พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก
แผนอุบาทว์เหนือเมฆ
แผนอุบาทว์เหนือเมฆ (The R Document) เป็นนวนิยายแนวระทึกขวัญการเมืองและระทึกขวัญกฎหมาย ประพันธ์โดยเออร์วิง วอลลิซ ตีพิมพ์ในปี..
ดู รัฐศาสตร์และแผนอุบาทว์เหนือเมฆ
ใจ อึ๊งภากรณ์
ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ รองศาสตราจารย์ ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ (Giles Ji Ungpakorn; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2496 —) เป็นนักเคลื่อนไหวทางวิชาการและการเมืองสัญชาติไทย-อังกฤษ เดิมเคยเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร เพื่อหลบหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชาน.
โรนัลด์ เทียร์สกี
รนัลด์ เทียร์สกี (เกิด ค.ศ. 1944) เป็นอาจารย์สาขารัฐศาสตร์ แห่งวิทยาลัยอัมเฮร์ท รัฐแมสซาชูเซตส์เทียร์สกีเคยเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนจอห์นฮอบกินส์นานาชาติ อยู่เมืองโบโลญญา ประเทศอิตาลี จบการศึกษาที่สหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศส เขียนเรื่องนโยบายต่างประเทศอเมริกา ในภาษาฝรั่งเศสและอังกฤษ.
ดู รัฐศาสตร์และโรนัลด์ เทียร์สกี
โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี
้าหญิงโซรยาแห่งอิหร่าน พระนามเดิม โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี (ثریا اسفندیاری بختیاری, UniPers: Sorayâ Asfandiyâri-Bakhtiyâri; 22 มิถุนายน ค.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี
ไชยันต์ ไชยพร
ตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2502 -) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักกันในฐานะอาจารย์รัฐศาสตร์จุฬาฯ ผู้ฉีกบัตรเลือกตั้งต่อหน้าสื่อมวลชนในการเลือกตั้งปี พ.ศ.
ไรน่าน อรุณรังษี
รน่าน อรุณรังษี อดีตนักการเมืองและนักเขียน, นักแปลชาวไทย นายไรน่านเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2485 ที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นชาวไทยมุสลิม จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอาลีการ์มุสลิม ประเทศอินเดีย, ปริญญาเอก สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น นายไรน่าน เข้าสู่แวดวงการเมืองในช่วงของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และไรน่าน อรุณรังษี
ไทยศึกษา
ทยศึกษา หรือ ไทยคดีศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยที่รวมรวบผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ เช่นประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา ศาสนศึกษา รัฐศาสตร์ ภาษาไทย วรรณคดีไทย และดนตรีศึกษา เพื่อศึกษาวิจัยในประเด็นเกี่ยวกับประเทศไทยและชาติพันธุ์ไต.
ไทยเชื้อสายอินเดีย
วไทยเชื้อสายอินเดีย คือชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เดิมมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาวซิกข์มีหลายนิกาย และชาวฮินดู.
ดู รัฐศาสตร์และไทยเชื้อสายอินเดีย
เกษม ศิริสัมพันธ์
กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..
ดู รัฐศาสตร์และเกษม ศิริสัมพันธ์
เวคอัปนิวส์
วคอัปนิวส์ (Wake Up News) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทวิเคราะห์กับสนทนาเชิงข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน มีสถานะเทียบเท่าข่าวภาคเช้า ของสถานีโทรทัศน์วอยซ์ทีวี ลักษณะเด่นของรายการอยู่ที่ทรรศนะการนำเสนอ ซึ่งแหลมคมและแตกต่างไปจากสื่อมวลชนกระแสหลัก โดยเฉพาะแนวความคิดทางการเมืองแบบก้าวหน้า รายการนี้ออกอากาศเป็นครั้งแรก เมื่อวันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
เศรษฐมิติ
รษฐมิติ (econometrics) เป็นสาขาหนึ่งของเศรษฐศาสตร์ โดยมีการนำ ทฤษฏีทางเศรษฐศาสตร์ สถิติศาสตร์ แคลคูลัส เทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศ.
เศรษฐยาธิปไตย
รษฐยาธิปไตย หรือ ธนาธิปไตย (πλοῦτος,, 'ความมั่งคั่ง' + κράτος,, 'ปกครอง' - plutocracy, plutarchy) เป็นระบอบการปกครองที่คนมีเงินเป็นผู้ถือครองอำนาจทางการเมือง โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของคณาธิปไตย และสามารถนิยามด้วยว่า เป็นสังคมที่ปกครองหรือควบคุมโดยประชาชนที่มั่งคั่งที่สุดส่วนน้อย เป็นการเมืองเพื่ออำนาจ เพื่อผลประโยชน์ และสิทธิพิเศษ ของกลุ่มคนที่มีอำนาจทางการเมือง โดยต้องใช้เงินเป็นองค์ประกอบหลัก มีการใช้คำทำนองนี้เป็นครั้งแรกในปี..
เอสพีเอสเอส
อสพีเอสเอส (SPSS) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ บริษัทจัดจำหน่าย SPSS ถูกซื้อโดย IBM เมื่อเดือนมิถุนายน 2552 และปัจจุบันใช้ชื่อบริษัทว่า "SPSS: An IBM Company" SPSS เดิมชื่อว่า "Statistical Package for the Social Sciences" (ชุดโปรแกรมสถิติเพื่อสังคมศาสตร์) ออกเผยแพร่ครั้งแรกในปี 2511 หลังจากถูกพัฒนาโดย Norman H.
เฮราคลิตุส
ราคลิตุสชาวเอเฟซัส (Heraclitus the Ephesian; กรีกโบราณ: Ἡράκλειτος ὁ Ἐφέσιος — Hērákleitos ho Ephésios) (ราว 535 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 475 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักปรัชญายุคก่อนโสกราตีสชาวกรีกผู้ที่เดิมมาจากเอเฟซัสใน ไอโอเนียบนฝั่งทะเลอานาโตเลีย เฮราคลิตุสเป็นที่รู้จักกันในปรัชญาของความเปลี่ยนแปลงที่เป็นศูนย์กลางของจักรวาล และกฎจักรวาล (Logos) เป็นพื้นฐานของทุกสิ่งทุกอย่าง ในปัจจุบันเฮราคลิตุสมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีอิทธิพลต่อฟรีดริช นีทเชอในปรัชญาของ space และ time จากประโยค “ท่านไม่สามารถจะก้าวลงไปในแม่น้ำเดียวกันเป็นครั้งที่สองเพราะแม่น้ำสายอื่นไหลมาสู่ตัวท่าน”.
เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกกีโยม ฌ็อง โฌเซฟ มารี รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524-) รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก ตั้งแต่พระบิดาทรงครองราชสมบัติในปีพ.ศ.
ดู รัฐศาสตร์และเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์
้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.
ดู รัฐศาสตร์และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..
ดู รัฐศาสตร์และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)
ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..
ดู รัฐศาสตร์และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)
เจ้าหน้าที่การทูต
้าหน้าที่การทูต หรือ นักการทูต (diplomat) เป็นบุคคลที่รัฐแต่งตั้งให้ดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่นหรือองค์การระหว่างประเทศ หน้าที่หลักของนักการทูต คือ การเป็นผู้แทนเจรจาและปกป้องผลกระโยชน์ ตลอดจนปกป้องประเทศนั้น ๆ เช่นเดียวกับการสนับสนุนข้อมูลและความสัมพันธ์ฉันมิตร นักการทูตส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือกฎหมาย การใช้ทูต หรือนักการทูต ถือเป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดของสถาบันนโยบายต่างประเทศของรัฐ โดยเกิดขึ้นก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และหน่วยงานรัฐบาลในรูปแบบของกระทรวงในสมัยปัจจุบันเป็นเวลาหลายศตวรรษ ในกรณีของประเทศไทย มีการใช้ทูตสื่อสารไปมาระหว่างกษัตริย์ต่อกษัตริย์มาแล้วอย่างน้อยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย หลายร้อยปีก่อนหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศจะได้มีการสถาปนาขึ้นตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่จะทรงจัดตั้งระบบบริหารราชการแผ่นดินแบบกระทรวง ในปี..
ดู รัฐศาสตร์และเจ้าหน้าที่การทูต
เขมรแดง
ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ.
เดโช สวนานนท์
วนานนท์ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2476-) นักวิชาการทางกฎหมายและรัฐศาสตร์และอดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาชน.
21 พฤษภาคม
วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Political Scienceนักรัฐศาสตร์